ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องเงินชาวเขาเผ่าเมี่ยน (เย้า) อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร"
ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 9: | แถว 9: | ||
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 แสดงที่ตั้งของตำบลต่างๆ ในอำเภอคลองลานพัฒนา อำเภอคอลงลานจังหวัดกำแพงเพชร''' </p> | <p align = "center"> '''ภาพที่ 1 แสดงที่ตั้งของตำบลต่างๆ ในอำเภอคลองลานพัฒนา อำเภอคอลงลานจังหวัดกำแพงเพชร''' </p> | ||
<p align = "center"> (ที่มา : เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561) </p> | <p align = "center"> (ที่มา : เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561) </p> | ||
+ | เครื่องเงินชาวเขาที่ขึ้นชื่อมากอยู่ในตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ซึ่งตำบลคลองลานพัฒนาประกอบไปด้วย 21 หมู่บ้าน ได้แก่ | ||
+ | {| class="wikitable" | ||
+ | |- | ||
+ | ! บ้านกะเหรี่ยงคลองลาน จำนวน 2 หมู่บ้าน !! บ้านคลองลาน 1 | ||
+ | |- | ||
+ | | บ้านคลองลาน 2 || บ้านมอมะค่า1 || บ้านมอมะค่า2 | ||
+ | |- | ||
+ | | บ้านปางตาแอ|| บ้านสวนส้ม|| บ้านคลองน้ำไหลใต้ | ||
+ | |- | ||
+ | | บ้านปากคลองลาน|| บ้านท่าข้ามสามัคคี|| บ้านเลิงกระพงษ์ | ||
+ | |- | ||
+ | | บ้านใหม่ธงชัย|| บ้านแม่พืช(แปลงสี่)|| บ้านคลองเตย | ||
+ | |- | ||
+ | | บ้านทะเลพัฒนา|| บ้านโชคชัยพัฒนา|| บ้านมอตะแบก | ||
+ | |- | ||
+ | | บ้านคลองปลาร้า|| บ้านปางข้าวสาร | ||
+ | |} |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:54, 18 ธันวาคม 2563
เครื่องเงินชาวเขาเผ่าเมี่ยน (เย้า) อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
บทนำ
เครื่องเงินชาวเขาในอำเภอคลองลานจังหวัดกำแพงเพชร ปัจจุบันมีผู้ผลิตอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งกลุ่มผู้ผลิตเครื่องเงินชาวเขานั้น จะแบ่งออกเป็น 2 ชนเผ่าหลักๆ ได้แก่ กลุ่มชนเผ่าเมี่ยน (เย้า) และกลุ่มชนเผ่าม้ง ซึ่งทั้งสองกลุ่มชนเผ่านี้ มีประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับการเริ่มต้นทำเครื่องเงินชาวเขาที่แตกต่างกัน คือ กลุ่มชนเผ่าเมี่ยน (เย้า) เป็นช่างผลิตเครื่องเงินขาวเขากลุ่มแรกที่มีวิธีการผลิตสืบทอดงานฝีมือมาจากบรรพบุรุษ สำหรับกลุ่มชนเผ่าม้งนั้น เริ่มต้นทำเครื่องเงินจากการไปฝึกทักษะวิชาชีพที่จังหวัดสุโขทัย เนื่องจากที่นั่นได้ขึ้นชื่อเรื่องวิธีการผลิตเครื่องเงินชาวเขาเผ่าม้งและเมื่อหลังจากที่ชนเผ่าม้งได้เรียนรู้วิธีการผลิตเครื่องเงินแล้ว ก็ได้นำความรู้นั้นมาใช้เป็นการประกอบอาชีพ ณ ถิ่นฐานบ้านเกิดของตน (บุญมา อินต๊ะ, สัมภาษณ์, 22 ธันวาคม 2560) งานหัตถกรรมเครื่องเงินชาวเขานี้ เป็นงานฝีมือประเภทเครื่องประดับซึ่งมีความละเอียดและความประณีตเป็นอย่างมาก ลวดลายของเครื่องเงินนั้นจะใช้ลวดลายแบบโบราณดั้งเดิม อาทิ ลายธรรมชาติ ลายต้นไม้ ลายรอยเท้าสัตว์ ซึ่งเลียนแบบมาจากธรรมชาติ สิ่งที่อยู่รอบตัว หรือสิ่งของเครื่องใช้ทำมาหากิน
คำสำคัญ : เครื่องเงินชาวเขา, รูปแบบการขาย, กลุ่มชาติพันธุ์, อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ข้อมูลทั่วไป อำเภอคลองลาน
คำขวัญอำเภอคลองลาน : คลองลานเมืองคนงาม น้ำตกสวย เต็มไปด้วยไม้สัก อนุรักษ์ วัฒนธรรมมากมี ของดีเครื่องเงิน (ศูนย์บริการข้อมูลอำเภอ, 2561) จากคำขวัญของอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชรจะเห็นได้ว่า ของดี ที่ขึ้นชื่ออย่างหนึ่งของอำเภอคลองลาน นอกจากธรรมชาติที่สวยงามแล้ว นั้นก็คือ “เครื่องเงิน” เครื่องเงินเป็นสิ่งแสดงอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และวัฒนธรรมการดำรงชีวิตของผู้คนอำเภอคลองลานมาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะเครื่องเงินชาวเขา ซึ่งเป็นสิ่งแสดงอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ การดำรงชีวิต รวมไปถึงความผูกพันระหว่างคนกับธรรมชาติ ผ่านลวดลายของเครื่องเงินชาวเขานั้นเอง
ภาพที่ 1 แสดงที่ตั้งของตำบลต่างๆ ในอำเภอคลองลานพัฒนา อำเภอคอลงลานจังหวัดกำแพงเพชร
(ที่มา : เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561)
เครื่องเงินชาวเขาที่ขึ้นชื่อมากอยู่ในตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ซึ่งตำบลคลองลานพัฒนาประกอบไปด้วย 21 หมู่บ้าน ได้แก่
บ้านกะเหรี่ยงคลองลาน จำนวน 2 หมู่บ้าน | บ้านคลองลาน 1 | |
---|---|---|
บ้านคลองลาน 2 | บ้านมอมะค่า1 | บ้านมอมะค่า2 |
บ้านปางตาแอ | บ้านสวนส้ม | บ้านคลองน้ำไหลใต้ |
บ้านปากคลองลาน | บ้านท่าข้ามสามัคคี | บ้านเลิงกระพงษ์ |
บ้านใหม่ธงชัย | บ้านแม่พืช(แปลงสี่) | บ้านคลองเตย |
บ้านทะเลพัฒนา | บ้านโชคชัยพัฒนา | บ้านมอตะแบก |
บ้านคลองปลาร้า | บ้านปางข้าวสาร |