ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง อุทยานแห่งชาติคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร"
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (→แหล่งอ้างอิง) |
||
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 4: | แถว 4: | ||
==='''ที่ตั้ง/ที่ค้นพบ'''=== | ==='''ที่ตั้ง/ที่ค้นพบ'''=== | ||
อุทยานแห่งชาติคลองลาน ตั้งอยู่ท้องที่อำเภอคลองลาน อำเภอเมืองกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชร ครอบคลุมพื้นที่ป่าคลองลานอันสมบูรณ์แหล่งสุดท้ายของจังหวัดกำแพงเพชร ประกอบด้วย ภูเขาชันสลับซับซ้อน เป็นป่าต้นน้ำลำธาร ต้นกำเนิดของน้ำหลายสาย เช่น คลองขลุง คลองสวนหมาก ซึ่งไหลรวมกันลงสู่แม่น้ำปิงและเป็นต้นน้ำคลองลานไหลลงสู่คลองขลุง เนื้อที่ประมาณ 187,500 ไร่ หรือ 300 ตารางกิโลเมตร | อุทยานแห่งชาติคลองลาน ตั้งอยู่ท้องที่อำเภอคลองลาน อำเภอเมืองกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชร ครอบคลุมพื้นที่ป่าคลองลานอันสมบูรณ์แหล่งสุดท้ายของจังหวัดกำแพงเพชร ประกอบด้วย ภูเขาชันสลับซับซ้อน เป็นป่าต้นน้ำลำธาร ต้นกำเนิดของน้ำหลายสาย เช่น คลองขลุง คลองสวนหมาก ซึ่งไหลรวมกันลงสู่แม่น้ำปิงและเป็นต้นน้ำคลองลานไหลลงสู่คลองขลุง เนื้อที่ประมาณ 187,500 ไร่ หรือ 300 ตารางกิโลเมตร | ||
− | [[ไฟล์:ภาพที่ 1 ป้ายด้านหน้า.jpg| | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 1 ป้ายด้านหน้า.jpg|400px|thumb|center]] |
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 ป้ายด้านหน้าทางเข้าอุทยาน''' </p> | <p align = "center"> '''ภาพที่ 1 ป้ายด้านหน้าทางเข้าอุทยาน''' </p> | ||
− | + | ==='''ที่ตั้งพิกัดทางภูมิศาสตร์'''=== | |
− | + | ตั้งอยู่ท้องที่ ตำบลโป่งน้ำร้อน ตำบลคลองน้ำไหล ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 16 องศา 2 ลิปดา –16 องศา 20 ลิปดาเหนือ และอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 99 องศา 6 ลิปดา – 99 องศา 19 ลิปดาตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ หรือ 300 ตารางกิโลเมตร | |
− | + | [[ไฟล์:2 แสดงแผนที่ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 2 แสดงแผนที่ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน''' </p> | |
− | + | ==='''สภาพธรณีวิทยา'''=== | |
− | + | อุทยานแห่งชาติคลองลานมีลักษณะเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน ด้านทิศตะวันออกเป็นที่ราบ ดินร่วนปนทราย ภูเขาแต่ละลูกเชื่อมโยงติดต่อกับขุนคลองลานซึ่งเป็นจุดสูงสุดในบริเวณนี้ สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,439 เมตร สภาพป่าสมบูรณ์ เป็นป่าต้นน้ำลำธาร ต้นกำเนิดของแม่น้ำหลายสาย เช่น คลองขลุง คลองสวนหมาก ไหลรวมกันลงสู่แม่น้ำปิง | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 2 บริเวณพื้นที่โดยรอบ.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 3 บริเวณพื้นที่โดยรอบของอุทยาน''' </p> | |
− | + | '''ลักษณะทางภูมิอากาศ''' | |
− | + | อุทยานแห่งชาติคลองลานในฤดูร้อนค่อนข้างร้อน ในฤดูหนาวค่อนข้างหนาวอากาศเย็นสบาย ในฤดูฝนมีฝนตกชุก อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน 38 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคม 17 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ย 1,300 มิลลิลิตรต่อปี (สำนักอุทยานแห่งชาติ, ม.ป.ป.) | |
− | + | ==='''สถานะการขึ้นทะเบียน'''=== | |
− | + | ได้รับการจัดตั้งและจดทะเบียนให้เป็นอุทยานแห่งชาติอย่างเป็นทางการในวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2525 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 191 เป็นอุทยานลับที่ 44 ของประเทศ | |
− | ภาพที่ 2 แสดงแผนที่ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน | + | ==='''หน่วยงานที่ดูแลรักษา'''=== |
− | + | สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 (นครสวรรค์) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช | |
− | + | หน่วยจัดการต้นน้ำขุนลาน | |
− | + | หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.1 (แม่พืช) | |
− | อุทยานแห่งชาติคลองลานมีลักษณะเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน ด้านทิศตะวันออกเป็นที่ราบ | + | หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.2 (คลองน้ำไหล) |
− | + | หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.3 (เพชรจะขอ) | |
− | + | หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.4 (คลองสวนหมาก) | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 3 กรมอุทยานแห่งชาติ.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 4 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช''' </p> | |
− | + | =='''ข้อมูลเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ'''== | |
− | + | ==='''ประวัติความเป็นมา'''=== | |
− | + | สืบเนื่องจากนายเทพ ไสยานนท์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีหนังสือ ที่ กส 0215/230 ลงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2521 ถึงปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานผลการไปตรวจราชการที่จังหวัดกำแพงเพชร เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ.2521 ว่า น้ำตกคลองลาน กิ่งอำเภอคลองลาน เป็นบริเวณป่าต้นน้ำลำธารและเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ แต่ขาดการดูแลรักษา และมีการลักลอบตัดไม้ไปใช้สอย หากปล่อยทิ้งไว้บริเวณป่าต้นน้ำลำธารก็จะถูกทำลายลงไป ทั้งนี้พื้นที่ดังกล่าวอยู่ในเขตของศูนย์พัฒนาสงเคราะห์ชาวเขา กรมป่าไม้จึงมีหนังสือ ที่ กส 0808/1114 ลงวันที่ 14 เมษายน พ.ศ.2521 แจ้งให้ป่าไม้เขตนครสวรรค์ตรวจสอบ ซึ่งได้รับรายงานตามหนังสือ ที่ กส 0809 (นว)/1596 ลงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.2521 ว่าได้ทำการสำรวจสภาพพื้นที่บริเวณน้ำตกคลองลานไว้แล้ว เพื่อจะขออนุมัติกรมป่าไม้จัดตั้งเป็นวนอุทยาน เพราะเห็นว่ามีทิวทัศน์สวยงามเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ซึ่งน้ำตกคลองลานอยู่ในพื้นที่สงวนไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ 40 เปอร์เซ็นต์ ของเขตพื้นที่ศูนย์พัฒนาสงเคราะห์ชาวเขากำแพงเพชร กรมประชาสงเคราะห์ ป่าไม้เขตนครสวรรค์จึงได้ประสานงานกับจังหวัดกำแพงเพชรและกรมประชาสงเคราะห์ ขอใช้พื้นที่บริเวณน้ำตกคลองลาน จำนวน 5,000 ไร่ ที่อยู่ในพื้นที่สงวนไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ 40 เปอร์เซ็นต์ เพื่อจัดเป็นวนอุทยาน ซึ่งกรมประชาสงเคราะห์ไม่ขัดข้อง จังหวัดกำแพงเพชรจึงมีหนังสือ ที่ มท 0714/13/13438 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2521 แจ้งให้กรมป่าไม้ดำเนินการจัดตั้งวนอุทยานเพื่อสงวนป่าต้นน้ำลำธารแห่งนี้ | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 4 บริเวณที่ทำการอุทยาน.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | ภาพที่ 3 บริเวณพื้นที่โดยรอบของอุทยาน | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 5 บริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติคลองลาน''' </p> |
− | + | ต่อมากรมอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 192/2523 ลงวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.2523 ให้ นายปรีชา จันทร์ศิริตานนท์ นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปทำการสำรวจและจัดพื้นที่บริเวณป่าคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอุทยานแห่งชาติ ปรากฏว่า พื้นที่ดังกล่าวมีสภาพป่าทั้งไม้สักและไม้กระยาเลยสมบูรณ์มาก เป็นภูเขาสูงมีธรรมชาติสวยงาม เป็นป่าต้นน้ำลำธารเหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติมีมติในการประชุมครั้งที่ 1/2525 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2525 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดพื้นที่ป่าคลองลานเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าคลองลานในท้องที่ตำบลโป่งน้ำร้อน ตำบลคลองลาน และตำบลคลองลานพัฒนา กิ่งอำเภอคลองลาน อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศในราชกิจจาอุเบกขา เล่ม 99 ตอนที่ 191 ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2525 เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 44 ของประเทศ | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 5 บริเวณด้านหน้าและด้านล่างของน้ำตก.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 6 บริเวณด้านหน้าและด้านล่างของน้ำตก''' </p> | |
− | + | ==='''ทรัพยากรแวดล้อม'''=== | |
− | + | ป่าคลองลานยังมีสภาพสมบูรณ์เป็นแหล่งสุดท้ายในด้านทิศใต้ของภาคเหนือ ประกอบด้วยชนิดป่าต่าง ๆ คือ "ป่าดงดิบแล้ง" ซึ่งพบกระจายอยู่ทั่วไปที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลประมาณ 500 เมตรขึ้นไป เช่น ขุนคลองลาน ขุนคลองสวนมาก ขุนคลองขลุง ขุนน้ำเย็น ชนิดไม้ที่สำคัญได้แก่ ตะเคียนทอง ตะเคียนหิน สมพง ยมหอม พะยอม สมอพิเภก ฯลฯ สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ในป่าประเภทนี้ได้แก่ ชะนีมือขาว ช้างป่า หนูหริ่งไม้หางพู่ ปาดลายพื้นเมืองเหนือ กบห้วยขาปุ่ม เต่าปูลู กิ้งก่าบิน ฯลฯ "ป่าดิบชื้น" จะพบอยู่ตามริมห้วยที่มีความชื้นสูง "ป่าดิบเขา" จะพบเป็นหย่อม ๆ "ป่าเบญจพรรณ" สภาพป่าส่วนใหญ่จะเป็นป่าเบญจพรรณผสมป่าดงดิบ ชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ สัก ประดู่ ตะแบก มะค่าโมง และไผ่ชนิดต่างๆ | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 6 ตัวอย่างพันธุ์ไม้ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน.jpg|600px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 7 ตัวอย่างพันธุ์ไม้ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน''' </p> | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 7 เสือและลิง ที่พบบริเวณอุทยานแห่งชาติคลองลาน.jpg|600px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 8 เสือและลิง ที่พบบริเวณอุทยานแห่งชาติคลองลาน''' </p> | |
− | + | สัตว์ป่าที่พบในถิ่นที่อยู่อาศัยประเภทนี้ ได้แก่ กระทิง วัวแดง กวางป่า เก้ง ตะกวด ฯลฯ และ "ป่าเต็งรัง" พบในระดับความสูงประมาณ 400-600 เมตรจากระดับน้ำทะเล ชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เต็งรัง ยอป่า สมอพิเภก รกฟ้า และสมพง ฯลฯ สัตว์ป่าที่พบในป่าประเภทนี้ได้แก่ เขียดหลังปุ่มที่ราบ เขียดอ่อง อึ่งปากขวด เก้ง เป็นต้น ในบริเวณทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอุทยานแห่งชาติคลองลาน ซึ่งเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวเขาเผ่าต่างๆ แต่ปัจจุบันทางราชการได้อพยพชาวเขาเหล่านี้มาอยู่พื้นที่ราบที่ทางราชการจัดสรรให้สภาพพื้นที่จึงถูกปล่อยให้รกร้างและกลายสภาพเป็นป่ารุ่นสอง ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าขนาดเล็ก จำพวกกระแตธรรมดา ค้างคาวขอบหูขาว กระรอก หนูฟันขาว และหนูขนเสี้ยน ส่วนในบริเวณที่เป็นถ้ำ หนึบหิน และหน้าผา เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าเฉพาะชนิด เช่น เลียงผา ค้างคาวปีกถุงเคราแดง ค้างคาวมงกุฎเล็ก ค้างคาวแวมไพร์แปลงใหญ่ และค้างคาวหน้ายักษ์ทศกัณฑ์ เป็นต้น พื้นที่บริเวณริมลำห้วย และลำคลองที่กระจายอยู่ทั่วพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เป็นแหล่งที่หลบซ่อนหรือถิ่นอาศัยหากินของสัตว์หลายประเภท ได้แก่ กบ อึ่งกรายลายเลอะ ตะพาบธรรมดา ปลาสลา ปลาเวียน และปลาติดดิน เป็นต้น | |
− | + | ==='''สถานที่ท่องเที่ยวภายในอุทยานแห่งชาติคลองลาน'''=== | |
− | + | '''1. น้ำตกคลองลาน''' เกิดจากเทือกเขาขุนคลองลานซึ่งมียอดสูง 1,439 เมตรจากระดับน้ำทะเล เหนือหน้าผาน้ำตกเป็นที่ราบกว้างในฤดูฝนสายน้ำจะไหลจากลำห้วยต่างๆ ประมาณ 5 สาย ลงสู่แอ่งน้ำกลางหุบเขาเกิดเป็นวังน้ำลึกและลำน้ำยาวประมาณ 3 กิโลเมตรแล้วไหลผ่านหน้าผาลงมาเป็นน้ำตกคลองลาน สูง 100 เมตร กว้างประมาณ 40 เมตรบริเวณใต้น้ำตกเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถลงเล่นน้ำได้อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติ 800 เมตร | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 8 บริเวณหน้าผา.jpg|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 9 บริเวณหน้าผาของน้ำตกคลองลาน''' </p> | |
− | + | '''2. น้ำตกคลองน้ำไหล (น้ำตกปางควาย)''' อยู่ห่างจากที่ทำการประมาณ 25 กิโลเมตร จากเส้นทางสายอุ้มผาง-คลองงาน ก่อนถึงอำเภอคลองลาน เรียกว่า “ถนนปางควาย” ระยะทาง 10.5 กิโลเมตร ถึงน้ำตกคลองน้ำไหล ซึ่งเป็นน้ำตกขนาดกลาง สายน้ำไหลลดหลั่นกันลงมา มีทั้งหมด 9 ชั้น แต่ละชั้นมีแอ่งน้ำและความสูงต่างกัน ลานหินที่นี่กว้างมากเป็นสีนิลวาววับเมื่อตัดกับสายน้ำ ลำธารสวยด้วยโขดหิน ในชั้นที่ 3 น้ำตกจะแยกเป็น 2 สาย ดูสวยงามทางฝั่งขวาไหลลงสู่แอ่งน้ำกว้างประมาณ 3 เมตร เหมาะสำหรับการเล่นน้ำตก | |
− | + | [[ไฟล์:10 บริเวณหน้าผาของน้ำตกคลองน้ำไหล.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 10 บริเวณหน้าผาของน้ำตกคลองน้ำไหล''' </p> | |
− | ภาพที่ 4 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช | + | [[ไฟล์:11 ภาพถ่ายบริเวณน้ำตกคลองน้ำไหล.jpg|400px|thumb|center]] |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 11 ภาพถ่ายบริเวณน้ำตกคลองน้ำไหล'' </p> | |
− | + | '''3. คลองสวนหมาก''' ลำน้ำคลองสวนหมาก เกิดจากน้ำซับจากป่าอุทยานแห่งชาติคลองลานและป่าอุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า ไหลลงมารวมกันเกิดลำน้ำคลองสวนหมาก เป็นสถานที่ที่โรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดกำแพงเพชรนิยมมาออกค่ายลูกเสือ | |
− | + | [[ไฟล์:12 ภาพถ่ายป้ายคลองสวนหมาก.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 12 ภาพถ่ายป้ายคลองสวนหมาก'' </p> | |
− | สืบเนื่องจากนายเทพ ไสยานนท์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีหนังสือ ที่ กส 0215/230 ลงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2521 ถึงปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานผลการไปตรวจราชการที่จังหวัดกำแพงเพชร เมื่อวันที่ 13 มกราคม | + | [[ไฟล์:13 ภาพถ่ายบริเวณคลองสวนหมาก.jpg|400px|thumb|center]] |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 13 ภาพถ่ายบริเวณคลองสวนหมาก'' </p> | |
− | + | '''4. น้ำตกเพชรจะขอ''' เป็นน้ำตกขนาดกลางที่นับว่าสวยงามอีกแห่งหนึ่ง ไหลลดหลั่นกันลงมาเป็นชั้น ๆ ทั้งหมดสี่ชั้น แต่ละชั้นมีความสูงมากกว่า 30 เมตร โดยเฉพาะชั้นที่สี่ที่สามารถมองเห็นได้จากถนนด้านนอกเขตอุทยานมีความสูงมากกว่า 70 เมตร แต่น้ำตกที่สวยงามไม่ได้อวดความสวยงามได้ตลอดทั้งปี เนื่องจากฤดูแล้งน้ำจะน้อย การเดินทางจากสามแยกที่เลี้ยวซ้ายไปคลองน้ำไหล ให้ตรงไปตามทางประมาณ 10 กิโลเมตร จะถึงหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.4 (คลองเพชรนิยม) จากนั้นเดินเท้าเข้าไปอีก 1.5 กิโลเมตร | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 11 ป้ายด้านหน้าทางเข้าน้ำตกเพชรจะขอ.jpg|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 14 ป้ายด้านหน้าทางเข้าน้ำตกเพชรจะขอ''' </p> | |
− | + | '''5. แก่งเกาะร้อย''' อยู่ในเส้นทางอุ้มผาง-คลองลาน เข้าทางถนนบ้านโป่งน้ำร้อนเข้าไปประมาณ 15 กิโลเมตร แก่งเกาะร้อยเกิดจากคลองสวนหมาก ในอดีตมีลักษณะเป็นลำธารสลับด้วยแก่งหิน และหาดทรายขาวสะอาด อยู่ท่ามกลางทิวทัศน์แห่งขุนเขาสลับซับซ้อน ประกอบด้วยแก่งหินตะปุ่มตะป่ำนับร้อยพันก้อนเรียงรายเป็นลานกว้าง ช่วงกลางมีลำธารน้ำใสไหลผ่านเกาะแก่งหินสีเทาหม่นดูสวยงามยิ่ง แต่ปัจจุบันหลังจากได้มีการสร้างฝายคลองสวนหมากทำให้สภาพแก่งเกาะร้อยได้เปลี่ยนไปไม่เหลือลักษณะแก่งอีกต่อไป | |
− | + | '''6. จุดชมวิวเขาหัวช้าง''' เป็นจุดชมทิวทัศน์ ที่อยู่ไม่ไกลจากที่ทำการมากนัก มีความสูงประมาณ 500-600 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ใช้เวลาเดินเท้าขึ้นไปประมาณ 1 ชั่วโมง สามารถมองเห็นน้ำตกคลองลาน ชมพระอาทิตย์ตกยามเย็น และพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้า เพื่อความเหมาะสม ควรค้างแรมบนสันเขาหัวช้างใน ช่วงปลายฝนต้นหนาว ระหว่างเดือนกันยายน-กุมภาพันธ์ | |
− | + | '''7. ทางเดินศึกษาธรรมชาติกิ่วงวงช้าง''' เส้นทางนี้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเดินป่าเขาหัวช้าง ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ช่วง โดยช่วงแรกเป็นเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่จะนำท่านไปสู่จุดชมทิวทัศน์กิ่วงวงช้าง มีระยะทางประมาณ 735 เมตร ใช้เวลาประมาณ 45 นาที ตลอดเส้นทางค่อนข้างลาดชัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระยะ 100 เมตร สู่บริเวณยอดปลายงวงช้าง ก่อนจะลาดลงสู่บริเวณ “กิ่วงวงช้าง” ซึ่งเป็นจุดที่สามารถชมทิวทัศน์ยามดวงอาทิตย์ขึ้นและตกในจุดเดียวกัน และยังเป็นจุดชมความสวยงามของน้ำตกคลองลานในอีกมุมมองหนึ่ง ส่วนช่วงที่ 2 เป็นเส้นทางเดินป่าไปยังยอดเขาหัวช้าง มีระยะทางต่อจากช่วงแรกประมาณ 700 เมตร โดยต้องมีเจ้าหน้าที่นำทาง เส้นทางนี้ไม่เหมาะสำหรับเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และผู้มีโรคประจำตัว บางระยะเป็นทางเดินขึ้นตามสันเขา เสี่ยงที่จะพลัดตกลงมา จึงห้ามเดินออกนอกเส้นทางโดยเด็ดขาด และหากต้องการขึ้นชมในช่วงเวลาแสงน้อยในตอนเช้ามืดหรือพลบค่ำควรประสานเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเพื่อความปลอดภัย | |
− | + | '''8. ทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติน้ำตกคลองลาน''' อยู่ใกล้กับที่ทำการอุทยาน นักท่องเที่ยวสามารถเดินชม และสัมผัสกับธรรมชาติได้ในระยะทาง ประมาณ 1 กิโลเมตร ภายในเส้นทางมีฐานให้ความรู้ทั้งหมด 11 ฐาน | |
− | ภาพที่ 5 บริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติคลองลาน | + | [[ไฟล์:15 ป้ายแสดงเส้นทางศึกษาธรรมชาติ.jpg|400px|thumb|center]] |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 15 ป้ายแสดงเส้นทางศึกษาธรรมชาติ''' </p> | |
− | ต่อมากรมอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 192/2523 ลงวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2523 ให้ นายปรีชา จันทร์ศิริตานนท์ นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปทำการสำรวจและจัดพื้นที่บริเวณป่าคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอุทยานแห่งชาติ ปรากฏว่า พื้นที่ดังกล่าวมีสภาพป่าทั้งไม้สักและไม้กระยาเลยสมบูรณ์มาก เป็นภูเขาสูงมีธรรมชาติสวยงาม เป็นป่าต้นน้ำลำธารเหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติมีมติในการประชุมครั้งที่ 1/2525 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2525 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดพื้นที่ป่าคลองลานเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าคลองลานในท้องที่ตำบลโป่งน้ำร้อน ตำบลคลองลาน และตำบลคลองลานพัฒนา กิ่งอำเภอคลองลาน อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศในราชกิจจาอุเบกขา เล่ม 99 ตอนที่ 191 ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2525 เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 44 ของประเทศ | + | [[ไฟล์:16 ป้ายแสดงฐานให้ความรู้ต่าง ๆ.jpg|400px|thumb|center]] |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 16 ป้ายแสดงฐานให้ความรู้ต่าง ๆ''' </p> | |
− | + | ==='''กิจกรรม'''=== | |
− | + | • การเดินป่า | |
− | + | • ดูนก | |
− | + | • ปั่นจักรยาน | |
− | + | • สร้างฝาย | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 13 นักท่องเที่ยวที่มาทำกิจกรรมสร้างฝาย และปั่นจักรยาน.jpg|600px|thumb|center]] | |
− | ภาพที่ 6 บริเวณด้านหน้าและด้านล่างของน้ำตก | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 17 นักท่องเที่ยวที่มาทำกิจกรรมสร้างฝาย และปั่นจักรยาน''' </p> |
− | + | ==='''เครื่องอำนวยความสะดวก'''=== | |
− | + | • อาคารสำนักงาน - ที่พัก, ร้านอาหาร, ร้านขายของชำ, ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว | |
− | + | • ที่จอดรถ | |
− | ป่าคลองลานยังมีสภาพสมบูรณ์เป็นแหล่งสุดท้ายในด้านทิศใต้ของภาคเหนือ ประกอบด้วยชนิดป่าต่าง ๆ คือ "ป่าดงดิบแล้ง" ซึ่งพบกระจายอยู่ทั่วไปที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลประมาณ 500 เมตรขึ้นไป เช่น ขุนคลองลาน ขุนคลองสวนมาก ขุนคลองขลุง ขุนน้ำเย็น ชนิดไม้ที่สำคัญได้แก่ ตะเคียนทอง ตะเคียนหิน สมพง ยมหอม พะยอม สมอพิเภก ฯลฯ สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ในป่าประเภทนี้ได้แก่ ชะนีมือขาว ช้างป่า หนูหริ่งไม้หางพู่ ปาดลายพื้นเมืองเหนือ กบห้วยขาปุ่ม เต่าปูลู กิ้งก่าบิน ฯลฯ "ป่าดิบชื้น" จะพบอยู่ตามริมห้วยที่มีความชื้นสูง "ป่าดิบเขา" จะพบเป็นหย่อม ๆ "ป่าเบญจพรรณ" สภาพป่าส่วนใหญ่จะเป็นป่าเบญจพรรณผสมป่าดงดิบ ชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ สัก ประดู่ ตะแบก มะค่าโมง และไผ่ชนิดต่างๆ | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 14 ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารและห้องน้ำ.jpg|700px|thumb|center]] |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 18 ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารและห้องน้ำ''' </p> | |
− | + | ==='''ที่พัก'''=== | |
− | + | • บังกะโล (พัดลมกับน้ำอุ่น) สำหรับสองท่านมีไว้บริการใกล้กับอาคารสำนักงาน | |
− | + | • ผู้ที่ต้องการพักเต็นท์ต้องนำเต็นท์ไปเองโดยเสียค่าธรรมเนียมสถานที่กางเต็นท์ | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 15 บริเวณลานกลางเต็นท์และศูนย์ติดต่อที่พัก.jpg|600px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 19 บริเวณลานกลางเต็นท์และศูนย์ติดต่อที่พัก''' </p> | |
− | + | ==='''การเดินทาง'''=== | |
− | + | การเดินทางโดยรถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ผ่านจังหวัดนครสวรรค์ มาประมาณ 17 กิโลเมตรถึงหนองเบนจะมีทางแยกซ้ายมือเข้าอำเภอลาดยาว จากนั้นใช้ทางหลวง 1072 ลาดยาว – คลองลาน ระยะทาง 102 กิโลเมตร ถึงสี่แยกตลาดคลองลานตรงไปอีกประมาณ 6 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำการอุทยานฯหรือจากตัวจังหวัดกำแพงเพชรใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกิโลเมตรที่ 346 บ้านคลองแม่ลาย ใช้เส้นทางแยกขวาไปอำเภอคลองลานตามทางหลวง 1117 สายคลองลานอุ้มผาง ระยะทาง 46 กิโลเมตร ถึงสี่แยกตลาดคลองลานแยกขวามือไปอุทยานฯ อีก 6 กิโลเมตร เป็นทางลาดยางตลอดสายหรือนั่งรถโดยสารประจำทางจากสถานีขนส่งจังหวัดหรือรถ | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | สัตว์ป่าที่พบในถิ่นที่อยู่อาศัยประเภทนี้ ได้แก่ กระทิง วัวแดง กวางป่า เก้ง ตะกวด ฯลฯ และ "ป่าเต็งรัง" พบในระดับความสูงประมาณ 400-600 เมตรจากระดับน้ำทะเล | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | ภาพที่ 13 ภาพถ่ายบริเวณคลองสวนหมาก | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | ภาพที่ 16 ป้ายแสดงฐานให้ความรู้ต่าง ๆ | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
สองแถวจากท่ารถถนนวิจิตร ใช้รถสายกำแพงเพชร-คลองลานลงที่สี่แยกตลาดคลองลานแล้วเหมารถสองแถวหรือมอเตอร์ไซด์ไปยังที่ทำการอุทยาน | สองแถวจากท่ารถถนนวิจิตร ใช้รถสายกำแพงเพชร-คลองลานลงที่สี่แยกตลาดคลองลานแล้วเหมารถสองแถวหรือมอเตอร์ไซด์ไปยังที่ทำการอุทยาน | ||
+ | ==='''การติดต่อ'''=== | ||
+ | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร 62180 โทร. 055-766022-3 ติดต่อกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โทร. 02-560760 หรือ www.facebook.com/อุทยานแห่งชาติคลองลาน | ||
+ | =='''ข้อมูลการสำรวจ'''== | ||
+ | ==='''แหล่งอ้างอิง'''=== | ||
+ | '''1. อุทยานแห่งชาติคลองลาน''' | ||
+ | '''2. หัวหน้ากรมอุทยานแห่งชาติคลองลาน''' | ||
+ | [[ไฟล์:นายสุระชัย โภคะมณี.jpg|200px|thumb|center]] | ||
+ | <p align = "center"> '''นายสุระชัย โภคะมณี''' </p> | ||
+ | <p align = "center"> นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ</p> | ||
+ | '''3. ทีมงานถ่ายภาพ''' | ||
+ | - นางสาววิชญาพร ตรองจิต | ||
+ | - นางสาวสุธีรา เกียรติทวี | ||
− | + | ==='''วันเดือนปีสำรวจ'''=== | |
− | + | - วันที่ลงพื้นที่ 13 มกราคม 2561 | |
− | + | ==='''วันที่ปรับปรุงข้อมูล'''=== | |
− | + | - ลงไปปรับปรุงข้อมูลรอบที่ 1 วันที่ 27 มกราคม 2561 | |
− | + | - ลงไปปรับปรุงข้อมูลรอบที่ 2 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2561 | |
− | + | - ลงไปปรับปรุงข้อมูลรอบที่ 3 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 | |
− | + | ==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''=== | |
− | + | 1. อาจารย์ชญาน์นันท์ ศิริกิจเสถียร | |
− | + | 2. อาจารย์วีรวรรณ แจ้งโม้ | |
− | + | 3. นางสาวสุธีรา เกียรติทวี | |
− | + | 4. นางสาววีรดา จันทร์ปรุง | |
− | + | 5. นางสาววิชญาพร ตรองจิต | |
− | + | 6. นางสาวจีรวรรณ สุขมาก | |
− | + | 7. นายทรงกลด ทองเลิศ | |
− | + | ==='''คำสำคัญ (tag)'''=== | |
− | + | - อุทยานแห่งชาติคลองลาน | |
− | + | - น้ำตกคลองลาน | |
− | + | - น้ำตกคลองน้ำไหล | |
− | + | - คลองสวนหมาก | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:05, 20 กุมภาพันธ์ 2564
ข้อมูลทั่วไป[แก้ไข]
ชื่อเรียกทางการ[แก้ไข]
อุทยานแห่งชาติคลองลาน
ที่ตั้ง/ที่ค้นพบ[แก้ไข]
อุทยานแห่งชาติคลองลาน ตั้งอยู่ท้องที่อำเภอคลองลาน อำเภอเมืองกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชร ครอบคลุมพื้นที่ป่าคลองลานอันสมบูรณ์แหล่งสุดท้ายของจังหวัดกำแพงเพชร ประกอบด้วย ภูเขาชันสลับซับซ้อน เป็นป่าต้นน้ำลำธาร ต้นกำเนิดของน้ำหลายสาย เช่น คลองขลุง คลองสวนหมาก ซึ่งไหลรวมกันลงสู่แม่น้ำปิงและเป็นต้นน้ำคลองลานไหลลงสู่คลองขลุง เนื้อที่ประมาณ 187,500 ไร่ หรือ 300 ตารางกิโลเมตร
ภาพที่ 1 ป้ายด้านหน้าทางเข้าอุทยาน
ที่ตั้งพิกัดทางภูมิศาสตร์[แก้ไข]
ตั้งอยู่ท้องที่ ตำบลโป่งน้ำร้อน ตำบลคลองน้ำไหล ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 16 องศา 2 ลิปดา –16 องศา 20 ลิปดาเหนือ และอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 99 องศา 6 ลิปดา – 99 องศา 19 ลิปดาตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ หรือ 300 ตารางกิโลเมตร
ภาพที่ 2 แสดงแผนที่ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน
สภาพธรณีวิทยา[แก้ไข]
อุทยานแห่งชาติคลองลานมีลักษณะเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน ด้านทิศตะวันออกเป็นที่ราบ ดินร่วนปนทราย ภูเขาแต่ละลูกเชื่อมโยงติดต่อกับขุนคลองลานซึ่งเป็นจุดสูงสุดในบริเวณนี้ สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,439 เมตร สภาพป่าสมบูรณ์ เป็นป่าต้นน้ำลำธาร ต้นกำเนิดของแม่น้ำหลายสาย เช่น คลองขลุง คลองสวนหมาก ไหลรวมกันลงสู่แม่น้ำปิง
ภาพที่ 3 บริเวณพื้นที่โดยรอบของอุทยาน
ลักษณะทางภูมิอากาศ อุทยานแห่งชาติคลองลานในฤดูร้อนค่อนข้างร้อน ในฤดูหนาวค่อนข้างหนาวอากาศเย็นสบาย ในฤดูฝนมีฝนตกชุก อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน 38 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคม 17 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ย 1,300 มิลลิลิตรต่อปี (สำนักอุทยานแห่งชาติ, ม.ป.ป.)
สถานะการขึ้นทะเบียน[แก้ไข]
ได้รับการจัดตั้งและจดทะเบียนให้เป็นอุทยานแห่งชาติอย่างเป็นทางการในวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2525 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 191 เป็นอุทยานลับที่ 44 ของประเทศ
หน่วยงานที่ดูแลรักษา[แก้ไข]
สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 (นครสวรรค์) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช หน่วยจัดการต้นน้ำขุนลาน หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.1 (แม่พืช) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.2 (คลองน้ำไหล) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.3 (เพชรจะขอ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.4 (คลองสวนหมาก)
ภาพที่ 4 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
ข้อมูลเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ[แก้ไข]
ประวัติความเป็นมา[แก้ไข]
สืบเนื่องจากนายเทพ ไสยานนท์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีหนังสือ ที่ กส 0215/230 ลงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2521 ถึงปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานผลการไปตรวจราชการที่จังหวัดกำแพงเพชร เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ.2521 ว่า น้ำตกคลองลาน กิ่งอำเภอคลองลาน เป็นบริเวณป่าต้นน้ำลำธารและเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ แต่ขาดการดูแลรักษา และมีการลักลอบตัดไม้ไปใช้สอย หากปล่อยทิ้งไว้บริเวณป่าต้นน้ำลำธารก็จะถูกทำลายลงไป ทั้งนี้พื้นที่ดังกล่าวอยู่ในเขตของศูนย์พัฒนาสงเคราะห์ชาวเขา กรมป่าไม้จึงมีหนังสือ ที่ กส 0808/1114 ลงวันที่ 14 เมษายน พ.ศ.2521 แจ้งให้ป่าไม้เขตนครสวรรค์ตรวจสอบ ซึ่งได้รับรายงานตามหนังสือ ที่ กส 0809 (นว)/1596 ลงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.2521 ว่าได้ทำการสำรวจสภาพพื้นที่บริเวณน้ำตกคลองลานไว้แล้ว เพื่อจะขออนุมัติกรมป่าไม้จัดตั้งเป็นวนอุทยาน เพราะเห็นว่ามีทิวทัศน์สวยงามเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ซึ่งน้ำตกคลองลานอยู่ในพื้นที่สงวนไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ 40 เปอร์เซ็นต์ ของเขตพื้นที่ศูนย์พัฒนาสงเคราะห์ชาวเขากำแพงเพชร กรมประชาสงเคราะห์ ป่าไม้เขตนครสวรรค์จึงได้ประสานงานกับจังหวัดกำแพงเพชรและกรมประชาสงเคราะห์ ขอใช้พื้นที่บริเวณน้ำตกคลองลาน จำนวน 5,000 ไร่ ที่อยู่ในพื้นที่สงวนไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ 40 เปอร์เซ็นต์ เพื่อจัดเป็นวนอุทยาน ซึ่งกรมประชาสงเคราะห์ไม่ขัดข้อง จังหวัดกำแพงเพชรจึงมีหนังสือ ที่ มท 0714/13/13438 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2521 แจ้งให้กรมป่าไม้ดำเนินการจัดตั้งวนอุทยานเพื่อสงวนป่าต้นน้ำลำธารแห่งนี้
ภาพที่ 5 บริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติคลองลาน
ต่อมากรมอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 192/2523 ลงวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.2523 ให้ นายปรีชา จันทร์ศิริตานนท์ นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปทำการสำรวจและจัดพื้นที่บริเวณป่าคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอุทยานแห่งชาติ ปรากฏว่า พื้นที่ดังกล่าวมีสภาพป่าทั้งไม้สักและไม้กระยาเลยสมบูรณ์มาก เป็นภูเขาสูงมีธรรมชาติสวยงาม เป็นป่าต้นน้ำลำธารเหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติมีมติในการประชุมครั้งที่ 1/2525 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2525 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดพื้นที่ป่าคลองลานเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าคลองลานในท้องที่ตำบลโป่งน้ำร้อน ตำบลคลองลาน และตำบลคลองลานพัฒนา กิ่งอำเภอคลองลาน อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศในราชกิจจาอุเบกขา เล่ม 99 ตอนที่ 191 ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2525 เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 44 ของประเทศ
ภาพที่ 6 บริเวณด้านหน้าและด้านล่างของน้ำตก
ทรัพยากรแวดล้อม[แก้ไข]
ป่าคลองลานยังมีสภาพสมบูรณ์เป็นแหล่งสุดท้ายในด้านทิศใต้ของภาคเหนือ ประกอบด้วยชนิดป่าต่าง ๆ คือ "ป่าดงดิบแล้ง" ซึ่งพบกระจายอยู่ทั่วไปที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลประมาณ 500 เมตรขึ้นไป เช่น ขุนคลองลาน ขุนคลองสวนมาก ขุนคลองขลุง ขุนน้ำเย็น ชนิดไม้ที่สำคัญได้แก่ ตะเคียนทอง ตะเคียนหิน สมพง ยมหอม พะยอม สมอพิเภก ฯลฯ สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ในป่าประเภทนี้ได้แก่ ชะนีมือขาว ช้างป่า หนูหริ่งไม้หางพู่ ปาดลายพื้นเมืองเหนือ กบห้วยขาปุ่ม เต่าปูลู กิ้งก่าบิน ฯลฯ "ป่าดิบชื้น" จะพบอยู่ตามริมห้วยที่มีความชื้นสูง "ป่าดิบเขา" จะพบเป็นหย่อม ๆ "ป่าเบญจพรรณ" สภาพป่าส่วนใหญ่จะเป็นป่าเบญจพรรณผสมป่าดงดิบ ชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ สัก ประดู่ ตะแบก มะค่าโมง และไผ่ชนิดต่างๆ
ภาพที่ 7 ตัวอย่างพันธุ์ไม้ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน
ภาพที่ 8 เสือและลิง ที่พบบริเวณอุทยานแห่งชาติคลองลาน
สัตว์ป่าที่พบในถิ่นที่อยู่อาศัยประเภทนี้ ได้แก่ กระทิง วัวแดง กวางป่า เก้ง ตะกวด ฯลฯ และ "ป่าเต็งรัง" พบในระดับความสูงประมาณ 400-600 เมตรจากระดับน้ำทะเล ชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เต็งรัง ยอป่า สมอพิเภก รกฟ้า และสมพง ฯลฯ สัตว์ป่าที่พบในป่าประเภทนี้ได้แก่ เขียดหลังปุ่มที่ราบ เขียดอ่อง อึ่งปากขวด เก้ง เป็นต้น ในบริเวณทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอุทยานแห่งชาติคลองลาน ซึ่งเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวเขาเผ่าต่างๆ แต่ปัจจุบันทางราชการได้อพยพชาวเขาเหล่านี้มาอยู่พื้นที่ราบที่ทางราชการจัดสรรให้สภาพพื้นที่จึงถูกปล่อยให้รกร้างและกลายสภาพเป็นป่ารุ่นสอง ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าขนาดเล็ก จำพวกกระแตธรรมดา ค้างคาวขอบหูขาว กระรอก หนูฟันขาว และหนูขนเสี้ยน ส่วนในบริเวณที่เป็นถ้ำ หนึบหิน และหน้าผา เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าเฉพาะชนิด เช่น เลียงผา ค้างคาวปีกถุงเคราแดง ค้างคาวมงกุฎเล็ก ค้างคาวแวมไพร์แปลงใหญ่ และค้างคาวหน้ายักษ์ทศกัณฑ์ เป็นต้น พื้นที่บริเวณริมลำห้วย และลำคลองที่กระจายอยู่ทั่วพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เป็นแหล่งที่หลบซ่อนหรือถิ่นอาศัยหากินของสัตว์หลายประเภท ได้แก่ กบ อึ่งกรายลายเลอะ ตะพาบธรรมดา ปลาสลา ปลาเวียน และปลาติดดิน เป็นต้น
สถานที่ท่องเที่ยวภายในอุทยานแห่งชาติคลองลาน[แก้ไข]
1. น้ำตกคลองลาน เกิดจากเทือกเขาขุนคลองลานซึ่งมียอดสูง 1,439 เมตรจากระดับน้ำทะเล เหนือหน้าผาน้ำตกเป็นที่ราบกว้างในฤดูฝนสายน้ำจะไหลจากลำห้วยต่างๆ ประมาณ 5 สาย ลงสู่แอ่งน้ำกลางหุบเขาเกิดเป็นวังน้ำลึกและลำน้ำยาวประมาณ 3 กิโลเมตรแล้วไหลผ่านหน้าผาลงมาเป็นน้ำตกคลองลาน สูง 100 เมตร กว้างประมาณ 40 เมตรบริเวณใต้น้ำตกเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถลงเล่นน้ำได้อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติ 800 เมตร
ภาพที่ 9 บริเวณหน้าผาของน้ำตกคลองลาน
2. น้ำตกคลองน้ำไหล (น้ำตกปางควาย) อยู่ห่างจากที่ทำการประมาณ 25 กิโลเมตร จากเส้นทางสายอุ้มผาง-คลองงาน ก่อนถึงอำเภอคลองลาน เรียกว่า “ถนนปางควาย” ระยะทาง 10.5 กิโลเมตร ถึงน้ำตกคลองน้ำไหล ซึ่งเป็นน้ำตกขนาดกลาง สายน้ำไหลลดหลั่นกันลงมา มีทั้งหมด 9 ชั้น แต่ละชั้นมีแอ่งน้ำและความสูงต่างกัน ลานหินที่นี่กว้างมากเป็นสีนิลวาววับเมื่อตัดกับสายน้ำ ลำธารสวยด้วยโขดหิน ในชั้นที่ 3 น้ำตกจะแยกเป็น 2 สาย ดูสวยงามทางฝั่งขวาไหลลงสู่แอ่งน้ำกว้างประมาณ 3 เมตร เหมาะสำหรับการเล่นน้ำตก
ภาพที่ 10 บริเวณหน้าผาของน้ำตกคลองน้ำไหล
'ภาพที่ 11 ภาพถ่ายบริเวณน้ำตกคลองน้ำไหล
3. คลองสวนหมาก ลำน้ำคลองสวนหมาก เกิดจากน้ำซับจากป่าอุทยานแห่งชาติคลองลานและป่าอุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า ไหลลงมารวมกันเกิดลำน้ำคลองสวนหมาก เป็นสถานที่ที่โรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดกำแพงเพชรนิยมมาออกค่ายลูกเสือ
'ภาพที่ 12 ภาพถ่ายป้ายคลองสวนหมาก
'ภาพที่ 13 ภาพถ่ายบริเวณคลองสวนหมาก
4. น้ำตกเพชรจะขอ เป็นน้ำตกขนาดกลางที่นับว่าสวยงามอีกแห่งหนึ่ง ไหลลดหลั่นกันลงมาเป็นชั้น ๆ ทั้งหมดสี่ชั้น แต่ละชั้นมีความสูงมากกว่า 30 เมตร โดยเฉพาะชั้นที่สี่ที่สามารถมองเห็นได้จากถนนด้านนอกเขตอุทยานมีความสูงมากกว่า 70 เมตร แต่น้ำตกที่สวยงามไม่ได้อวดความสวยงามได้ตลอดทั้งปี เนื่องจากฤดูแล้งน้ำจะน้อย การเดินทางจากสามแยกที่เลี้ยวซ้ายไปคลองน้ำไหล ให้ตรงไปตามทางประมาณ 10 กิโลเมตร จะถึงหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ คล.4 (คลองเพชรนิยม) จากนั้นเดินเท้าเข้าไปอีก 1.5 กิโลเมตร
ภาพที่ 14 ป้ายด้านหน้าทางเข้าน้ำตกเพชรจะขอ
5. แก่งเกาะร้อย อยู่ในเส้นทางอุ้มผาง-คลองลาน เข้าทางถนนบ้านโป่งน้ำร้อนเข้าไปประมาณ 15 กิโลเมตร แก่งเกาะร้อยเกิดจากคลองสวนหมาก ในอดีตมีลักษณะเป็นลำธารสลับด้วยแก่งหิน และหาดทรายขาวสะอาด อยู่ท่ามกลางทิวทัศน์แห่งขุนเขาสลับซับซ้อน ประกอบด้วยแก่งหินตะปุ่มตะป่ำนับร้อยพันก้อนเรียงรายเป็นลานกว้าง ช่วงกลางมีลำธารน้ำใสไหลผ่านเกาะแก่งหินสีเทาหม่นดูสวยงามยิ่ง แต่ปัจจุบันหลังจากได้มีการสร้างฝายคลองสวนหมากทำให้สภาพแก่งเกาะร้อยได้เปลี่ยนไปไม่เหลือลักษณะแก่งอีกต่อไป 6. จุดชมวิวเขาหัวช้าง เป็นจุดชมทิวทัศน์ ที่อยู่ไม่ไกลจากที่ทำการมากนัก มีความสูงประมาณ 500-600 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ใช้เวลาเดินเท้าขึ้นไปประมาณ 1 ชั่วโมง สามารถมองเห็นน้ำตกคลองลาน ชมพระอาทิตย์ตกยามเย็น และพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้า เพื่อความเหมาะสม ควรค้างแรมบนสันเขาหัวช้างใน ช่วงปลายฝนต้นหนาว ระหว่างเดือนกันยายน-กุมภาพันธ์ 7. ทางเดินศึกษาธรรมชาติกิ่วงวงช้าง เส้นทางนี้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเดินป่าเขาหัวช้าง ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ช่วง โดยช่วงแรกเป็นเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่จะนำท่านไปสู่จุดชมทิวทัศน์กิ่วงวงช้าง มีระยะทางประมาณ 735 เมตร ใช้เวลาประมาณ 45 นาที ตลอดเส้นทางค่อนข้างลาดชัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระยะ 100 เมตร สู่บริเวณยอดปลายงวงช้าง ก่อนจะลาดลงสู่บริเวณ “กิ่วงวงช้าง” ซึ่งเป็นจุดที่สามารถชมทิวทัศน์ยามดวงอาทิตย์ขึ้นและตกในจุดเดียวกัน และยังเป็นจุดชมความสวยงามของน้ำตกคลองลานในอีกมุมมองหนึ่ง ส่วนช่วงที่ 2 เป็นเส้นทางเดินป่าไปยังยอดเขาหัวช้าง มีระยะทางต่อจากช่วงแรกประมาณ 700 เมตร โดยต้องมีเจ้าหน้าที่นำทาง เส้นทางนี้ไม่เหมาะสำหรับเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และผู้มีโรคประจำตัว บางระยะเป็นทางเดินขึ้นตามสันเขา เสี่ยงที่จะพลัดตกลงมา จึงห้ามเดินออกนอกเส้นทางโดยเด็ดขาด และหากต้องการขึ้นชมในช่วงเวลาแสงน้อยในตอนเช้ามืดหรือพลบค่ำควรประสานเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเพื่อความปลอดภัย 8. ทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติน้ำตกคลองลาน อยู่ใกล้กับที่ทำการอุทยาน นักท่องเที่ยวสามารถเดินชม และสัมผัสกับธรรมชาติได้ในระยะทาง ประมาณ 1 กิโลเมตร ภายในเส้นทางมีฐานให้ความรู้ทั้งหมด 11 ฐาน
ภาพที่ 15 ป้ายแสดงเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
ภาพที่ 16 ป้ายแสดงฐานให้ความรู้ต่าง ๆ
กิจกรรม[แก้ไข]
• การเดินป่า • ดูนก • ปั่นจักรยาน • สร้างฝาย
ภาพที่ 17 นักท่องเที่ยวที่มาทำกิจกรรมสร้างฝาย และปั่นจักรยาน
เครื่องอำนวยความสะดวก[แก้ไข]
• อาคารสำนักงาน - ที่พัก, ร้านอาหาร, ร้านขายของชำ, ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว • ที่จอดรถ
ภาพที่ 18 ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารและห้องน้ำ
ที่พัก[แก้ไข]
• บังกะโล (พัดลมกับน้ำอุ่น) สำหรับสองท่านมีไว้บริการใกล้กับอาคารสำนักงาน • ผู้ที่ต้องการพักเต็นท์ต้องนำเต็นท์ไปเองโดยเสียค่าธรรมเนียมสถานที่กางเต็นท์
ภาพที่ 19 บริเวณลานกลางเต็นท์และศูนย์ติดต่อที่พัก
การเดินทาง[แก้ไข]
การเดินทางโดยรถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ผ่านจังหวัดนครสวรรค์ มาประมาณ 17 กิโลเมตรถึงหนองเบนจะมีทางแยกซ้ายมือเข้าอำเภอลาดยาว จากนั้นใช้ทางหลวง 1072 ลาดยาว – คลองลาน ระยะทาง 102 กิโลเมตร ถึงสี่แยกตลาดคลองลานตรงไปอีกประมาณ 6 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำการอุทยานฯหรือจากตัวจังหวัดกำแพงเพชรใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกิโลเมตรที่ 346 บ้านคลองแม่ลาย ใช้เส้นทางแยกขวาไปอำเภอคลองลานตามทางหลวง 1117 สายคลองลานอุ้มผาง ระยะทาง 46 กิโลเมตร ถึงสี่แยกตลาดคลองลานแยกขวามือไปอุทยานฯ อีก 6 กิโลเมตร เป็นทางลาดยางตลอดสายหรือนั่งรถโดยสารประจำทางจากสถานีขนส่งจังหวัดหรือรถ
สองแถวจากท่ารถถนนวิจิตร ใช้รถสายกำแพงเพชร-คลองลานลงที่สี่แยกตลาดคลองลานแล้วเหมารถสองแถวหรือมอเตอร์ไซด์ไปยังที่ทำการอุทยาน
การติดต่อ[แก้ไข]
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร 62180 โทร. 055-766022-3 ติดต่อกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โทร. 02-560760 หรือ www.facebook.com/อุทยานแห่งชาติคลองลาน
ข้อมูลการสำรวจ[แก้ไข]
แหล่งอ้างอิง[แก้ไข]
1. อุทยานแห่งชาติคลองลาน 2. หัวหน้ากรมอุทยานแห่งชาติคลองลาน
นายสุระชัย โภคะมณี
นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการ
3. ทีมงานถ่ายภาพ - นางสาววิชญาพร ตรองจิต - นางสาวสุธีรา เกียรติทวี
วันเดือนปีสำรวจ[แก้ไข]
- วันที่ลงพื้นที่ 13 มกราคม 2561
วันที่ปรับปรุงข้อมูล[แก้ไข]
- ลงไปปรับปรุงข้อมูลรอบที่ 1 วันที่ 27 มกราคม 2561 - ลงไปปรับปรุงข้อมูลรอบที่ 2 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2561 - ลงไปปรับปรุงข้อมูลรอบที่ 3 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561
ผู้สำรวจข้อมูล[แก้ไข]
1. อาจารย์ชญาน์นันท์ ศิริกิจเสถียร 2. อาจารย์วีรวรรณ แจ้งโม้ 3. นางสาวสุธีรา เกียรติทวี 4. นางสาววีรดา จันทร์ปรุง 5. นางสาววิชญาพร ตรองจิต 6. นางสาวจีรวรรณ สุขมาก 7. นายทรงกลด ทองเลิศ
คำสำคัญ (tag)[แก้ไข]
- อุทยานแห่งชาติคลองลาน - น้ำตกคลองลาน - น้ำตกคลองน้ำไหล - คลองสวนหมาก