ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ บ้านหนองจอก อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "=='''ข้อมูลทั่วไป'''== 1. ชื่อเรียก : ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ บ...")
 
แถว 3: แถว 3:
 
           2. ชื่อเรียกอื่นๆ :  ไม่มี
 
           2. ชื่อเรียกอื่นๆ :  ไม่มี
 
           3. คำอธิบาย  :  ผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา ที่มีกระบวนการย้อมสีฝ้ายจากสีธรรมชาติ นำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าตัดเสื้อ เป็นต้น
 
           3. คำอธิบาย  :  ผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา ที่มีกระบวนการย้อมสีฝ้ายจากสีธรรมชาติ นำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าตัดเสื้อ เป็นต้น
           4. สถานที่ : บ้านหนองจอกพัฒนา อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร
+
           4. สถานที่         : บ้านหนองจอกพัฒนา อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร
                  '''ประวัติความเป็นมา''' บ้านหนองจอกพัฒนา ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2546 ซึ่งแยกออกมาจากบ้านหนองจอก หมู่ที่ 4 ประชาชนส่วนใหญ่มาจากภาคกลางและภาคอีสาน ประเพณีและการละเล่นท้องถิ่น ในหมู่บ้าน คือ การตักบาตรทำบุญกลางบ้านและตักบาตรเทโววันออกพรรษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การทำบายศรี จักสานไม้ผ่า จักสานแห หมอสมุนไพร  และสาเหตุที่เรียกว่า บ้านหนองจอกพัฒนา เพราะหมู่บ้านเดิมชื่อบ้านหนองจอก ตามประวัติเดิมพื้นที่เป็นป่ามีหนองน้ำขนาดใหญ่ มีจอกแหนขึ้นเต็มสระจึงตั้งชื่อว่า บ้านหนองจอก ปัจจุบันเป็นชุมชนที่หนาแน่น จึงแยกเป็น 2 หมู่บ้าน สภาพหมู่บ้านชุมชนอยู่ติดกันจึงตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่เป็นบ้านหนองจอกพัฒนา ด้วยเหตุผลของประชาชนส่วนใหญ่มาจากอีสาน การแยกออกมาเป็นบ้านใหม่ทำให้ชาวบ้านเกิดความตื่นตัวในการที่จะสร้างหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง เกิดความคิดที่จะพัฒนาให้สมชื่อ บ้านหนองจอกพัฒนา โดยเริ่มพัฒนาชุมชนและอาชีพเป็นอันดับแรก
+
      '''ประวัติความเป็นมา''' บ้านหนองจอกพัฒนา ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2546 ซึ่งแยกออกมาจากบ้านหนองจอก หมู่ที่ 4 ประชาชนส่วนใหญ่มาจากภาคกลางและภาคอีสาน ประเพณีและการละเล่นท้องถิ่น ในหมู่บ้าน คือ การตักบาตรทำบุญกลางบ้านและตักบาตรเทโววันออกพรรษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การทำบายศรี จักสานไม้ผ่า จักสานแห หมอสมุนไพร  และสาเหตุที่เรียกว่า บ้านหนองจอกพัฒนา เพราะหมู่บ้านเดิมชื่อบ้านหนองจอก ตามประวัติเดิมพื้นที่เป็นป่ามีหนองน้ำขนาดใหญ่ มีจอกแหนขึ้นเต็มสระจึงตั้งชื่อว่า บ้านหนองจอก ปัจจุบันเป็นชุมชนที่หนาแน่น จึงแยกเป็น 2 หมู่บ้าน สภาพหมู่บ้านชุมชนอยู่ติดกันจึงตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่เป็นบ้านหนองจอกพัฒนา ด้วยเหตุผลของประชาชนส่วนใหญ่มาจากอีสาน การแยกออกมาเป็นบ้านใหม่ทำให้ชาวบ้านเกิดความตื่นตัวในการที่จะสร้างหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง เกิดความคิดที่จะพัฒนาให้สมชื่อ บ้านหนองจอกพัฒนา โดยเริ่มพัฒนาชุมชนและอาชีพเป็นอันดับแรก
 
           5. วัสดุผลิตภัณฑ์ : ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ จากวัสดุธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ใบไม้ พืช สัตว์ แร่ธาตุต่างๆ  
 
           5. วัสดุผลิตภัณฑ์ : ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ จากวัสดุธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ใบไม้ พืช สัตว์ แร่ธาตุต่างๆ  
 
           6. ประเภทของการใช้งาน  : ผ้าขาวม้า  ผ้าคลุมไหล่  ผ้าตัดเสื้อ
 
           6. ประเภทของการใช้งาน  : ผ้าขาวม้า  ผ้าคลุมไหล่  ผ้าตัดเสื้อ
 
+
          7. กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน
7. กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน
+
              '''ความเป็นมาของการทอผ้า''' การทอผ้าเป็นหัตกรรมอย่างหนึ่งที่ทำสืบต่อกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี สันนิฐานจากประวัติศาสตร์ไทยได้กล่าวไว้จากหลักฐานการแต่งกายของกษัตริย์เจ้านาย ข้าราชการคหบดีในสมัยนั้นได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องการส่งส่วยกล่าวว่า “ส่งผ้าทอเป็นมัด น้ำผึ้ง ไม้หอม” และอื่นๆ เป็นเครื่องราชบรรณาการ  ซึ่งการทอผ้านับว่าเป็นศิลปะที่ผู้เป็นช่างทอต้องมีความสามารถในการใช้สีของเส้นด้ายประกอบกันให้เกิดความสวยงามเหมาะสม และการแต่งแต้มสีทำให้เกิดลวดลาย การย้อม โดยเฉพาะผ้าที่เรียกว่า“ผ้ามัดหมี่” หากผู้ใดได้จับชมแล้วยากที่จะวางลงได้   
ความเป็นมาของการทอผ้า  
+
              การทอผ้านับว่าเป็นสถาปัตยกรรมอีกด้วย เพราะช่างทอผ้าต้องออกแบบลายผ้าของตนเองขึ้นมา โดยการนำลักษณะต่าง ๆ ของธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ดาว เดือน สัตว์ ของใช้มาคิดประดิดประดอยเป็นลายผ้า จนมีชื่อเรียกตามลักษณะของสิ่งเหล่านั้น เช่น ดอกแก้ว บ่าง กระเบี้ย (ผีเสื้อ) คันร่ม ขอคำเดือน ขิด สำรวจ(จรวด) หงส์ และการพัฒนาลายผ้าจากที่คิดให้มีความซับซ้อนสวยงามยิ่งขึ้น เช่น ลายขอซ้อมน้อย(เล็ก) ซ้อมใหญ่ ลายด่านน้อย ด่านกลาง ด่านใหญ่ หงส์น้อย ลายหงส์ใหญ่
การทอผ้าเป็นหัตกรรมอย่างหนึ่งที่ทำสืบต่อกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี               สันนิฐานจากประวัติศาสตร์ไทยได้กล่าวไว้จากหลักฐานการแต่งกายของกษัตริย์เจ้านาย ข้าราชการคหบดีในสมัยนั้นได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องการส่งส่วยมักกว่าว่า “ส่งผ้าทอเป็นมัด น้ำผึ้ง ไม้หอม” และอื่นๆ เป็นเครื่องราชบรรณาการ  ซึ่งการทอผ้านับว่าเป็นศิลปะที่ผู้เป็นช่างทอต้องมีความสามารถในการใช้สีของเส้นด้ายประกอบกันให้เกิดความสวยงามเหมาะสม และการแต่งแต้มสีทำให้เกิดลวดลาย การย้อม โดยเฉพาะผ้าที่เรียกว่า“ผ้ามัดหมี่” หากผู้ใดได้จับชมแล้วยากที่จะวางลงได้   
+
              การสืบทอด การถ่ายทอด ในสมัยโบราญผู้คนเรียนรู้หนังสือน้อยแทบไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนเลย โดยเฉพาะผู้หญิงซึ่งต้องมีหน้าที่ในงานบ้านเลี้ยงลูก ทำงานทอผ้า เพื่อใช้ในการนุ่งห่มของคนในครอบครัวหลังเวลาว่างจากการทำนาทำไร่ อาศัยเวลากลางคืนบ้าง เวลาหยุดพักเพื่อรอคอยการเก็บเกี่ยวผลผลิตบ้าง นับว่าเป็นงานหนักพอสมควรสำหรับหญิงไทย เพราะเมื่อเลิกงานประจำวันแล้วยังต้องประกอบอาชีพดูแลลูก ๆ และสามีให้รับประทานอาหารจนอิ่มและเข้านอนแล้ว ตนเองก็ยังมิได้พักผ่อนหลับนอนยังต้องนั่งเก็บฝ้าย(เก็บสิ่งเจือปนออกจากปุยฝ้าย) เข็นฝ้าย ดีดฝ้าย มัดหมี่ เพื่อเตรียมไว้เมื่อว่างเว้น จากการทำงานจริงๆ แล้วจึงจะทำการทอผ้า
การทอผ้านับว่าเป็นสถาปัตยกรรมอีกด้วย เพราะช่างทอผ้าต้องออกแบบลายผ้าของตนเองขึ้นมา  
+
              การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ในสมัยนั้น ต้องอาศัยความจำจากการปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญ ไม่มีการบันทึกเป็นภาพหรือลายลักษณ์อักษรแต่อย่างใด โดยจะถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก หรือเครือญาติใกล้ชิดจึงเปรียบเสมือนเป็นการสืบสายเลือดเลยก็ว่าได้ การทอผ้าแต่โบราณจะใช้ใยไหมและใยฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลักในการทอผ้า เพราะไม่มีเส้นใยสังเคราะห์อื่นใดที่จะมาแทนเส้นใยไหมและฝ้ายได้ดี บางกลุ่มบางสถานที่ได้นำวัสดุอื่นมาใช้ เช่น ป่าน ใบสับปะรด ใบเตยหนาม ปอ มาทำเป็นวัสดุในการทอผ้าแต่ก็ไม่ได้รับความนิยมเพราะไม่เกิดความนิ่มทำให้ระคายเคืองร่างกาย สู้ใยไหมและฝ่ายไม่ได้
โดยการนำลักษณะต่าง ๆ ของธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ดาว เดือน สัตว์ ของใช้มาคิดประดิดประดอยเป็น
+
              การทอผ้าเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่คนไทยรุ่นปัจจุบันต้องช่วยกันอนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อนผู้หญิงไทยจะทำเครื่องใช้ต่าง ๆ ในบ้านเอง งานสำคัญอย่างหนึ่งคือการทำเสื้อผ้า ผ้านุ่ง ผ้าห่มไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ก็ต้องใช้ผ้า ผ้าทอจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตคนไทย
ลายผ้า จนมีชื่อเรียกตามลักษณะของสิ่งเหล่านั้น เช่น ดอกแก้ว บ่าง กระเบี้ย (ผีเสื้อ) คันร่ม ขอคำเดือน ขิด สำรวจ(จรวด) หงส์ และการพัฒนาลายผ้าจากที่คิดให้มีความซับซ้อนสวยงามยิ่งขึ้น เช่น ลายขอซ้อมน้อย(เล็ก) ซ้อมใหญ่ ลายด่านน้อย ด่านกลาง ด่านใหญ่ หงส์น้อย ลายหงส์ใหญ่
+
              '''ความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร'''
 
+
              จังหวัดกำแพงเพชร มีกลุ่มทอผ้าที่ได้มาตรฐานและเป็นระบบ คือหมู่บ้านใหม่ศรีอุบล หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ที่มีการทอผ้าอย่างเป็นระบบและครบวงจรมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2534 แต่ยังไม่สามารถผลิตด้ายด้วยตนเองได้ เพราะการหาซื้อมีต้นทุนที่ถูกกว่ามาก การผลิตผ้าจากการปั่นด้ายจนกระทั่งถึงการทอผ้า ตัดเย็บ และขายปลีกและขายส่ง อย่างครบวงจร มีระบบและสามารถเลี้ยงตนเองได้ โดยได้รับการสนับสนุนจากจังหวัดกำแพงเพชร และองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งโพธิ์ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนมีรายได้จากการทอผ้า ตัดเย็บและเลี้ยงตัวได้หลังจากการทำไร่ทำนาหรือว่างจากการทำเกษตรกรรมนับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับการรวมกลุ่มการทำงานอย่างเข้มแข็งของประชาชน ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมากขึ้น  
 
+
              บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอีกชุมชนที่มีประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมากจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยย้ายถิ่นฐานมาจาก อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด และได้นำภูมิปัญญาการทอผ้า ตั้งแต่การปลูกฝ้าย การปั่น การย้อม และการทอผ้า โดยใช้เวลาว่างหลักจากเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรโดยมีการร่วมกลุ่มกันประกอบอาชีพทอผ้า โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มองค์กร ห้างร้าน บริษัทและหน่วยงานของรัฐ ปัจจุบันกลุ่มผ้าทอหนองจอกพัฒนามีความต้องการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความหลากหลายให้กับลูกค้าเดิม และแสวงหาลูกค้าใหม่  
การสืบทอด การถ่ายทอด ในสมัยโบราญผู้คนเรียนรู้หนังสือน้อยแทบไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนเลยโดยเฉพาะผู้หญิง ซึ่งต้องมีหน้าที่ในงานบ้านเลี้ยงลูก ทำงานทอผ้า เพื่อใช้ในการนุ่งห่มของคนในครอบครัวหลังเวลาว่างจากการทำนาทำไร่ อาศัยเวลากลางคืนบ้าง เวลาหยุดพักเพื่อรอคอยการเก็บเกี่ยวผลผลิตบ้าง นับว่าเป็นงานหนักพอสมควรสำหรับหญิงไทย เพราะเมื่อเลิกงานประจำวันแล้วยังต้องประกอบอาชีพดูแลลูกๆ และสามีให้รับประทานอาหารจนอิ่มและเข้านอนแล้ว ตนเองก็ยังมิได้พักผ่อนหลับนอนยังต้องนั่งเก็บฝ้าย(เก็บสิ่งเจือปนออกจากปุยฝ้าย) เข็นฝ้าย ดีดฝ้าย มัดหมี่ เพื่อเตรียมไว้เมื่อว่างเว้น จากการทำงานจริงๆ แล้วจึงจะทำการทอผ้า
+
              ประวัติความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร กล่าวโดย นางวิรส  สอนนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 78 หมู่ที่ 9 บ้านหนองจอกพัฒนา ตำบลท่ามะเขือ อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร ได้เรียนรู้การย้อมสีผ้าด้วยสีธรรมชาติจากการเข้ารับการอบรมโดยศูนย์วิชาการและเทคโนโลยีสิ่งทอผ้าพื้นบ้าน(ฝ้ายแกมไหม) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำหรับการทอผ้าได้เรียนรู้ และได้รับการถ่ายทอดจากนางนา  หอมดวง  อายุ 85 ปี ซึ่งเป็นมารดาผลิตผลงานที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าตัดเสื้อ เป็นต้น ซึ่งเป็นผ้าที่ย้อมจากสีธรรมชาติทั้งสิ้น ผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติของนางวิรส  สอนนอก มีคุณภาพดี มีลูกค้าสนใจติดต่อขอซื้อเพื่อนำไปจำหน่ายและหรือนำไปตัดเสื้อผ้า เป็นของฝากในโอกาสต่าง ๆ ทำให้เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว นอกจากการทำสวน ในการดำเนินงานผลิตผ้าย้อมสีธรรมชาติจะใช้เวลาในการดำเนินงานประมาณ 5 วัน และได้แบ่งผลิตภัณฑ์ ดังนี้  
การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ในสมัยนั้น ต้องอาศัยความจำจากการปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญ  
+
                    1. ผ้าขาวม้า (สีธรรมชาติ)  
ไม่มีการบันทึกเป็นภาพหรือลายลักษณ์อักษรแต่อย่างใด ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก หรือเครือญาติใกล้ชิดจึงเปรียบเสมือนเป็นการสืบสายเลือดเลยก็ว่าได้ การทอผ้าแต่โบราณจะใช้ใยไหมและใยฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลักในการทอผ้า เพราะไม่มีเส้นใยสังเคราะห์อื่นใดที่จะมาแทนเส้นใยไหมและฝ้ายได้ดี บางกลุ่มบางสถานที่ได้นำวัสดุอื่นมาใช้ เช่น ป่าน ใบสับประรถ ใบเตยหนาม ปอ มาทำเป็นวัสดุในการทอผ้าแต่ก็ไม่ได้รับความนิยามเพราะไม่เกิดความนิ่มทำให้ระคายเคืองร่างกาย สู้ใยไหมและฝ่ายไม่ได้
+
                    2. ผ้าขาวม้า (สีเคมี)  
การทอผ้าเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่คนไทยรุ่นปัจจุบันต้องช่วยกันอนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อนผู้หญิงไทยจะทำเครื่องใช้จ่าง ๆ ในบ้านเอง งานสำคัญอย่างหนึ่งคือการทำเสื้อผ้า ผ้านุ่ง ผ้าห่มไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่าง ๆเกี่ยวกับการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ก็ต้องใช้ผ้า ผ้าทอจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตคนไทย
+
                    3. ผ้าคลุมไหล่สีธรรมชาติ  
 
+
                    4. ผ้าถุงมัดหมี่  
ความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร
+
                    5. ผ้าทอขัดลายพื้นฐาน  
จังหวัดกำแพงเพชร มีกลุ่มทอผ้าที่ได้มาตรฐานและเป็นระบบ คือหมู่บ้านใหม่ศรีอุบล หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ที่มีการทอผ้า อย่างเป็นระบบและครบวงจรมาตั้งแต่        ปี พ.ศ.2534 แต่ยังไม่สามารถ ผลิตด้ายด้วยตนเองได้ เพราะการหาซื้อมามีต้นทุนที่ถูกกว่ามาก การผลิตผ้าจากการ ปั่นด้าย จนกระทั่งถึงการทอผ้า ตัดเย็บ และขายปลีกและขายส่ง อย่างครบวงจร มีระบบและสามารถเลี้ยงตนเองได้ โดยได้รับการสนับสนุนจากจังหวัดกำแพงเพชร และองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งโพธิ์ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนมีรายได้ จากการทอผ้า ตัดเย็บและเลี้ยงตัวได้ หลังจากการทำไร่ทำนา หรือว่างจากการทำเกษตรกรรมนับว่าเป็นตัวอย่างที่ดี สำหรับการรวมกลุ่มการทำงาน อย่างเข้มแข็ง ของประชาชน ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมากขึ้น (สันติ อภัยราช, 2558)
+
              '''ขั้นตอนและกระบวนการผลิตผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ'''
          บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอีกชุมชนที่มีประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมากจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยย้ายถิ่นฐานมาจาก อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด และได้นำภูมิปัญญาการทอผ้า ตั้งแต่การปลูกฝ้าย การปั่น การย้อม และการทอผ้า โดยใช้เวลาว่างหลักจากเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรโดยมีการร่วมกลุ่มกันประกอบอาชีพทอผ้า โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มองค์กร ห้างร้าน บริษัทและหน่วยงานของรัฐ ปัจจุบันกลุ่มผ้าทอหนองจอกพัฒนามีความต้องการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความหลากหลายให้กับลูกค้าเดิม และแสวงหาลูกค้าใหม่ ดังภาพที่ 1
+
              ปัจจุบันการทอผ้ามีวิวัฒนาการโดยการประยุกต์ลายต่าง ๆ ผสมผสานกันเป็นลายใหม่ ๆ รวมทั้งผ้าแต่งเสื้อสุภาพบุรุษ-สตรี โดยให้สีที่แตกต่างจากของเดิมออกไปตามความนิยมของผู้ซื้อ กรรมวิธีและเทคนิคในการทอผ้าให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เป็นเทคนิคและความสามารถของแต่ละคน หลักใหญ่ของการทอผ้าก็คือ การนำเส้นฝ้ายหรือไหมมาขัดกันให้เป็นลาย โดยขึ้นเส้นกลุ่มหนึ่งเป็นหลัก เรียกว่า เส้นยืนแล้วใช้อีกเส้นหนึ่ง เรียกว่าเส้นพุ่ง สอดตามขวางของเส้นยืน เมื่อสานขัดกันก็จะเป็นลวดลายต่างๆ ผ้าบางชนิด ผู้ทอจะคิดหาวิธีสอดด้วยและสอดสีสลับกัน บางวิธีก็จะจับผูกและมัดเน้นเป็นช่วง ๆ  หรืออาจจะยกด้ายที่ทอเป็นระยะ ๆ ทำให้เกิดลวดลายสวยงามผู้ทอต้องสามารถจดจำลวดลายที่ตนคิดประดิษฐ์ได้ ถึงแม้แต่ละลวดลายจะมีความซับซ้อนและหลากหลาย แต่เขาก็สามารถนำมาประสานกันได้อย่างเหมาะเจาะ งดงามแสดถึงภูมิปัญญาและความสามารถของชาวชนบทเป็นอย่างดี ผ้าทอมือจึงมีเทคนิคการทอและความสวยงามเป็นที่สุด  
 
+
              '''วัตถุประสงค์ของการผลิต'''
 
+
                    1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มอาชีพเกษตรกรร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาอาชีพ
 
+
                    2. เพื่อให้เกษตรกรพัฒนาบทบาทความสามารถของตนเองด้วยการทอผ้าและย้อมสีธรรมชาติเพื่อเป็นอาชีพเสริมให้กับเกษตร
 
+
                    3. เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มมีความสามัคคี เรียนรู้ร่วมกันและแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี  
 
+
                    4. เพื่อให้กลุ่มอาชีพส่งเสริมเกษตรกรเป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้และเป็นแกนนำในการพัฒนาอาชีพของกลุ่มต่อไป
 
+
                    5. ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพได้รับรองมาตรฐาน มผช.
 
+
              '''วัตถุดิบและส่วนประกอบ'''
 
+
                    1. ไหมสังเคราะห์อุปกรณ์ในการผลิต
 
+
                    2. กี่
 
+
                    3. ก้านสวย
 
+
                    4. ไนปั่นฝ้าย
 
+
                    5. หลอดใส่ฝ้าย
 
+
                    6. อักกวักฝ้าย
 
+
                    7. ไม้คอนอัก
 
+
                    8. หลักเผือ
 
+
                    9. หลักหลอด
ภาพที่ 1 สถานที่ตั้งของกลุ่มผ้าทอย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองจอก อำเภอคลองคลุง จังหวัดกำแพงเพชร
+
                    10. ฟืม
 
+
              '''ขั้นตอนการทอผ้าฝ้าย'''
ประวัติความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร กล่าวโดย นางวิรส  สอนนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 78 หมู่ที่ 9 บ้านหนองจอกพัฒนา ตำบลท่ามะเขือ อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร ได้เรียนรู้การย้อมสีผ้าด้วยสีธรรมชาติจากการเข้ารับการอบรมโดยศูนย์วิชาการและเทคโนโลยีสิ่งทอผ้าพื้นบ้าน(ฝ้ายแกมไหม) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำหรับการทอผ้าได้เรียนรู้ และได้รับการถ่ายทอดจากนางนา  หอมดวง  อายุ 85 ปี ซึ่งเป็นมารดา ผลิตผลงานที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าตัดเสื้อ เป็นต้น ซึ่งเป็นผ้าที่ย้อมจากสีธรรมชาติทั้งสิ้น ผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติของนางวิรส  สอนนอก มีคุณภาพดี มีลูกค้าสนใจติดต่อขอซื้อเพื่อนำไปจำหน่ายและหรือนำไปตัดเสื้อผ้า เป็นของฝากในโอกาสต่าง ๆ ทำให้เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว นอกจากการทำสวน ในการดำเนินงานผลิตผ้าย้อมสีธรรมชาติจะใช้เวลาในการดำเนินงานประมาณ 5 วัน และได้แบ่งผลิตภัณฑ์ ดังนี้ (วิรส สอนนอก, สัมภาษณ์, 2 กันยายน 2560)
+
              การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติของอำเภอไทรงาม ส่วนใหญ่ทอด้วยฝ้ายซึ่งมีขั้นตอนการเตรียมฝ้ายและการทอผ้า ดังนี้
1. ผ้าขาวม้า (สีธรรมชาติ)  
+
              การเตรียมเส้นฝ้ายที่จะนำไปทอ
2. ผ้าขาวม้า (สีเคมี)  
+
                    1. นำฝ้ายที่ได้แยกเป็นเส้นด้าย ภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “ การกวักด้าย ”
3. ผ้าคลุมไหล่สีธรรมชาติ  
+
                    2. นำเส้นฝ้ายที่กวักแล้ว ไปเตรียมทอ ( ภาษาถิ่นเรียกว่า คันลาย ) แล้วจึงเลือกเอาลายแบบที่ต้องการนำไป “ สืบหูก ” คือ สอดเป็นลายยืนเข้มกับฟืมที่ใช้ทอ
4. ผ้าถุงมัดหมี่  
+
                    3. นำเส้นฝ้ายไปนั่งปั่นใส่ในหลอดที่ทำจากแท่งเล็กๆ ที่ไส้กลางจะกลวง ปั่นให้มีขนาดหลอดไม่ใหญ่จนเกินไป ใส่ในกระสวยได้
5. ผ้าทอขัดลายพื้นฐาน  
+
              ขั้นตอนการทอ
 
+
                    1. นำฝ้ายเส้นไปกางในกี่ที่จะใช้ทอ
ขั้นตอนและกระบวนการผลิตผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ
+
                    2. นำเส้นด้ายที่ปั่นไว้ในหลอดมาทอตามลายที่ต้องการ
ปัจจุบันการทอผ้ามีวิวัฒนาการโดยการประยุกต์ลายต่าง ๆ ผสมผสานกันเป็นลายใหม่ๆ รวมทั้งผ้าแต่งเสื้อสุภาพบุรุษ-สตรี โดยให้สีที่แตกต่างจากของเดิมออกไปตามความนิยมของผู้ซื้อ กรรมวิธีและเทคนิคในการทอผ้าให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เป็นเทคนิคและความสามารถของแต่ละคน หลักใหญ่ของการทอผ้าก็คือ                 การนำเส้นฝ้ายหรือไหมมาขัดกันให้เป็นลาย โดยขึ้นเส้นกลุ่มหนึ่งเป็นหลัก เรียกว่า เส้นยืนแล้วใช้อีกเส้นหนึ่ง เรียกว่าเส้นพุ่ง สอดตามขวางของเส้นยืน เมื่อสานขัดกันก็จะเป็นลวดลายต่างๆ ผ้าบางชนิด ผู้ทอจะคิดหาวิธีสอดด้วยและสอดสีสลับกัน บางวิธีก็จะจับผูกและมัดเน้นเป็นช่วง ๆ  หรืออาจจะยกด้ายที่ทอเป็นระยะ ๆ ทำให้เกิดลวดลายสวยงามผู้ทอต้องสามารถจดจำลวดลายที่ตนคิดประดิษฐ์ได้ ถึงแม้แต่ละลวดลายจะมีความซับซ้อนและหลากหลาย แต่เขาก็สามารถนำมาประสานกันได้อย่างเหมาะเจาะ งดงามแสดถึงภูมิปัญญาและความสามารถของชาวชนบทเป็นอย่างดี ผ้าทอมือจึงมีเทคนิคการทอและความสวยงามเป็นที่สุด ดังภาพที่ 2
+
              '''กระบวนการย้อมสีธรรมชาติ'''
 
+
              '''ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการย้อมสีธรรมชาติ'''
 
+
              การย้อมสีธรรมชาติด้วยวัสดุต่างๆ ก็จะได้สีที่ออกมาแตกต่างกันไป ตามภูมิปัญญาของผู้ย้อมผ้าในอดีตซึ่งมีความชาญฉลาดเป็นอย่างยิ่งในการคิดค้นเอาสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและใกล้ตัวมาทำการทดลอง จากการสังเกต ช่างคิดและจดจำ จึงทำให้บรรพชนในรุ่นต่อๆ มาต่างยึดถือเอาวิธีการดังกล่าวมาใช้ อันเป็นผลให้เกิดประโยชน์อย่างมากมายแก่อนุชนรุ่นหลังและต่อๆไป
     
+
              สีธรรมชาติที่ใช้ทั้งหมดได้จากพืช จากเปลือกไม้ ใบไม้ และลูกไม้ เช่น เปลือกต้นเพกาให้สีเขียวแก่  ลูกมะเกลือ ใบเหวให้สีเขียวอ่อน ลกกระบก (มะลื่น) ให้สีเทา และครั่งให้สีชมพูอมม่วง วิธีการสกัดน้ำสีจากส่วนต่างๆของพืชแตกต่างกันไป ในกรณีที่เป็นใบน้ำสีมักจะได้มาจากการหมักใบ ถ้าเป็นลูกไม้ เช่น ลูกมะเกลือ น้ำสีจะได้จาการหมักลูกมะเกลือที่ถูกทุบจนแหลกละเอียดแล้ว ส่วนในกรณีของเปลือกไม้หรือรากไม้จะนำมาสับเป็นชิ้นเล็กๆบางๆ แล้วนำมาต้มจึงจะได้น้ำสีที่ต้องการ สีธรรมชาติที่ใช้ที่บ้านหนองปิ้งไก่ส่วนใหญ่ได้จากการเก็บพันธุ์พืชเหล่านี้มาจากบนเขาและในป่า น้ำสีที่สกัดได้จากพืชในแต่ล่ะครั้งก็ยังให้สีที่แตกต่างกันไปบ้าง
 
+
              '''การย้อมสีสิ่งทอที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ'''
ภาพที่ 2 การผลิตผ้าทอย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองจอก
+
              ด้วยภูมิปัญญาของคนรุ่นปู่ย่าตายายที่ได้ศึกษาทดลองซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกระทั่งได้องค์ความรู้ในการย้อมสีผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติที่ไม่เป็นพิษต่อผู้คน สัตว์และธรรมชาติ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ได้กลายเป็นหนึ่งในเครื่องมือหาเลี้ยงชีพของพี่น้องชาวชนบท  ผู้ซึ่งมีบทบาทและส่วนร่วมโดยตรงในการดำรงไว้ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันงดงาม สียอมผ้าที่ได้จากธรรมชาติเกิดจากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติหลาย ๆ อย่างนับตั้งแต่ต้นไม้ พืช สัตว์ แร่ธาตุต่างๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้  
 
+
'''ตารางที่ 1''' ส่วนของพืชที่ให้สีไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์ของการผลิต
+
{| class="wikitable"
1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มอาชีพเกษตรกรร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาอาชีพ
+
|-
2. เพื่อให้เกษตรกรพัฒนาบทบาทความสามารถของตนเองด้วยการทอผ้าและย้อมสีธรรมชาติเพื่อ
+
! ส่วนต่างๆของพืช !! วิธีการให้ได้มาซึ่งสี
เป็นอาชีพเสริมให้กับเกษตร
+
|-
3. เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มมีความสามัคคี เรียนรู้ร่วมกันและแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี  
+
| ดอก || นำไปแช่และคั้นเอาน้ำสี
4. เพื่อให้กลุ่มอาชีพส่งเสริมเกษตรกรเป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้และเป็นแกนนำในการพัฒนา
+
|-
อาชีพของกลุ่มต่อไป
+
| ใบและกิ่งก้าน || นำไปหมักและคั้นเอาน้ำสี
5. ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพได้รับรองมาตรฐาน มผช.
+
|-
 
+
| ผล – เมล็ด || นำไปโขลกและคั้นเอาน้ำสี
วัตถุดิบและส่วนประกอบ
+
|-
1. ไหมสังเคราะห์อุปกรณ์ในการผลิต
+
| เปลือกและแก่น|| นำไปต้มน้ำจนเดือดจะได้น้ำสี
2. กี่
+
|-
3. ก้านสวย
+
| ราก || นำไปแช่และคั้นเอาน้ำสี
4. ไนปั่นฝ้าย
+
|}
5. หลอดใส่ฝ้าย
+
'''ตารางที่ 2''' ตัวอย่างสีจากธรรมชาติที่ได้จากพืช
6. อักกวักฝ้าย
+
[[ไฟล์:ตัวอย่างสีจากธรรมชาติที่ได้จากพืช.jpg|650px|thumb|none]]
7. ไม้คอนอัก
+
'''ตารางที่ 3''' ตัวอย่างสีธรรมชาติที่ได้จากสัตว์
8. หลักเผือ
+
{| class="wikitable"
9. หลักหลอด
+
|-
10. ฟืม
+
! ชนิดของวัสดุ !! ส่วนที่ใช้ !! สีที่ได้
 
+
|-
ขั้นตอนการทอผ้าฝ้าย
+
| ครั่ง || ตัวครั่ง || ม่วงแดง
การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติของอำเภอไทรงาม ส่วนใหญ่ทอด้วยฝ้ายซึ่งมีขั้นตอนการเตรียมฝ้ายและการทอผ้า ดังนี้
+
|}
การเตรียมเส้นฝ้ายที่จะนำไปทอ
+
'''ตารางที่ 4''' ตัวอย่างสีธรรมชาติที่ได้จากแร่ธาตุ
1. นำฝ้ายที่ได้แยกเป็นเส้นด้าย ภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “ การกวักด้าย ”
+
{| class="wikitable"
2. นำเส้นฝ้ายที่กวักแล้ว ไปเตรียมทอ ( ภาษาถิ่นเรียกว่า คันลาย ) แล้วจึงเลือกเอาลายแบบที่ต้องการนำไป “ สืบหูก ” คือ สอดเป็นลายยืนเข้มกับฟืมที่ใช้ทอ
+
|-
3. นำเส้นฝ้ายไปนั่งปั่นใส่ในหลอดที่ทำจากแท่งเล็กๆ ที่ไส้กลางจะกลวง ปั่นให้มีขนาดหลอดไม่ใหญ่จนเกินไป ใส่ในกระสวยได้
+
! ชนิดของวัสดุ !! ส่วนที่ใช้ !! สีที่ได้
ขั้นตอนการทอ
+
|-
1. นำฝ้ายเส้นไปกางในกี่ที่จะใช้ทอ
+
| ดินแดง || ดินแดง || แดงอิฐ
2. นำเส้นด้ายที่ปั่นไว้ในหลอดมาทอตามลายที่ต้องการ
+
|-
 
+
| โคลน || โคลน || เทาอ่อน
กระบวนการย้อมสีธรรมชาติ
+
|}
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการย้อมสีธรรมชาติ
+
              '''ขั้นตอนการดำเนินการย้อมสีธรรมชาติ'''
          การย้อมสีธรรมชาติด้วยวัสดุต่างๆ ก็จะได้สีที่ออกมาแตกต่างกันไป ตามภูมิปัญญาของผู้ย้อมผ้าในอดีตซึ่งมีความชาญฉลาดเป็นอย่างยิ่งในการคิดค้นเอาสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและใกล้ตัวมาทำการทดลอง จากการสังเกต ช่างคิดและจดจำ จึงทำให้บรรพชนในรุ่นต่อๆ มาต่างยึดถือเอาวิธีการดังกล่าวมาใช้ อันเป็นผลให้เกิดประโยชน์อย่างมากมายแก่อนุชนรุ่นหลังและต่อๆไป
+
              การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ เป็นการย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ ผสมกับวัสดุอื่นๆ ที่ทำให้เกิดเป็นสีต่าง ๆ ในแต่ละแห่งจะมีวิธีการ ขั้นตอน และเทคนิควิธีย้อม ที่แตกต่างกันไป ช่างทอผ้าแต่ละคนมีวิธีการย้อมผ้าของตนเอง ซึ่งจะเก็บไว้เป็นความลับ และถ่ายทอดให้แก่ลูกสาว ปัจจุบัน ความลับเหล่านี้ได้สูญหายไปเป็นส่วนมาก คงเหลืออยู่แต่ในการทำสีเพียงบางสีเท่านั้น
          สีธรรมชาติที่ใช้ทั้งหมดได้จากพืช จากเปลือกไม้ ใบไม้ และลูกไม้ เช่น เปลือกต้นเพกา ให้สีเขียวแก่    ลูกมะเกลือ ใบเหวให้สีเขียวอ่อน ลกกระบก (มะลื่น) ให้สีเทา และครั่งให้สีชมพูอมม่วง วิธีการสกัดน้ำสีจากส่วนต่างๆของพืชแตกต่างกันไป ในกรณีที่เป็นใบน้ำสีมักจะได้มาจากการหมักใบ ถ้าเป็นลูกไม้ เช่น ลูกมะเกลือ น้ำสีจะได้จาการหมักลูกมะเกลือที่ถูกทุบจนแหลกละเอียดแล้ว ส่วนในกรณีของเปลือกไม้หรือรากไม้จะนำมาสับเป็นชิ้นเล็กๆบางๆ แล้วนำมาต้มจึงจะได้น้ำสีที่ต้องการ สีธรรมชาติที่ใช้ที่บ้านหนองปิ้งไก่ส่วนใหญ่ได้จากการเก็บพันธุ์พืชเหล่านี้มาจากบนเขาและในป่า น้ำสีที่สกัดได้จากพืชในแต่ล่ะครั้งก็ยังให้สีที่แตกต่างกันไปบ้าง
+
              การย้อมสีธรรมชาติ ของกลุ่มทอผ้าในเขตอำเภอไทรงาม จะมีวิธีการที่คล้ายกัน แต่จะแตกต่างกันบ้างในด้านเทคนิค และอัตราส่วน ซึ่งจะแตกต่างกันตามความรู้และประสบการณ์ของแต่ละคนโดยทั่วไปแล้วจะมีขั้นตอน ส่วนประกอบ และวิธีการ ดังนี้
การย้อมสีสิ่งทอที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ
+
              '''ขั้นตอนที่ 1''' การเตรียมวัตถุดิบ
          ด้วยภูมิปัญญาของคนรุ่นปู่ย่าตายายที่ได้ศึกษาทดลองซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกระทั่งได้องค์ความรู้ในการย้อมสีผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติที่ไม่เป็นพิษต่อผู้คน สัตว์และธรรมชาติ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ได้กลายเป็นหนึ่งในเครื่องมือหาเลี้ยงชีพของพี่น้องชาวชนบท  ผู้ซึ่งมีบทบาทและส่วนร่วมโดยตรงในการดำรงไว้ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันงดงาม สียอมผ้าที่ได้จากธรรมชาติเกิดจากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติหลายๆ อย่างนับตั้งแต่ต้นไม้ พืช สัตว์ แร่ธาตุต่างๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้  
+
                    1. นำเส้นฝ้ายดิบมาแช่น้ำทิ้งไว้หนึ่งคืน จากนั้นนำมาซักให้สะอาดเพื่อเอาแป้งออก เส้นฝ้ายจะนุ่มพร้อมอุ้มสี นำมาต้มเพื่อช่วยละลายไขมัน
 
+
                    2. นำวัตถุดิบธรรมชาติจากพืชให้สีที่เราต้องการย้อม โดยนำส่วนของใบที่แก่จัดหรืออ่อนในพืชบางชนิด เช่น ใบสัก เปลือกไม้ นำมาสับให้เป็นชิ้นเล็กๆ โดยใช้อัตราส่วน ใบไม้ 2 กิโลกรัม ต่อ ฝ้าย 1 กิโลกรัม
ตารางที่ 1 ส่วนของพืชที่ให้สีไปใช้ประโยชน์
+
              '''ขั้นตอนที่ 2''' ต้มใบไม้ที่สับแล้วประมาณ 1 ชั่วโมง อย่าให้น้ำเดือดเกินไป จากนั้นกรองเอาเศษใบไม้ออกให้เหลือเฉพาะน้ำสี
ส่วนต่างๆของพืช วิธีการให้ได้มาซึ่งสี
+
              '''ขั้นตอนที่ 3''' นำเส้นฝ้ายที่ผ่านการซักทำความสะอาดและต้มซักแล้ว ใส่ลงไปในหม้อต้ม กดเส้นใยฝ้ายให้จมมิดน้ำ
ดอก
+
              '''ขั้นตอนที่ 4''' หลังการต้มครบ 3 ชั่วโมงแล้ว น้ำเส้นฝ้ายขึ้นจากหม้อ ล้างเส้นฝ้ายให้สะอาด
ใบและกิ่งก้าน
+
              '''ขั้นตอนที่ 5''' นำเส้นฝ้ายลงไปในอ่างกระตุ้นสี เช่น สนิม น้ำปูใส น้ำโคลน น้ำสารส้ม น้ำขี้เถ้า จุนสีดินลูกรัง เป็นต้น เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ขยำ หมัก บีบเส้นฝ้ายให้ดูดซึมทั่วผืน ถ้าต้องการนำไปกระตุ้นสีอ่างอื่นๆ อีกต้องการซักน้ำให้สะอาดเสียก่อนแล้วจึงหมักลงในในสารกระตุ้นสีตัวใหม่
ผล – เมล็ด
+
              '''ขั้นตอนที่ 6''' นำมาซักล้างให้สะอาด สีส่วนเกินจะหลุดหมด จากนั้นนำไปผึ่งให้แห้ง ควรผึ่งในร่ม ไม่ให้ถูกแดด
เปลือกและแก่น
+
              '''ข้อสังเกต''' การย้อมฝ้ายเพื่อป้องกันไม่ให้สีตกจะเติมน้ำด่างร่วมด้วย ใบยูคาลิปตัส ใบมะขาม น้ำขี้เถ้าไฟ
ราก นำไปแช่และคั้นเอาน้ำสี
+
              '''เทคนิคและวิธีการย้อมสีธรรมชาติด้วยวัสดุต่าง ๆ'''
นำไปหมักและคั้นเอาน้ำสี
+
              '''การย้อมสีเขียวจากเปลือกต้นเพกา''' เอาเปลือกเพกามาหั่น หรือสับให้เป็นชิ้นเล็กๆ นำไปต้ม 20 นาที ช้อนเอาเปลือกออก ต้มเถาถั่วแปบเอาแต่น้ำใสเติมลงไปใส่น้ำมะเกลือกเล็กน้อย ใส่ปูนขาวและใบส้มป่อยผสมลงไป ทิ้งไว้สักพัก แล้วกรองให้เหลือแต่น้ำสีพร้อมที่จะย้อม นำเอาน้ำย้อมตั้งไฟพออุ่น นำด้ายฝ้ายซึ่งซุบน้ำบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ต้มต่อไปนาน 20 นาที จนได้สีที่ต้องการ ยกด้ายฝ้ายออก ซักน้ำสะอาดใส่ราวกระตุกตากจนแห้ง จะได้สีเขียวตามที่ต้องการ
นำไปโขลกและคั้นเอาน้ำสี
 
นำไปต้มน้ำจนเดือดจะได้น้ำสี
 
นำไปแช่และคั้นเอาน้ำสี
 
ตารางที่ 2 ตัวอย่างสีจากธรรมชาติที่ได้จากพืช
 
ชนิดของวัสดุ ส่วนที่ใช้ สีที่ได้
 
ขมิ้นชัน หัว เหลือง
 
ขนุน แก่นของลำต้น เหลือง
 
คำฝอย ดอก เหลือง
 
ขี้เหล็ก แก่นของลำต้น เหลืองเข้ม
 
มะม่วง เปลือกของลำต้น เขียว
 
เพกา เปลือกของลำต้น เขียวอ่อน
 
กระเจี๊ยบ ดอก แดง
 
ยูคาลิปตัส ใบ เขียวคราม
 
ยูคาลิปตัส ใบ/กิ่งก้าน น้ำเงินเข้ม
 
สมอ ผล เทา
 
มะพร้าวแห้ง เปลือกของผล น้ำตาล
 
สมอ เปลือก/ลำต้น น้ำตาล/เขียว
 
หูกวาง ใบ เขียวขี้ม้า
 
กระบก หรือ หมากเหลี่ยม เปลือกของลำต้น เทา
 
ยอป่า ราก น้ำตาล
 
สัก ใบอ่อน, เปลือก, ลำต้น น้ำตาล
 
แก่นฝาง แก่นของลำต้น แดง/ชมพู
 
ตารางที่ 2 ตัวอย่างสีจากธรรมชาติที่ได้จากพืช (ต่อ)
 
ชนิดของวัสดุ ส่วนที่ใช้ สีที่ได้
 
ประดู่, นุ่น, สะเดา เปลือกของลำต้น น้ำตาล
 
อัญชัน ดอก ม่วง
 
กาบมะพร้าว ผล แดง/ชมพู/น้ำตาล
 
โกงกาง เปลือก น้ำตาลแก่
 
ข่า ราก แดง
 
ฉำฉา เปลือก นวลอมชมพู
 
กระหูด เปลือก เขียว
 
คำเงาะ เมล็ด ส้ม
 
ดอกทองกวาว ดอก ส้ม
 
คราม ใบ กิ่ง ก้าน น้ำเงินเข้ม
 
เข แก่น เหลือง
 
ต้นแสด เมล็ด ส้ม
 
ดอกอัญชัน ดอก เทาอมฟ้า น้ำเงิน
 
กระจาย ผล ดำ
 
ตะโก ผล ดำ
 
ประดู่ เปลือก ม่วง
 
ปอแดง เปลือก แดงอ่อน
 
มะม่วงน้อย เปลือก เขียวขี้ม้า
 
มะเกลือ ผล ดำ
 
สัก ใบอ่อน น้ำตาล
 
หว้า ผล ม่วงอ่อน
 
แถลง(มะพูด) ราก ตองอ่อน
 
ยอป่า ราก น้ำตาล
 
กระบก ผล เทา
 
ไม้หูควาย เมล็ด ดำ
 
ลกฟ้า ต้น น้ำตาล
 
หูกวาง ใบ เขียว
 
เหว ใบ เหลืองอ่อน
 
ตารางที่ 3 ตัวอย่างสีธรรมชาติที่ได้จากสัตว์
 
ชนิดของวัสดุ ส่วนที่ใช้ สีที่ได้
 
ครั่ง ตัวครั่ง ม่วงแดง
 
 
 
ตารางที่ 4 ตัวอย่างสีธรรมชาติที่ได้จากแร่ธาตุ
 
ชนิดของวัสดุ ส่วนที่ใช้ สีที่ได้
 
ดินแดง ดินแดง แดงอิฐ
 
โคลน โคลน เทาอ่อน
 
 
 
ขั้นตอนการดำเนินการย้อมสีธรรมชาติ  
 
การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ เป็นการย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ ผสมกับวัสดุอื่นๆ ที่ทำให้เกิดเป็นสีต่างๆ ในแต่ละแห่งจะมีวิธีการ ขั้นตอน และเทคนิควิธีย้อม ที่แตกต่างกันไป ช่างทอผ้าแต่ละคนมีวิธีการย้อมผ้าของตนเอง ซึ่งจะเก็บไว้เป็นความลับ และถ่ายทอดให้แก่ลูกสาว ปัจจุบัน ความลับเหล่านี้ได้สูญหายไปเป็นส่วนมาก คงเหลืออยู่แต่ในการทำสีเพียงบางสีเท่านั้น
 
การย้อมสีธรรมชาติ ของกลุ่มทอผ้าในเขตอำเภอไทรงาม จะมีวิธีการที่คล้ายกัน แต่จะแตกต่างกันบ้างในด้านเทคนิค และอัตราส่วน ซึ่งจะแตกต่างกันตามความรู้และประสบการณ์ของแต่ละคนโดยทั่วไปแล้วจะมีขั้นตอน ส่วนประกอบ และวิธีการ ดังนี้
 
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมวัตถุดิบ
 
1. นำเส้นฝ้ายดิบมาแช่น้ำทิ้งไว้หนึ่งคืน จากนั้นนำมาซักให้สะอาดเพื่อเอาแป้งออก เส้นฝ้ายจะนุ่มพร้อมอุ้มสี นำมาต้มเพื่อช่วยละลายไขมัน
 
2. นำวัตถุดิบธรรมชาติจากพืชให้สีที่เราต้องการย้อม โดยนำส่วนของใบที่แก่จัดหรืออ่อนในพืชบางชนิด เช่น ใบสัก เปลือกไม้ นำมาสับให้เป็นชิ้นเล็กๆ โดยใช้อัตราส่วน ใบไม้ 2 กิโลกรัม ต่อ ฝ้าย 1 กิโลกรัม
 
ขั้นตอนที่ 2 ต้มใบไม้ที่สับแล้วประมาณ 1 ชั่วโมง อย่าให้น้ำเดือดเกินไป จากนั้นกรองเอาเศษใบไม้
 
ออกให้เหลือเฉพาะน้ำสี
 
ขั้นตอนที่ 3 นำเส้นฝ้ายที่ผ่านการซักทำความสะอาดและต้มซักแล้ว ใส่ลงไปในหม้อต้ม กดเส้นใย
 
ฝ้ายให้จมมิดน้ำ
 
ขั้นตอนที่ 4 หลังการต้มครบ ชั่วโมงแล้ว น้ำเส้นฝ้ายขึ้นจากหม้อ ล้างเส้นฝ้ายให้สะอาด
 
ขั้นตอนที่ 5 นำเส้นฝ้ายลงไปในอ่างกระตุ้นสี เช่น สนิม น้ำปูใส น้ำโคลน น้ำสารส้ม น้ำขี้เถ้า  
 
จุนสีดินลูกรัง เป็นต้น เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ขยำ หมัก บีบเส้นฝ้ายให้ดูดซึมทั่วผืน ถ้าต้องการนำไปกระตุ้นสีอ่างอื่นๆ อีกต้องการซักน้ำให้สะอาดเสียก่อนแล้วจึงหมักลงในในสารกระตุ้นสีตัวใหม่
 
ขั้นตอนที่ 6 นำมาซักล้างให้สะอาด สีส่วนเกินจะหลุดหมด จากนั้นนำไปผึ่งให้แห้ง ควรผึ่งในร่ม
 
ไม่ให้ถูกแดด
 
ข้อสังเกต การย้อมฝ้ายเพื่อป้องกันไม่ให้สีตกจะเติมน้ำด่างร่วมด้วย ใบยูคาลิปตัส ใบมะขาม
 
น้ำขี้เถ้าไฟ
 
เทคนิคและวิธีการย้อมสีธรรมชาติด้วยวัสดุต่างๆ
 
การย้อมสีเขียวจากเปลือกต้นเพกา เอาเปลือกเพกามาหั่น หรือสับให้เป็นชิ้นเล็กๆ นำไปต้ม 20 นาที ช้อนเอาเปลือกออก ต้มเถาถั่วแปบเอาแต่น้ำใสเติมลงไปใส่น้ำมะเกลือกเล็กน้อย ใส่ปูนขาวและใบส้มป่อยผสมลงไป ทิ้งไว้สักพัก แล้วกรองให้เหลือแต่น้ำสีพร้อมที่จะย้อม นำเอาน้ำย้อมตั้งไฟพออุ่น นำด้ายฝ้ายซึ่งซุบน้ำบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ต้มต่อไปนาน 20 นาที จนได้สีที่ต้องการ ยกด้ายฝ้ายออก ซักน้ำสะอาดใส่ราวกระตุกตากจนแห้ง จะได้สีเขียวตามที่ต้องการ
 
 
การย้อมสีเขียวจากเปลือกสมอ เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งพอสมควร รินเอาแต่น้ำใส่หม้อดิน เอาด้ายฝ้ายที่ผ่านการย้อมครามมาครั้งหนึ่งแล้ว ลงไปย้อมในน้ำสีที่ยังร้อนอยู่ ต้มต่อไปประมาณ 1 ชั่วโมง หมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีดูดซึมอย่างสม่ำเสมอ พอได้สีที่ต้องการยกด้ายฝ้ายขึ้นกระตุน ตากให้แห้งจะได้สีเขียวตามที่ต้องการ
 
การย้อมสีเขียวจากเปลือกสมอ เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งพอสมควร รินเอาแต่น้ำใส่หม้อดิน เอาด้ายฝ้ายที่ผ่านการย้อมครามมาครั้งหนึ่งแล้ว ลงไปย้อมในน้ำสีที่ยังร้อนอยู่ ต้มต่อไปประมาณ 1 ชั่วโมง หมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีดูดซึมอย่างสม่ำเสมอ พอได้สีที่ต้องการยกด้ายฝ้ายขึ้นกระตุน ตากให้แห้งจะได้สีเขียวตามที่ต้องการ
 
การย้อมสีกากีแกมเขียวจากเปลือกเพกากับแก่นขนุน  เอาเปลือกเพกาสดๆ มาล้างน้ำ ผึ่งแดดสัก 2-3 แดด พักทิ้งไว้ เอาแก่นขนุนหั่นหรือใสให้เป็นชิ้นบางๆ แบ่งเอามา 1 ส่วน ผสมกับเปลือกเพกา 3 ส่วน                  ต้มเคี่ยวให้น้ำเดือดแล้วกรองเอาแต่น้ำ เวลาย้อมเติมน้ำสารส้มเล็กน้อยเพื่อให้สีติดดีและทนทาน การย้อมเอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบน้ำแล้วบิดพอหมาดลงในอ่างย้อมหมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีติดสม่ำเสมอ ไม่ด่าง จึงยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้ำให้สะอาดบิดกระตุก แล้วนำไปตาก
 
การย้อมสีกากีแกมเขียวจากเปลือกเพกากับแก่นขนุน  เอาเปลือกเพกาสดๆ มาล้างน้ำ ผึ่งแดดสัก 2-3 แดด พักทิ้งไว้ เอาแก่นขนุนหั่นหรือใสให้เป็นชิ้นบางๆ แบ่งเอามา 1 ส่วน ผสมกับเปลือกเพกา 3 ส่วน                  ต้มเคี่ยวให้น้ำเดือดแล้วกรองเอาแต่น้ำ เวลาย้อมเติมน้ำสารส้มเล็กน้อยเพื่อให้สีติดดีและทนทาน การย้อมเอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบน้ำแล้วบิดพอหมาดลงในอ่างย้อมหมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีติดสม่ำเสมอ ไม่ด่าง จึงยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้ำให้สะอาดบิดกระตุก แล้วนำไปตาก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:40, 19 กุมภาพันธ์ 2564

ข้อมูลทั่วไป

         1. ชื่อเรียก	:  ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร
         2. ชื่อเรียกอื่นๆ	:  ไม่มี
         3. คำอธิบาย   	:  ผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา ที่มีกระบวนการย้อมสีฝ้ายจากสีธรรมชาติ นำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าตัดเสื้อ เป็นต้น
         4. สถานที่	        : บ้านหนองจอกพัฒนา อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร

ประวัติความเป็นมา บ้านหนองจอกพัฒนา ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2546 ซึ่งแยกออกมาจากบ้านหนองจอก หมู่ที่ 4 ประชาชนส่วนใหญ่มาจากภาคกลางและภาคอีสาน ประเพณีและการละเล่นท้องถิ่น ในหมู่บ้าน คือ การตักบาตรทำบุญกลางบ้านและตักบาตรเทโววันออกพรรษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การทำบายศรี จักสานไม้ผ่า จักสานแห หมอสมุนไพร และสาเหตุที่เรียกว่า บ้านหนองจอกพัฒนา เพราะหมู่บ้านเดิมชื่อบ้านหนองจอก ตามประวัติเดิมพื้นที่เป็นป่ามีหนองน้ำขนาดใหญ่ มีจอกแหนขึ้นเต็มสระจึงตั้งชื่อว่า บ้านหนองจอก ปัจจุบันเป็นชุมชนที่หนาแน่น จึงแยกเป็น 2 หมู่บ้าน สภาพหมู่บ้านชุมชนอยู่ติดกันจึงตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่เป็นบ้านหนองจอกพัฒนา ด้วยเหตุผลของประชาชนส่วนใหญ่มาจากอีสาน การแยกออกมาเป็นบ้านใหม่ทำให้ชาวบ้านเกิดความตื่นตัวในการที่จะสร้างหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง เกิดความคิดที่จะพัฒนาให้สมชื่อ บ้านหนองจอกพัฒนา โดยเริ่มพัฒนาชุมชนและอาชีพเป็นอันดับแรก

         5. วัสดุผลิตภัณฑ์ : ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ จากวัสดุธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ใบไม้ พืช สัตว์ แร่ธาตุต่างๆ 
         6. ประเภทของการใช้งาน  : ผ้าขาวม้า  ผ้าคลุมไหล่  ผ้าตัดเสื้อ
         7. กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน
             ความเป็นมาของการทอผ้า การทอผ้าเป็นหัตกรรมอย่างหนึ่งที่ทำสืบต่อกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี สันนิฐานจากประวัติศาสตร์ไทยได้กล่าวไว้จากหลักฐานการแต่งกายของกษัตริย์เจ้านาย ข้าราชการคหบดีในสมัยนั้นได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องการส่งส่วยกล่าวว่า “ส่งผ้าทอเป็นมัด น้ำผึ้ง ไม้หอม” และอื่นๆ เป็นเครื่องราชบรรณาการ  ซึ่งการทอผ้านับว่าเป็นศิลปะที่ผู้เป็นช่างทอต้องมีความสามารถในการใช้สีของเส้นด้ายประกอบกันให้เกิดความสวยงามเหมาะสม และการแต่งแต้มสีทำให้เกิดลวดลาย การย้อม โดยเฉพาะผ้าที่เรียกว่า“ผ้ามัดหมี่” หากผู้ใดได้จับชมแล้วยากที่จะวางลงได้  
             การทอผ้านับว่าเป็นสถาปัตยกรรมอีกด้วย เพราะช่างทอผ้าต้องออกแบบลายผ้าของตนเองขึ้นมา โดยการนำลักษณะต่าง ๆ ของธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ดาว เดือน สัตว์ ของใช้มาคิดประดิดประดอยเป็นลายผ้า จนมีชื่อเรียกตามลักษณะของสิ่งเหล่านั้น เช่น ดอกแก้ว บ่าง กระเบี้ย (ผีเสื้อ) คันร่ม ขอคำเดือน ขิด สำรวจ(จรวด) หงส์ และการพัฒนาลายผ้าจากที่คิดให้มีความซับซ้อนสวยงามยิ่งขึ้น เช่น ลายขอซ้อมน้อย(เล็ก) ซ้อมใหญ่ ลายด่านน้อย ด่านกลาง ด่านใหญ่ หงส์น้อย ลายหงส์ใหญ่
             การสืบทอด การถ่ายทอด ในสมัยโบราญผู้คนเรียนรู้หนังสือน้อยแทบไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนเลย โดยเฉพาะผู้หญิงซึ่งต้องมีหน้าที่ในงานบ้านเลี้ยงลูก ทำงานทอผ้า เพื่อใช้ในการนุ่งห่มของคนในครอบครัวหลังเวลาว่างจากการทำนาทำไร่ อาศัยเวลากลางคืนบ้าง เวลาหยุดพักเพื่อรอคอยการเก็บเกี่ยวผลผลิตบ้าง นับว่าเป็นงานหนักพอสมควรสำหรับหญิงไทย เพราะเมื่อเลิกงานประจำวันแล้วยังต้องประกอบอาชีพดูแลลูก ๆ และสามีให้รับประทานอาหารจนอิ่มและเข้านอนแล้ว ตนเองก็ยังมิได้พักผ่อนหลับนอนยังต้องนั่งเก็บฝ้าย(เก็บสิ่งเจือปนออกจากปุยฝ้าย) เข็นฝ้าย ดีดฝ้าย มัดหมี่ เพื่อเตรียมไว้เมื่อว่างเว้น จากการทำงานจริงๆ แล้วจึงจะทำการทอผ้า
             การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ในสมัยนั้น ต้องอาศัยความจำจากการปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญ ไม่มีการบันทึกเป็นภาพหรือลายลักษณ์อักษรแต่อย่างใด โดยจะถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก หรือเครือญาติใกล้ชิดจึงเปรียบเสมือนเป็นการสืบสายเลือดเลยก็ว่าได้ การทอผ้าแต่โบราณจะใช้ใยไหมและใยฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลักในการทอผ้า เพราะไม่มีเส้นใยสังเคราะห์อื่นใดที่จะมาแทนเส้นใยไหมและฝ้ายได้ดี บางกลุ่มบางสถานที่ได้นำวัสดุอื่นมาใช้ เช่น ป่าน ใบสับปะรด ใบเตยหนาม ปอ มาทำเป็นวัสดุในการทอผ้าแต่ก็ไม่ได้รับความนิยมเพราะไม่เกิดความนิ่มทำให้ระคายเคืองร่างกาย สู้ใยไหมและฝ่ายไม่ได้
             การทอผ้าเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่คนไทยรุ่นปัจจุบันต้องช่วยกันอนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อนผู้หญิงไทยจะทำเครื่องใช้ต่าง ๆ ในบ้านเอง งานสำคัญอย่างหนึ่งคือการทำเสื้อผ้า ผ้านุ่ง ผ้าห่มไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ก็ต้องใช้ผ้า ผ้าทอจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตคนไทย
             ความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร
             จังหวัดกำแพงเพชร มีกลุ่มทอผ้าที่ได้มาตรฐานและเป็นระบบ คือหมู่บ้านใหม่ศรีอุบล หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ที่มีการทอผ้าอย่างเป็นระบบและครบวงจรมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2534 แต่ยังไม่สามารถผลิตด้ายด้วยตนเองได้ เพราะการหาซื้อมีต้นทุนที่ถูกกว่ามาก การผลิตผ้าจากการปั่นด้ายจนกระทั่งถึงการทอผ้า ตัดเย็บ และขายปลีกและขายส่ง อย่างครบวงจร มีระบบและสามารถเลี้ยงตนเองได้ โดยได้รับการสนับสนุนจากจังหวัดกำแพงเพชร และองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งโพธิ์ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนมีรายได้จากการทอผ้า ตัดเย็บและเลี้ยงตัวได้หลังจากการทำไร่ทำนาหรือว่างจากการทำเกษตรกรรมนับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับการรวมกลุ่มการทำงานอย่างเข้มแข็งของประชาชน ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมากขึ้น 
             บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอีกชุมชนที่มีประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมากจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยย้ายถิ่นฐานมาจาก อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด และได้นำภูมิปัญญาการทอผ้า ตั้งแต่การปลูกฝ้าย การปั่น การย้อม และการทอผ้า โดยใช้เวลาว่างหลักจากเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรโดยมีการร่วมกลุ่มกันประกอบอาชีพทอผ้า โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มองค์กร ห้างร้าน บริษัทและหน่วยงานของรัฐ ปัจจุบันกลุ่มผ้าทอหนองจอกพัฒนามีความต้องการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความหลากหลายให้กับลูกค้าเดิม และแสวงหาลูกค้าใหม่ 
             ประวัติความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร กล่าวโดย นางวิรส  สอนนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 78 หมู่ที่ 9 บ้านหนองจอกพัฒนา ตำบลท่ามะเขือ อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร ได้เรียนรู้การย้อมสีผ้าด้วยสีธรรมชาติจากการเข้ารับการอบรมโดยศูนย์วิชาการและเทคโนโลยีสิ่งทอผ้าพื้นบ้าน(ฝ้ายแกมไหม) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำหรับการทอผ้าได้เรียนรู้ และได้รับการถ่ายทอดจากนางนา  หอมดวง  อายุ 85 ปี ซึ่งเป็นมารดาผลิตผลงานที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าตัดเสื้อ เป็นต้น ซึ่งเป็นผ้าที่ย้อมจากสีธรรมชาติทั้งสิ้น ผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติของนางวิรส  สอนนอก มีคุณภาพดี มีลูกค้าสนใจติดต่อขอซื้อเพื่อนำไปจำหน่ายและหรือนำไปตัดเสื้อผ้า เป็นของฝากในโอกาสต่าง ๆ ทำให้เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว นอกจากการทำสวน ในการดำเนินงานผลิตผ้าย้อมสีธรรมชาติจะใช้เวลาในการดำเนินงานประมาณ 5 วัน และได้แบ่งผลิตภัณฑ์ ดังนี้ 
                   1. ผ้าขาวม้า (สีธรรมชาติ) 
                   2. ผ้าขาวม้า (สีเคมี) 
                   3. ผ้าคลุมไหล่สีธรรมชาติ 
                   4. ผ้าถุงมัดหมี่ 
                   5. ผ้าทอขัดลายพื้นฐาน 
             ขั้นตอนและกระบวนการผลิตผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ
             ปัจจุบันการทอผ้ามีวิวัฒนาการโดยการประยุกต์ลายต่าง ๆ ผสมผสานกันเป็นลายใหม่ ๆ รวมทั้งผ้าแต่งเสื้อสุภาพบุรุษ-สตรี โดยให้สีที่แตกต่างจากของเดิมออกไปตามความนิยมของผู้ซื้อ กรรมวิธีและเทคนิคในการทอผ้าให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เป็นเทคนิคและความสามารถของแต่ละคน หลักใหญ่ของการทอผ้าก็คือ การนำเส้นฝ้ายหรือไหมมาขัดกันให้เป็นลาย โดยขึ้นเส้นกลุ่มหนึ่งเป็นหลัก เรียกว่า เส้นยืนแล้วใช้อีกเส้นหนึ่ง เรียกว่าเส้นพุ่ง สอดตามขวางของเส้นยืน เมื่อสานขัดกันก็จะเป็นลวดลายต่างๆ ผ้าบางชนิด ผู้ทอจะคิดหาวิธีสอดด้วยและสอดสีสลับกัน บางวิธีก็จะจับผูกและมัดเน้นเป็นช่วง ๆ  หรืออาจจะยกด้ายที่ทอเป็นระยะ ๆ ทำให้เกิดลวดลายสวยงามผู้ทอต้องสามารถจดจำลวดลายที่ตนคิดประดิษฐ์ได้ ถึงแม้แต่ละลวดลายจะมีความซับซ้อนและหลากหลาย แต่เขาก็สามารถนำมาประสานกันได้อย่างเหมาะเจาะ งดงามแสดถึงภูมิปัญญาและความสามารถของชาวชนบทเป็นอย่างดี ผ้าทอมือจึงมีเทคนิคการทอและความสวยงามเป็นที่สุด 
             วัตถุประสงค์ของการผลิต
                   1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มอาชีพเกษตรกรร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาอาชีพ
                   2. เพื่อให้เกษตรกรพัฒนาบทบาทความสามารถของตนเองด้วยการทอผ้าและย้อมสีธรรมชาติเพื่อเป็นอาชีพเสริมให้กับเกษตร
                   3. เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มมีความสามัคคี เรียนรู้ร่วมกันและแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี 
                   4. เพื่อให้กลุ่มอาชีพส่งเสริมเกษตรกรเป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้และเป็นแกนนำในการพัฒนาอาชีพของกลุ่มต่อไป
                   5. ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพได้รับรองมาตรฐาน มผช.
              วัตถุดิบและส่วนประกอบ
                   1. ไหมสังเคราะห์อุปกรณ์ในการผลิต
                   2. กี่
                   3. ก้านสวย
                   4. ไนปั่นฝ้าย
                   5. หลอดใส่ฝ้าย
                   6. อักกวักฝ้าย
                   7. ไม้คอนอัก
                   8. หลักเผือ
                   9. หลักหลอด
                   10. ฟืม
             ขั้นตอนการทอผ้าฝ้าย
             การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติของอำเภอไทรงาม ส่วนใหญ่ทอด้วยฝ้ายซึ่งมีขั้นตอนการเตรียมฝ้ายและการทอผ้า ดังนี้
             การเตรียมเส้นฝ้ายที่จะนำไปทอ
                   1. นำฝ้ายที่ได้แยกเป็นเส้นด้าย ภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “ การกวักด้าย ”
                   2. นำเส้นฝ้ายที่กวักแล้ว ไปเตรียมทอ ( ภาษาถิ่นเรียกว่า คันลาย ) แล้วจึงเลือกเอาลายแบบที่ต้องการนำไป “ สืบหูก ” คือ สอดเป็นลายยืนเข้มกับฟืมที่ใช้ทอ
                   3. นำเส้นฝ้ายไปนั่งปั่นใส่ในหลอดที่ทำจากแท่งเล็กๆ ที่ไส้กลางจะกลวง ปั่นให้มีขนาดหลอดไม่ใหญ่จนเกินไป ใส่ในกระสวยได้
             ขั้นตอนการทอ
                   1. นำฝ้ายเส้นไปกางในกี่ที่จะใช้ทอ
                   2. นำเส้นด้ายที่ปั่นไว้ในหลอดมาทอตามลายที่ต้องการ
             กระบวนการย้อมสีธรรมชาติ
             ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการย้อมสีธรรมชาติ
             การย้อมสีธรรมชาติด้วยวัสดุต่างๆ ก็จะได้สีที่ออกมาแตกต่างกันไป ตามภูมิปัญญาของผู้ย้อมผ้าในอดีตซึ่งมีความชาญฉลาดเป็นอย่างยิ่งในการคิดค้นเอาสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและใกล้ตัวมาทำการทดลอง จากการสังเกต ช่างคิดและจดจำ จึงทำให้บรรพชนในรุ่นต่อๆ มาต่างยึดถือเอาวิธีการดังกล่าวมาใช้ อันเป็นผลให้เกิดประโยชน์อย่างมากมายแก่อนุชนรุ่นหลังและต่อๆไป
             สีธรรมชาติที่ใช้ทั้งหมดได้จากพืช จากเปลือกไม้ ใบไม้ และลูกไม้ เช่น เปลือกต้นเพกาให้สีเขียวแก่  ลูกมะเกลือ ใบเหวให้สีเขียวอ่อน ลกกระบก (มะลื่น) ให้สีเทา และครั่งให้สีชมพูอมม่วง วิธีการสกัดน้ำสีจากส่วนต่างๆของพืชแตกต่างกันไป ในกรณีที่เป็นใบน้ำสีมักจะได้มาจากการหมักใบ ถ้าเป็นลูกไม้ เช่น ลูกมะเกลือ น้ำสีจะได้จาการหมักลูกมะเกลือที่ถูกทุบจนแหลกละเอียดแล้ว ส่วนในกรณีของเปลือกไม้หรือรากไม้จะนำมาสับเป็นชิ้นเล็กๆบางๆ แล้วนำมาต้มจึงจะได้น้ำสีที่ต้องการ สีธรรมชาติที่ใช้ที่บ้านหนองปิ้งไก่ส่วนใหญ่ได้จากการเก็บพันธุ์พืชเหล่านี้มาจากบนเขาและในป่า น้ำสีที่สกัดได้จากพืชในแต่ล่ะครั้งก็ยังให้สีที่แตกต่างกันไปบ้าง
             การย้อมสีสิ่งทอที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ
             ด้วยภูมิปัญญาของคนรุ่นปู่ย่าตายายที่ได้ศึกษาทดลองซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกระทั่งได้องค์ความรู้ในการย้อมสีผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติที่ไม่เป็นพิษต่อผู้คน สัตว์และธรรมชาติ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ได้กลายเป็นหนึ่งในเครื่องมือหาเลี้ยงชีพของพี่น้องชาวชนบท  ผู้ซึ่งมีบทบาทและส่วนร่วมโดยตรงในการดำรงไว้ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันงดงาม สียอมผ้าที่ได้จากธรรมชาติเกิดจากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติหลาย ๆ อย่างนับตั้งแต่ต้นไม้ พืช สัตว์ แร่ธาตุต่างๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 

ตารางที่ 1 ส่วนของพืชที่ให้สีไปใช้ประโยชน์

ส่วนต่างๆของพืช วิธีการให้ได้มาซึ่งสี
ดอก นำไปแช่และคั้นเอาน้ำสี
ใบและกิ่งก้าน นำไปหมักและคั้นเอาน้ำสี
ผล – เมล็ด นำไปโขลกและคั้นเอาน้ำสี
เปลือกและแก่น นำไปต้มน้ำจนเดือดจะได้น้ำสี
ราก นำไปแช่และคั้นเอาน้ำสี

ตารางที่ 2 ตัวอย่างสีจากธรรมชาติที่ได้จากพืช

ตัวอย่างสีจากธรรมชาติที่ได้จากพืช.jpg

ตารางที่ 3 ตัวอย่างสีธรรมชาติที่ได้จากสัตว์

ชนิดของวัสดุ ส่วนที่ใช้ สีที่ได้
ครั่ง ตัวครั่ง ม่วงแดง

ตารางที่ 4 ตัวอย่างสีธรรมชาติที่ได้จากแร่ธาตุ

ชนิดของวัสดุ ส่วนที่ใช้ สีที่ได้
ดินแดง ดินแดง แดงอิฐ
โคลน โคลน เทาอ่อน
             ขั้นตอนการดำเนินการย้อมสีธรรมชาติ 
             การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ เป็นการย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ ผสมกับวัสดุอื่นๆ ที่ทำให้เกิดเป็นสีต่าง ๆ ในแต่ละแห่งจะมีวิธีการ ขั้นตอน และเทคนิควิธีย้อม ที่แตกต่างกันไป ช่างทอผ้าแต่ละคนมีวิธีการย้อมผ้าของตนเอง ซึ่งจะเก็บไว้เป็นความลับ และถ่ายทอดให้แก่ลูกสาว ปัจจุบัน ความลับเหล่านี้ได้สูญหายไปเป็นส่วนมาก คงเหลืออยู่แต่ในการทำสีเพียงบางสีเท่านั้น
             การย้อมสีธรรมชาติ ของกลุ่มทอผ้าในเขตอำเภอไทรงาม จะมีวิธีการที่คล้ายกัน แต่จะแตกต่างกันบ้างในด้านเทคนิค และอัตราส่วน ซึ่งจะแตกต่างกันตามความรู้และประสบการณ์ของแต่ละคนโดยทั่วไปแล้วจะมีขั้นตอน ส่วนประกอบ และวิธีการ ดังนี้
             ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมวัตถุดิบ
                   1. นำเส้นฝ้ายดิบมาแช่น้ำทิ้งไว้หนึ่งคืน จากนั้นนำมาซักให้สะอาดเพื่อเอาแป้งออก เส้นฝ้ายจะนุ่มพร้อมอุ้มสี นำมาต้มเพื่อช่วยละลายไขมัน
                   2. นำวัตถุดิบธรรมชาติจากพืชให้สีที่เราต้องการย้อม โดยนำส่วนของใบที่แก่จัดหรืออ่อนในพืชบางชนิด เช่น ใบสัก เปลือกไม้ นำมาสับให้เป็นชิ้นเล็กๆ โดยใช้อัตราส่วน ใบไม้ 2 กิโลกรัม ต่อ ฝ้าย 1 กิโลกรัม
             ขั้นตอนที่ 2 ต้มใบไม้ที่สับแล้วประมาณ 1 ชั่วโมง อย่าให้น้ำเดือดเกินไป จากนั้นกรองเอาเศษใบไม้ออกให้เหลือเฉพาะน้ำสี
             ขั้นตอนที่ 3 นำเส้นฝ้ายที่ผ่านการซักทำความสะอาดและต้มซักแล้ว ใส่ลงไปในหม้อต้ม กดเส้นใยฝ้ายให้จมมิดน้ำ
             ขั้นตอนที่ 4 หลังการต้มครบ 3 ชั่วโมงแล้ว น้ำเส้นฝ้ายขึ้นจากหม้อ ล้างเส้นฝ้ายให้สะอาด
             ขั้นตอนที่ 5 นำเส้นฝ้ายลงไปในอ่างกระตุ้นสี เช่น สนิม น้ำปูใส น้ำโคลน น้ำสารส้ม น้ำขี้เถ้า จุนสีดินลูกรัง เป็นต้น เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ขยำ หมัก บีบเส้นฝ้ายให้ดูดซึมทั่วผืน ถ้าต้องการนำไปกระตุ้นสีอ่างอื่นๆ อีกต้องการซักน้ำให้สะอาดเสียก่อนแล้วจึงหมักลงในในสารกระตุ้นสีตัวใหม่
             ขั้นตอนที่ 6 นำมาซักล้างให้สะอาด สีส่วนเกินจะหลุดหมด จากนั้นนำไปผึ่งให้แห้ง ควรผึ่งในร่ม ไม่ให้ถูกแดด
             ข้อสังเกต การย้อมฝ้ายเพื่อป้องกันไม่ให้สีตกจะเติมน้ำด่างร่วมด้วย ใบยูคาลิปตัส ใบมะขาม น้ำขี้เถ้าไฟ
             เทคนิคและวิธีการย้อมสีธรรมชาติด้วยวัสดุต่าง ๆ 
             การย้อมสีเขียวจากเปลือกต้นเพกา เอาเปลือกเพกามาหั่น หรือสับให้เป็นชิ้นเล็กๆ นำไปต้ม 20 นาที ช้อนเอาเปลือกออก ต้มเถาถั่วแปบเอาแต่น้ำใสเติมลงไปใส่น้ำมะเกลือกเล็กน้อย ใส่ปูนขาวและใบส้มป่อยผสมลงไป ทิ้งไว้สักพัก แล้วกรองให้เหลือแต่น้ำสีพร้อมที่จะย้อม นำเอาน้ำย้อมตั้งไฟพออุ่น นำด้ายฝ้ายซึ่งซุบน้ำบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ต้มต่อไปนาน 20 นาที จนได้สีที่ต้องการ ยกด้ายฝ้ายออก ซักน้ำสะอาดใส่ราวกระตุกตากจนแห้ง จะได้สีเขียวตามที่ต้องการ

การย้อมสีเขียวจากเปลือกสมอ เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งพอสมควร รินเอาแต่น้ำใส่หม้อดิน เอาด้ายฝ้ายที่ผ่านการย้อมครามมาครั้งหนึ่งแล้ว ลงไปย้อมในน้ำสีที่ยังร้อนอยู่ ต้มต่อไปประมาณ 1 ชั่วโมง หมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีดูดซึมอย่างสม่ำเสมอ พอได้สีที่ต้องการยกด้ายฝ้ายขึ้นกระตุน ตากให้แห้งจะได้สีเขียวตามที่ต้องการ การย้อมสีกากีแกมเขียวจากเปลือกเพกากับแก่นขนุน เอาเปลือกเพกาสดๆ มาล้างน้ำ ผึ่งแดดสัก 2-3 แดด พักทิ้งไว้ เอาแก่นขนุนหั่นหรือใสให้เป็นชิ้นบางๆ แบ่งเอามา 1 ส่วน ผสมกับเปลือกเพกา 3 ส่วน ต้มเคี่ยวให้น้ำเดือดแล้วกรองเอาแต่น้ำ เวลาย้อมเติมน้ำสารส้มเล็กน้อยเพื่อให้สีติดดีและทนทาน การย้อมเอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบน้ำแล้วบิดพอหมาดลงในอ่างย้อมหมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีติดสม่ำเสมอ ไม่ด่าง จึงยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้ำให้สะอาดบิดกระตุก แล้วนำไปตาก

	การย้อมสีน้ำตาลแก่จากเปลือกไม้โกงกาง นำเอาเปลือกไม้โกงกางที่แห้งพอหมาด มาล้างน้ำให้สะอาด แช่น้ำไว้  1 คืน แล้วต้มเคี่ยวไว้ 2 วันกรองเอาแต่น้ำย้อมใส่สารเคมีไฮโดรเจนซัลไฟต์ ผสมลงในน้ำย้อมเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดีขึ้น เอาด้ายฝ้ายที่ชุบน้ำพอหมาดจุ่มลงในน้ำย้อม ตั้งไฟต้มนาน 30 นาที ยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้ำ บิดให้แห้ง กระตุกด้ายฝ้ายให้กระจาย ตากแดด

การย้อมสีเปลือกไม้โกงกาง แช่เปลือกไม้โกงกางในปริมาณพอสมควรไว้นาน 3 วัน แล้วตั้งไฟต้มให้เดือด จนเห็นว่าสีออกหมดดีแล้ว จึงเทน้ำใส่ลงใสอ่างย้อม หมักแช่ไว้ 1 คืน นำเอาเปลือกไม้ผึ่งแดดจนแห้งเก็บไว้ใช้ต่อไป สีเปลือกไม้นี้ถ้าถูกต้มจะกลายเป็นสีดำได้ แต่ทนน้ำเค็ม การย้อมสีด้วยรากยอ เอารากยอแห้งที่มีอายุสักหน่อย เพื่อจะให้ได้สีเข้มมาสับหรือหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ นำไปต้มน้ำที่เดือด น้ำสีจะเป็นสีแดงจึงยกลง กรองเอาแต่น้ำสี นำเอาด้ายฝ้ายซึ่งเตรียมจะย้อมชุบน้ำให้เปลือกพอหมาดลงแช่ในน้ำสีประมาณ 30 นาที หรือกว่านั้น หมั่นยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมาเพื่อให้สีติดด้ายฝ้ายอย่างทั่วถึง แล้วนำด้ายฝ้ายที่ย้อมขึ้นจากหม้อบิดพอหมาด นำไปล้างน้ำสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง จะได้ด้ายฝ้ายที่ย้อมเป็นสีแดงที่ต้องการ การย้อมสีด้วยเมล็ดคำแสด วิธีเตรียมสีจากเมล็ดคำแสด แกะเมล็ดออกจากผลที่แก่จัด แช่น้ำร้อนหมักทิ้งไว้หลายๆ วัน จนสารสีตกตะกอน แยกเมล็ดออก นำน้ำสีที่ได้ไปเคี่ยวจนงวดเกือบแห้งแล้วนำไปตากแดด จนแห้งเป็นผงเก็บไว้ใช้ วิธีย้อมสีผ้าฝ้าย ละลายสีเช่นเดียวกับการย้อมสีผ้าฝ้าย แต่นำผ้าไหมที่ต้องการย้อมแช่ไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง และเติมสบู่ลงเล็กน้อยลงไปในสีที่ใช้ย้อม ถ้าต้องการให้ผ้ามีสีเหลืองเพิ่มขึ้นให้เติมกรด Tataric ลงไปเล็กน้อยผ้าที่ย้อมด้วยสีจากเมล็ดคำแสดที่จะไม่ตกง่ายเมื่อถูกับสบู่ หรือกรดอ่อนๆ


การย้อมสีดำจากลูกมะเกลือ นำเอาลูกมะเกลือ มาตำละเอียด แล้วแช่ในน้ำ ในน้ำที่แช่นี้เอารากลำเจียก หรือต้นเบง ตำปนกับลูกมะเกลือ แล้วเอาได้ฝ้ายที่ลงน้ำแล้วบิดพอหมาดลงย้อมในน้ำย้อม สัก 3-4 ครั้ง การย้อมทุกครั้งต้องตากแดดให้แห้งจนเห็นว่าดำสนิทดี ถ้าต้องการให้ผ้าเป็นเงาใช้งาดำตำละเอียด นำด้ายฝ้ายมาคลุกเคล้าให้ทั่ว ผึ่งไว้สักพัก กระตุกตาก การย้อมอีกอย่างหนึ่ง คือ เอาลูกมะเกลือที่แช่น้ำทิ้งไว้นั้นในปริมาณที่ต้องการมาตำให้ละเอียดพร้อมกับใบหญ้าฮ่อมเกี่ยวแล้วเอาไปแช่น้ำด่าง ( ได้จากต้นมะขามเผาไฟให้เป็นขี้เถ้า แล้วละลายน้ำกรองเอาน้ำใสๆ จะได้น้ำย้อมที่ต้องการ ) นำเอาด้ายฝ้ายที่ลงน้ำบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ใช้มือช่วยบีบด้วยฝ้ายเพื่อให้สีดูดซึมอย่างทั่วถึง ปล่อยทิ้งสักพักแล้วยกขึ้นจากอ่างน้ำย้อม ซักให้สะอาดกระตุกตากให้แห้ง

         การย้อมสีแดงจากดอกคำฝอย นำดอกคำฝอยมาตำให้ละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบางผสมน้ำด่างเพื่อให้เกิดสี (น้ำด่างได้จากการนำต้นผักขมหนามที่แก่จนเป็นสีแดงหรือน้ำตาลมาตากให้แห้งสนิทแล้วนำไปเผาไฟให้เป็นขี้เถา ผสมกับน้ำทิ้งให้ตกตะกอน รินเอาแต่น้ำใสๆ มาผสมกับสี) ส่วนวิธีย้อมทำโดยนำดอกคำฝอยมาต้มให้น้ำออกมาๆจนเหนียว เก็บน้ำสีไว้ จากนั้นเอาแก่นไม้ฝางมาไสด้วยกบบางๆแล้วต้มให้เดือดประมาณ 6 ชั่วโมง ช้อนกากทิ้ง เวลาจะย้อมผ้า นำเอาน้ำย้อมที่ต้มแล้วทั้งสองอย่างมาเทรวมเข้าด้วยกัน แล้วเติมสารส้มลงไปเล็กน้อย คนให้เข้ากันดีนำฝ้ายที่ชุบน้ำและตีเส้นให้กระจายลงย้อมในอ่างย้อม

การย้อมสีเขียวจากใบหูกวาง เอาใบหูกวางมาตำคั้นเอาแต่น้ำสีกรองให้สะอาดต้มให้เดือดเอาฝ้ายที่เตรียมไว้ ลงย้อมจะได้เป็นสีเขียวอ่อน หมั่นยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมา เพื่อไม่ให้ด้ายฝ้ายด่าง และสีย้อมจะได้ติดทั่วถึง พอได้ความเข็มของสีติดด้ายฝ้ายตามต้องการจึงยกขึ้นบิดพอหมาด ซักน้ำสะอาดผึ่งให้แห้ง การย้อมสีชมพูจากต้นมหากาฬและต้นฝาง เอาเปลือกของต้นมหากาฬมาสับให้ละเอียดต้มในน้ำเดือดประมาณ 1 ชั่วโมง แล้วช้อนเอาเปลือกออก เติมไม้ฝางซึ่งฝางซึ่งผ่าเป็นชิ้นเล็กๆ ลงไปต้มน้ำเดือดนาน 1 ชั่วโมง เติมใบส้มป่อยลงไปอีก 1 กำ ต้มต่อไปอีกเล็กน้อย ช้อนเอากากออกมาเติมน้ำด่างลงไป จะได้น้ำย้อมสีชมพูจึงเอาด้ายฝ้ายที่ชุบน้ำบิดพอหมาด จุ่มลงไปในอ่างย้อม ตั้งไฟต้มนาน 30 นาที ยกขึ้นจากอ่างย้อมนำไปซักน้ำบิดให้แห้งกระตุกให้เส้นด้ายกระจายตากแดด การย้อมสีจากคราม ตัดต้นครามมาม้วนและมัดเป็นฟ่อนๆ นำไปแช่น้ำไว้ในภาชนะที่เตรียมไว้ประมาณ 2-3 วัน จนใบคราเปื่อย จึงแก้มัดครามออกเพื่อให้ใบครามหลุดออกจากลำต้น นำลำต้นทิ้งไปเอาปูนในอัตราส่วนที่เหมาะสมกับน้ำที่แช่ครามผสมลงแทนต้นคราม จากนั้นนำเอาขี้เถ้าซึ่งได้จากเหง้ากล้วยเผาจนดำ ผสมลงไป ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 คืน จนกว่าน้ำที่กวนใส รินน้ำที่ใสออกทิ้ง จะได้น้ำสีครามตามที่ต้องการ อาจใช้ผ้าขาวบางกรองเพื่อจะได้น้ำสีครามที่ละเอียด นำด้ายไปขยำในหม้อครามพยายามอย่าให้ด้ายพันกัน ให้น้ำสีกินเข้าไปในเนื้อด้ายฝ้ายอย่างั่วถึง จนกระทั่งได้สีเข้มตามต้องการ จึงยกได้ฝ้ายขึ้นจากหม้อ บิดให้หมาดล้างน้ำสะอาด น้ำไปขึ้นราวตากให้แห้ง การย้อมสีเหลืองจากแก่นขนุน นำแก่นขนุนที่แห้งแล้วมาหั่นหรือไสด้วยกบเบาๆ มือขยำให้ป่นละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบาง แล้วต้มประมาณ 4 ชั่วโมง ดูว่าสีนั้นออกตามความต้องการหรือยังเมื่อใช้ได้ช้อนเอากากทิ้งกรองเอาน้ำใสเติมน้ำสารส้มเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดี เอาด้วยฝ้ายซึ่งชุบน้ำพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม กลับด้ายฝ้ายไปมานาน 1 ชั่วโมง เอาขึ้นจากอ่างย้อม ซักน้ำสะอาดกระตุกตาก



บทสรุป การดำเนินการเก็บข้อมูลผ้าทอย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร พบว่า มีการรวมกลุ่มกันภายในหมู่บ้านเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มาจากภาคอีสาน มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับผ้าทอเป็นอย่างดี อีกทั้งได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งเสริมให้เกิดอาชีพ และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ครอบครัวของบ้านหนองจอกพัฒนา และได้รับการพัฒนาให้เกิดการย้อมสีธรรมชาติ จากวัสดุ พืช แร่ธาตุ ที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของผ้าทอจึงเกิดเป็นผ้าทอย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองจอกพัฒนา ที่ได้รับการยอมรับจากสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และได้ผ่านเกณฑ์การคัดสรรผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น 5 ดาว ส่งเสริมให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนเป็นอย่างดี และจากการสำรวจข้อมูลศิลปวัฒนธรรม ด้านการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ จะเป็นข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้กับกลุ่มอาชีพต่าง ๆ สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ได้ศึกษาหาความรู้ อีกทั้งยังเป็นคู่มือเกี่ยวกับการย้อมสีธรรมชาติเพื่อประกอบการดำเนินงานสำหรับผู้สนใจทั่วไปเป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถอีกทางหนึ่ง

ข้อมูลการสำรวจ 1. แหล่งอ้างอิง

วิรส สอนนอก. (2560, กันยายน 2). หัวหน้ากลุ่มผ้าทอ บ้านหนองจอกพัฒนา อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร. สัมภาษณ์. สันติ อภัยราช. (2558). วัฒนธรรมการทอผ้ากำแพงเพชร. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://sunti-apairach.com/04N/04NK.htm. [2561, มีนาคม 5]. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกำแพงเพชร, (2559). ผลิตภัณฑ์เอกลักษณ์จังหวัดกำแพงเพชร. จังหวัด กำแพงเพชร. อมรา จิวาลักษณ์. (2546). ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติกับชีวิตชุมชนบ้านพงษ์ ตำบลบริบูรณ์ อำเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์, ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

2. วันเดือนปีที่สำรวจ ระหว่าวันที่ 1 กันยายน 2560 - 30 กุมภาพันธ์ 2561

3. วันปรับปรุงข้อมูล ยังไม่มีการปรับปรุงข้อมูล

4. ผู้สำรวจข้อมูล นางสาวธฤษวรรณ ธรรมสอน ผศ.เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธ์หรรษา

5. คำสำคัญ ผลิตภัณฑ์ชุมชน , ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ