ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชนเผ่าปกาเกอะญอ หรือ กะเหรี่ยง ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "== บทนำ == กลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หรือเดิมเรียกกันว...")
 
แถว 8: แถว 8:
 
           กะเหรี่ยงแต่ละเผ่ามีภาษาพูด และภาษาเขียนเป็นของตนเอง โดยการดัดแปลงมาจากตัวหนังสือพม่า ผสมอักษรโรมัน
 
           กะเหรี่ยงแต่ละเผ่ามีภาษาพูด และภาษาเขียนเป็นของตนเอง โดยการดัดแปลงมาจากตัวหนังสือพม่า ผสมอักษรโรมัน
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 ภาษาปกากะญอ.jpg|500px|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 ภาษาปกากะญอ.jpg|500px|thumb|center]]
<p align = "center"> '''1 ภาษาปกากะญอ หรือ กะเหรี่ยง (ภาษาพม่าผสมอักษรโรมัน)''' </p>
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 ภาษาปกากะญอ หรือ กะเหรี่ยง (ภาษาพม่าผสมอักษรโรมัน)''' </p>
 
<p align = "center"> ที่มา : ทับทิม  เมฆสีสวย และคณะ, 2562, ออนไลน์ </p>
 
<p align = "center"> ที่มา : ทับทิม  เมฆสีสวย และคณะ, 2562, ออนไลน์ </p>
 
{| class="wikitable"
 
{| class="wikitable"
แถว 18: แถว 18:
 
| 2 ||    เนอะ โอ๋ ชู่ อะ ||  สบายดีไหม/ครับ/ค่ะ
 
| 2 ||    เนอะ โอ๋ ชู่ อะ ||  สบายดีไหม/ครับ/ค่ะ
 
|-
 
|-
| 3 || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
+
| 3 ||   นา เนอะ มี ดี หลอ ||   คุณชื่ออะไร
 
|-
 
|-
| 4 || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
+
| 4 ||   ยา เจ่อ มี เลอะ/ ชิ ||   ผมชื่อ/เล็ก
 
|-
 
|-
| 5 || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
+
| 5 ||   เน่อ โอ๊ะ พา หลอ ||   คุณอยู่ที่ไหน
 
|-
 
|-
| 6 || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
+
| 6 ||   ยา เจ่อ โอ๊ะ เลอะ /เจียงฮาย ||   ผมอยู่ที่/เชียงราย
 
|-
 
|-
| 7 || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
+
| 7 ||   นา เน่อ นี่ แปว หลอ ||   คุณอายุเท่าไหร่
 
|-
 
|-
 
| 8 || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
 
| 8 || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:05, 26 มกราคม 2564

บทนำ

         กลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หรือเดิมเรียกกันว่ากลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง สะกอ หรือยางขาว เรียกตัวเองว่า ปกากะญอ เป็นกลุ่มที่มีประชากรมากที่สุดกะเหรี่ยงเป็นชนเผ่าที่จัดได้ว่ามีหลายเผ่าพันธุ์ หลายภาษา มีการนับถือศาสนาที่ต่างกัน แต่กะเหรี่ยงดั้งเดิมจะนับถือผี เชื่อเรื่องต้นไม้ป่าใหญ่ ภายหลังหันมานับถือพุทธ คริสต์ เป็นต้น กะเหรี่ยง มีถิ่นฐานตั้งอยู่ที่ประเทศพม่า แต่หลังจากถูกรุกรานจากสงคราม จึงมีกะเหรี่ยงที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ประเทศไทย กะเหรี่ยงที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อย กะเหรี่ยงสะกอ หรือที่เรียกนามตัวเองว่า ปากะญอ หมายถึงคน หรือมนุษย์นั้นเอง กะเหรี่ยงสะกอเป็นกลุ่มที่มีจำนวนมากที่สุด มีภาษาเขียนเป็นของตนเอง โดยมีมิชชันนารีเป็นผู้คิดค้นดัดแปลงมาจากตัวหนังสือพม่า ผสมภาษาโรมัน กลุ่มนี้หันมานับถือศาสนาคริสต์เป็นส่วนใหญ่ กะเหรี่ยงโปร์นั้นเป็นกลุ่มที่ค่อนข้างเคร่งครัดในประเพณี อาศัยอยู่มากที่อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และแถบตะวันตกของประเทศไทย คือ กะเหรี่ยงบเว อาศัยอยู่มากที่อำเภอขุนยวม แม่ฮ่องสอน  ส่วนปะโอ หรือตองสูก็มีอยู่บ้าง แต่พบน้อยมากในประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หรือเดิมเรียกกันว่ากลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการอพยพย้ายถิ่นฐานกระจายไปทั่วประเทศไทย และส่วนหนึ่งได้มาตั้งถิ่นฐานที่อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร เดิมทีอาศัยอยู่เหนือยอดน้ำตก หลังจากได้ประกาศพื้นที่เป็นเขตอุทยานจึงได้อพยพลงมาจากยอดน้ำตกเมื่อปี พ.ศ.2529 บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา 1) ชาติพันธุ์ ชุมชนและสังคม (ข้อมูลทั่วไป) 2) วิถีชีวิต และ 3) ประเพณี และความเชื่อ

คำสำคัญ : กลุ่มชาติพันธุ์, กะเหรี่ยง, ปะกาเกอะญอ, หมู่บ้านกะเหรี่ยงน้ำตกคลองลาน

ประวัติความเป็นมา

         จากข้อมูลการสำรวจ มี 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ 3 บ้านคลองน้ำไหลใต้ ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร มีจำนวนประมาณ 80 หลังคาเรือน อาชีพหลัก คือ รับจ้างทำไร่มันสำปะหลังหมู่ 18 บ้านกะเหรี่ยงน้ำตก ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร มีจำนวนประมาณ 100 หลังคาเรือน อาชีพหลัก คือ ทำไร่มันสำปะหลังและหาของป่าขาย ละติจูด : 16.127472 ลองติจูด : 99.293742 บ้านวุ้งกะสัง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
         ลักษณะภูมิศาสตร์ของหมู่บ้านอาณาเขตติดต่อทิศเหนือจรด หมู่ที่ 2 ตำบลคลองลานพัฒนา ทิศใต้จรด หมู่ที่ 17 ตำบลคลองลานพัฒนา ทิศตะวันออกจรด หมู่ที่ 16 ตำบลคลองลานพัฒนา ทิศตะวันตกจรด อุทยานแห่งชาติคลองลานขนาดพื้นที่ พื้นที่ 3,100 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศมีพื้นที่เป็นเนินเขาส่วนใหญ่ รองลงมาเป็นพื้นที่ราบและภูเขาสลับกัน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินปนทราย บ้านกะเหรี่ยงน้ำตกเดิมเป็นส่วนหนึ่งของบ้านสวนส้มหมู่ที่ 2 ต.คลองลานพัฒนาตามประวัติเล่าว่าเดิมมีชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงอยู่มาก่อนคาดว่าอาจเป็นร้อยปีและมีนายกุน คำแก้ว คนไทยชุดแรกที่ย้ายเข้ามาอยู่เมื่อประมาณ 60 ปีมาแล้วและต่อมาจึงเริมมีคนไทยพื้นราบเข้ามาอยู่รวมกับคนไทยภูเขาที่อยู่คู่กับคลองลานมาตั้งแต่สมัยยังเป็นป่าอยู่ ปัจจุบันบ้านกระเหรี่ยงน้ำตกมีผู้ใหญ่บ้านคือ นายบวรเกียรติ คชินทร 2. ลักษณะภูมิศาสตร์ของหมู่บ้านอาณาเขตติดต่อทิศเหนือจรด หมู่ที่ 2 ตำบลคลองลานพัฒนา ทิศใต้จรด หมู่ที่17 ตำบลคลองลานพัฒนา ทิศตะวันออกจรด หมู่ที่ 16 ตำบลคลองลานพัฒนา ทิศตะวันตกจรด อุทยานแห่งชาติคลองลานขนาดพื้นที่ พื้นที่ 3,100 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศมีพื้นที่เป็นเนินเขาส่วนใหญ่ รองลงมาเป็นพื้นที่ราบและภูเขาสลับกัน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินปนทราย

ภาษาที่ใช้พูด/เขียน

         กะเหรี่ยงแต่ละเผ่ามีภาษาพูด และภาษาเขียนเป็นของตนเอง โดยการดัดแปลงมาจากตัวหนังสือพม่า ผสมอักษรโรมัน
ภาพที่ 1 ภาษาปกากะญอ.jpg

ภาพที่ 1 ภาษาปกากะญอ หรือ กะเหรี่ยง (ภาษาพม่าผสมอักษรโรมัน)

ที่มา : ทับทิม เมฆสีสวย และคณะ, 2562, ออนไลน์

ลำดับที่ ภาษาเขียน ความหมาย
1 โอ๊ะมื่อโชเปอ คำทักทาย/สวัสดี
2 เนอะ โอ๋ ชู่ อะ สบายดีไหม/ครับ/ค่ะ
3 นา เนอะ มี ดี หลอ คุณชื่ออะไร
4 ยา เจ่อ มี เลอะ/ ชิ ผมชื่อ/เล็ก
5 เน่อ โอ๊ะ พา หลอ คุณอยู่ที่ไหน
6 ยา เจ่อ โอ๊ะ เลอะ /เจียงฮาย ผมอยู่ที่/เชียงราย
7 นา เน่อ นี่ แปว หลอ คุณอายุเท่าไหร่
8 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
9 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
10 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
11 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
12 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
13 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
14 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
15 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
16 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
17 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
18 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
19 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
20 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
21 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
22 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
23 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
24 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
25 ตัวอย่าง ตัวอย่าง
26 ตัวอย่าง ตัวอย่าง