ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง กระยาสารทกล้วยไข่ วิลัยวรรณ"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "thumb|center =='''ข้อมูลทั่วไป''...")
 
(กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน)
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 ผลิตภัณฑ์กระยาสารท.jpg|thumb|center]]
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 ผลิตภัณฑ์กระยาสารท.jpg|500px|thumb|center]]
 
=='''ข้อมูลทั่วไป'''==
 
=='''ข้อมูลทั่วไป'''==
 
==='''ชื่อเรียก'''===
 
==='''ชื่อเรียก'''===
แถว 20: แถว 20:
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส.jpg|500px|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส.jpg|500px|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส2.jpg|400px|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส2.jpg|400px|thumb|center]]
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1-4 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์)  ณ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร  
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1-4 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์)  ณ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร </p>
 
[[ไฟล์:5-6 แสดงวิธีการกวนข้าวข้าวมธุปายาส.jpg|500px|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:5-6 แสดงวิธีการกวนข้าวข้าวมธุปายาส.jpg|500px|thumb|center]]
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5-6 แสดงวิธีการกวนข้าวข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) ณ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร  
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5-6 แสดงวิธีการกวนข้าวข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) ณ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร</p>
 
           ซึ่งมีวิธีการทำคล้ายคลึงกับกระยาสารททั้งส่วนประกอบและลักษณะการทำ โดยมีอุปกรณ์ในการกวน เครื่องกวนและขั้นดำเนินการดังนี้   
 
           ซึ่งมีวิธีการทำคล้ายคลึงกับกระยาสารททั้งส่วนประกอบและลักษณะการทำ โดยมีอุปกรณ์ในการกวน เครื่องกวนและขั้นดำเนินการดังนี้   
1.1. อุปกรณ์ในการกวน ประกอบด้วย
+
          1. อุปกรณ์ในการกวน ประกอบด้วย
ก. เตา ทำจากถังน้ำมันขนาด 500 ลิตร สูงประมาณ 2 ฟุต
+
              ก. เตา ทำจากถังน้ำมันขนาด 500 ลิตร สูงประมาณ 2 ฟุต
ข. กระทะใบบัว
+
              ข. กระทะใบบัว
ค. พายไม้
+
              ค. พายไม้
1.2 เครื่องกวน ประกอบด้วย
+
          2. เครื่องกวน ประกอบด้วย
ก. ข้าว ใช้แป้งข้าวเหนียว และแป้งข้าวเจ้า
+
              ก. ข้าว ใช้แป้งข้าวเหนียว และแป้งข้าวเจ้า
ข. ถั่วลิสง
+
              ข. ถั่วลิสง
ค. งาดำ
+
              ค. งาดำ
ง. งาขาว  
+
              ง. งาขาว  
จ. น้ำผึ้ง น้ำตาลทราย
+
              จ. น้ำผึ้ง น้ำตาลทราย
ฉ. นมข้นหวาน
+
              ฉ. นมข้นหวาน
ช. มะพร้าว คั้นเอาแต่กะทิ ตั้งไฟเคี่ยวให้ขึ้นน้ำมัน
+
              ช. มะพร้าว คั้นเอาแต่กะทิ ตั้งไฟเคี่ยวให้ขึ้นน้ำมัน
ซ. เนย
+
              ซ. เนย
1.3 ขั้นดำเนินการ
+
          3. ขั้นดำเนินการ
ก. นำเครื่องปรุงที่เตรียมไว้ทุกอย่างเทใส่กระทะใบบัวคนให้เข้ากัน ไม่มีสูตรในการกำหนดอัตราส่วนของเครื่องที่แน่นอน จำนวนข้าวทิพย์จะมากน้อยขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่มี ดังนั้น รสชาติในแต่ละปีจะไม่เหมือนกัน
+
              ก. นำเครื่องปรุงที่เตรียมไว้ทุกอย่างเทใส่กระทะใบบัวคนให้เข้ากัน ไม่มีสูตรในการกำหนดอัตราส่วนของเครื่องที่แน่นอน จำนวนข้าวทิพย์จะมากน้อยขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่มี ดังนั้น รสชาติในแต่ละปีจะไม่เหมือนกัน
ข. ก่อนเริ่มกวนข้าวทิพย์พระสงฆ์จะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา โดยพระสงฆ์จะเป็นผู้ทำพิธีบูชาพระรัตนตรัย จากนั้นสวดเจริญพระพุทธมนต์ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร
+
              ข. ก่อนเริ่มกวนข้าวทิพย์พระสงฆ์จะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา โดยพระสงฆ์จะเป็นผู้ทำพิธีบูชาพระรัตนตรัย จากนั้นสวดเจริญพระพุทธมนต์ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร
ค. นักเรียนจำนวน 4 – 6 คน ซึ่งเป็นสาวพรหมจรรย์ นุ่งขาวห่มขาว เริ่มประกอบพิธีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) และเมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตร์จบนักเรียนก็จะเปลี่ยนให้คนในชุมชนท้องถิ่นที่มาร่วมกิจกรรมเป็นผู้กวนต่อไปจนกว่าจะเสร็จ ใช้เวลากวนประมาณ 3 ชั่วโมง  
+
              ค. นักเรียนจำนวน 4 – 6 คน ซึ่งเป็นสาวพรหมจรรย์ นุ่งขาวห่มขาว เริ่มประกอบพิธีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) และเมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตร์จบนักเรียนก็จะเปลี่ยนให้คนในชุมชนท้องถิ่นที่มาร่วมกิจกรรมเป็นผู้กวนต่อไปจนกว่าจะเสร็จ ใช้เวลากวนประมาณ 3 ชั่วโมง  
เมื่อเสร็จแล้ว ก็จะแบ่งปันข้าวมธุปายาสหรือข้าวทิพย์ ไปบริโภคเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตน และนำไปฝากบุคคลในครอบครัว หรือผู้ที่ตนเคารพนับถือ(วีรวรรณ แจ้งโม้และชญาน์นันท์ ศิริกิจเสถียร, 2558)
+
เมื่อเสร็จแล้ว ก็จะแบ่งปันข้าวมธุปายาสหรือข้าวทิพย์ ไปบริโภคเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตน และนำไปฝากบุคคลในครอบครัว หรือผู้ที่ตนเคารพนับถือ
การทำบุญในเทศกาลสารท ไม่ว่าจะเรียกชื่อต่างกันอย่างไร คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนาก็เป็นไปในทางเดียวกันคือ ทำบุญเพื่ออุทิศส่วนบุญให้ปู่ย่าตายายและญาติมิตรทั้งหลายที่ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง(คม ชัด ลึก, 2561) ในจังหวัดกำแพงเพชรนั้น มีการกวนกระยาสารทกันโดยทั่วไป ในอดีตกวนกันเกือบทุกบ้าน ไม่มีจำหน่าย แต่จะแจกกันเมื่อกวนแล้ว ส่วนสำคัญจะนำไปถวายพระ และกำแพงเพชรเป็นเมืองกล้วยไข่ จึงมีกล้วยไข่เป็นเครื่องเคียงที่อร่อยมาก กล้วยไข่ที่กำแพงเพชรมีมานานแล้ว มิใช่พึ่งมีเหมือนดังที่เข้าใจกัน และประเพณีสารทไทย กล้วยไข่นั้นคู่กับกำแพงเพชรมานับร้อยปี(สันติ อภัยราช, 2561)
+
          การทำบุญในเทศกาลสารท ไม่ว่าจะเรียกชื่อต่างกันอย่างไร คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนาก็เป็นไปในทางเดียวกันคือ ทำบุญเพื่ออุทิศส่วนบุญให้ปู่ย่าตายายและญาติมิตรทั้งหลายที่ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง(คม ชัด ลึก, 2561) ในจังหวัดกำแพงเพชรนั้น มีการกวนกระยาสารทกันโดยทั่วไป ในอดีตกวนกันเกือบทุกบ้าน ไม่มีจำหน่าย แต่จะแจกกันเมื่อกวนแล้ว ส่วนสำคัญจะนำไปถวายพระ และกำแพงเพชรเป็นเมืองกล้วยไข่ จึงมีกล้วยไข่เป็นเครื่องเคียงที่อร่อยมาก กล้วยไข่ที่กำแพงเพชรมีมานานแล้ว มิใช่พึ่งมีเหมือนดังที่เข้าใจกัน และประเพณีสารทไทย กล้วยไข่นั้นคู่กับกำแพงเพชรมานับร้อยปี
กระยาสารท วิลัยวรรณ
+
'''กระยาสารท วิลัยวรรณ'''
ในจังหวัดกำแพงเพชรนั้นนับว่าเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีความโดดเด่นด้านการแปรรูปกระยาสารท โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์กระยาสารทกล้วยไข่ซึ่งผลิตโดยกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของสตรีในหมู่บ้านที่มีความคิดที่อยากจะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ จำนวน 7 คน รวมตัวกันเพื่อจัดตั้งกลุ่มทำขนมไทย ขนมพื้นบ้านจำหน่าย ในหมู่บ้านและตำบลข้างเคียง เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น (วิลัยวรรณ บุพศิริ, 2561)
+
          ในจังหวัดกำแพงเพชรนั้นนับว่าเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีความโดดเด่นด้านการแปรรูปกระยาสารท โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์กระยาสารทกล้วยไข่ซึ่งผลิตโดยกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของสตรีในหมู่บ้านที่มีความคิดที่อยากจะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ จำนวน 7 คน รวมตัวกันเพื่อจัดตั้งกลุ่มทำขนมไทย ขนมพื้นบ้านจำหน่าย ในหมู่บ้านและตำบลข้างเคียง เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น  
จึงมีความคิดที่เห็นพ้องต้องกัน คือการรวมกลุ่มเพื่อทำขนมกระยาสารท ประกอบกับจังหวัดกำแพงเพชร จะมีงานประเพณีวัฒนธรรมที่สืบสานกันมาอย่างต่อเนื่อง ในช่วงเทศกาลงานสารท คือ งานสารทไทยกล้วยไข่เมืองกำแพง จึงคิดริเริ่มจัดตั้งกลุ่ม ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา ซึ่งยึดเป็นอาชีพเสริม จากการทำอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม การดำเนินการในช่วงแรกคือ การทำกระยาสารทแบบทั่วไปและการนำผลไม้ในท้องถิ่นเช่นกล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ มาทำเป็นขนมเช่นกล้วยฉาบ กล้วยเค็ม แต่สินค้าที่ทำก็ไม่ค่อยแตกต่างจากกลุ่มอื่น การจำหน่ายก็ไม่ค่อยดีนัก จึงเกิดการรวบรวมความคิดจากสมาชิกและมาทดลองทำ ต่อมาในปี 2550 กลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ได้มีโอกาสไปดูงานกลุ่มกระยาสารทที่ต่างจังหวัด จึงได้คิดริเริ่มทำกระยาสารน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่ ซึ่งกระยาสารทกล้วยไข่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเด่นและจำหน่ายได้ดี ทำให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น จึงเริ่มทำออกจำหน่ายสู่ท้องตลาดมาตั้งแต่ปลายปี 2549 การทำกระยาสารทกล้วยไข่เป็นการเพิ่มมูลค่าให้ผลไม้ในท้องถิ่นด้วย
+
          จึงมีความคิดที่เห็นพ้องต้องกัน คือการรวมกลุ่มเพื่อทำขนมกระยาสารท ประกอบกับจังหวัดกำแพงเพชร จะมีงานประเพณีวัฒนธรรมที่สืบสานกันมาอย่างต่อเนื่อง ในช่วงเทศกาลงานสารท คือ งานสารทไทยกล้วยไข่เมืองกำแพง จึงคิดริเริ่มจัดตั้งกลุ่ม ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา ซึ่งยึดเป็นอาชีพเสริม จากการทำอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม การดำเนินการในช่วงแรกคือ การทำกระยาสารทแบบทั่วไปและการนำผลไม้ในท้องถิ่นเช่นกล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ มาทำเป็นขนมเช่นกล้วยฉาบ กล้วยเค็ม แต่สินค้าที่ทำก็ไม่ค่อยแตกต่างจากกลุ่มอื่น การจำหน่ายก็ไม่ค่อยดีนัก จึงเกิดการรวบรวมความคิดจากสมาชิกและมาทดลองทำ ต่อมาในปี 2550 กลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ได้มีโอกาสไปดูงานกลุ่มกระยาสารทที่ต่างจังหวัด จึงได้คิดริเริ่มทำกระยาสารน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่ ซึ่งกระยาสารทกล้วยไข่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเด่นและจำหน่ายได้ดี ทำให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น จึงเริ่มทำออกจำหน่ายสู่ท้องตลาดมาตั้งแต่ปลายปี 2549 การทำกระยาสารทกล้วยไข่เป็นการเพิ่มมูลค่าให้ผลไม้ในท้องถิ่นด้วย
ในปัจจุบันกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งภายในจังหวัดและภายนอกจังหวัดเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัดกำแพงเพชร ทำให้การกระบวนการผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณเน้นไปที่การผลิตเพื่อส่งให้กับพ่อค้าคนกลางภายในจังหวัดกำแพงเพชร อาทิ ไร่ส้ม เพื่อเป็นแหล่งกระจายสินค้าแก่นักท่องเที่ยวต่อไป โดยผลิตภัณฑ์ที่ส่งให้กับพ่อค้าคนกลางหลักๆ มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ กระบาสารทน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่ (วิลัยวรรณ บุพศิริ, 2561)
+
          ในปัจจุบันกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งภายในจังหวัดและภายนอกจังหวัดเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัดกำแพงเพชร ทำให้การกระบวนการผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณเน้นไปที่การผลิตเพื่อส่งให้กับพ่อค้าคนกลางภายในจังหวัดกำแพงเพชร อาทิ ไร่ส้ม เพื่อเป็นแหล่งกระจายสินค้าแก่นักท่องเที่ยวต่อไป โดยผลิตภัณฑ์ที่ส่งให้กับพ่อค้าคนกลางหลักๆ มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ กระบาสารทน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 ผลิตภัณฑ์กระยาสารท.jpg|500px|thumb|center]]
ภาพที่ 7 กระยาสารน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่ของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ
+
<p align = "center"> ภาพที่ 7 กระยาสารน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่ของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ </p>
กระยาสารทรสดั้งเดิมของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณคือ กระยาสารทรสน้ำผึ้ง การใส่น้ำผึ้งเข้าไปในกระยาสารทนั้นนับว่าเป็นเคล็บลับอีกอย่างของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณเนื่องจากจะทำให้กระยาสารทมีกลิ่นหอมหวานที่ได้จากน้ำผึ้ง แต่อีกผลิตภัณฑ์ที่นับว่าเป็นจุดเด่นของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณคือ กระยาสารทกล้วยไข่ นั้นเอง กระยาสารทกล้วยไข่ เกิดจากความต้องการของกลุ่มฯ เพื่อต้องการให้ผลิตภัณฑ์ของตนเองมีเอกลักษณ์และจุดเด่นแตกต่างจากผลิตภัณฑ์กระยาสารทของกลุ่มกระยาสารทอื่นๆ ทำให้ปัจจุบันเมื่อพูดถึงกระยาสารทเมืองกำแพง ต้องนึกถึงกระยาสารทกล้วยไข่ และเมื่อนึกถึงกระยาสารทกล้วยไข่ต้อง “กระยาสารทวิลัยวรรณ”  
+
          กระยาสารทรสดั้งเดิมของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณคือ กระยาสารทรสน้ำผึ้ง การใส่น้ำผึ้งเข้าไปในกระยาสารทนั้นนับว่าเป็นเคล็บลับอีกอย่างของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณเนื่องจากจะทำให้กระยาสารทมีกลิ่นหอมหวานที่ได้จากน้ำผึ้ง แต่อีกผลิตภัณฑ์ที่นับว่าเป็นจุดเด่นของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณคือ กระยาสารทกล้วยไข่ นั้นเอง กระยาสารทกล้วยไข่ เกิดจากความต้องการของกลุ่มฯ เพื่อต้องการให้ผลิตภัณฑ์ของตนเองมีเอกลักษณ์และจุดเด่นแตกต่างจากผลิตภัณฑ์กระยาสารทของกลุ่มกระยาสารทอื่นๆ ทำให้ปัจจุบันเมื่อพูดถึงกระยาสารทเมืองกำแพง ต้องนึกถึงกระยาสารทกล้วยไข่ และเมื่อนึกถึงกระยาสารทกล้วยไข่ต้อง “กระยาสารทวิลัยวรรณ”  
สถานที่
+
==='''สถานที่'''===
“กลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ” ตั้งอยู่เลขที่ 23/1 หมู่ที่ 8 บ้านท่าไม้แดงใต้ ตำบลลานดอกไม้ อำเภอเมืองกำแพงเพชร
+
          “กลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ” ตั้งอยู่เลขที่ 23/1 หมู่ที่ 8 บ้านท่าไม้แดงใต้ ตำบลลานดอกไม้ อำเภอเมืองกำแพงเพชร
วัสดุผลิตภัณฑ์
+
==='''วัสดุผลิตภัณฑ์'''===
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตนั้น ประกอบไปด้วย  
+
          วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตนั้น ประกอบไปด้วย  
 +
{| class="wikitable"
 +
|-
 +
! วัตถุดิบและส่วนประกอบ !! อุปกรณ์
 +
|-
 +
| 1. ถั่ว || 1. กระทะใบใหญ่
 +
|-
 +
| 2. งา || 2. ไม้พาย
 +
|-
 +
| 3. ข้าวตอก || 3. เตา ฟืน
 +
|-
 +
| 4. ข้าวเม่า || 4. ถาด
 +
|-
 +
| 5. มะพร้าว || 5. กระช้อน
 +
|-
 +
| 6. น้ำตาลปี๊บ || 6. ตะหลิว
 +
|-
 +
| 7. แบะแซ || 7. หม้อ
 +
|-
 +
| 8.น้ำผึ้ง  || 8. อุปกรณ์ห่อขนม
 +
|-
 +
| 9. กล้วยไข่ || 9. ถังน้ำและขวดสำหรับกดให้แน่น
 +
|}
 +
[[ไฟล์:8 ข้าวเม่าที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 8 ข้าวเม่าและข้าวตอกที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ''' </p>
 +
[[ไฟล์:9 น้ำผึ้งที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 9 น้ำผึ้งที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ''' </p>
 +
[[ไฟล์:10 ข้าวตอกและมะพร้าวที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 10 ข้าวตอกและมะพร้าวที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ''' </p> 
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 3 กระทะที่ใช้สำหรับกวนกระยาสารท.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 11 กะทะที่ใช้สำหรับกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ''' </p>
 +
[[ไฟล์:12 ชุดหม้อที่ใช้สำหรับผสมส่วนผสมกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 12 ชุดหม้อที่ใช้สำหรับผสมส่วนผสมกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ''' </p>
 +
[[ไฟล์:13 เครื่องปิดปากถุงด้วยลมร้อน.jpg|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 13 เครื่องปิดปากถุงด้วยลมร้อน''' </p> 
 +
[[ไฟล์:14 สถานที่ผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 14 สถานที่ผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณ''' </p> 
 +
[[ไฟล์:15 บรรจุภัณฑ์สำหรับใส่กระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 15 บรรจุภัณฑ์สำหรับใส่กระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ''' </p> 
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 ผลิตภัณฑ์กระยาสารท.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 16 ผลิตภัณฑ์กระยาสารทน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ''' </p> 
 +
==='''ประเภทการใช้งาน'''===
 +
          ขนมขบเคี้ยว
 +
==='''กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน'''===
 +
          1. นำกระทะใบใหญ่ ตั้งไฟน้ำกะทิเคี้ยวให้กะแตกมัน
 +
          2. นำกระทะอีกหนึ่งใบ (ใบเล็ก) คั่วถั่ว งา และข้าวเม่า ให้มีสีสันสวยงาม
 +
          3. ใส่น้ำตาลปี๊บลงไปคน ให้น้ำตาลและกะทิเข้ากัน ใส่น้ำผึ้งที่เตรียมไว้คนไปเรื่อย ๆ จนน้ำตาลเหนียว (ทดลองโดยนำไปหยดลงในน้ำ ถ้าน้ำตาลจับเป็นก้อน แสดงว่าใช้ได้)
 +
          4. ใส่แบะแซลงไปคนให้เข้ากัน
 +
          5. ใส่กล้วยไข่สไลด์ที่เตรียมไว้ลงไปกวนให้เข้ากับกระยาสารท
 +
          6. ลดไฟลงให้ไฟอ่อน ๆ ใส่ข้าวตอก ข้าวเม่า ถั่ว งา ที่เตรียมไว้ แล้วคนให้เข้ากัน
 +
          7. ยกกระทะลงจากเตา นำขนมที่ได้เทใส่ถาดรองรับโดยรองถุงพลาสติกเพื่อกันไม่ให้กระยาสารทติดกับถาด
 +
        8. ใช้ขวดกลิ้งทับเพื่อให้กระยาสารทแบน ตามรูปแบบ บรรจุหีบห่อให้สวยงามรอการจำหน่าย
 +
'''ขั้นตอนการผลิต'''
 +
[[ไฟล์:17 กระบวนการวิธีการทำกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ.jpg|600px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 17 กระบวนการวิธีการทำกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ''' </p>
  
วัตถุดิบและส่วนประกอบ อุปกรณ์
 
1.ถั่ว
 
2.งา
 
3.ข้าวตอก
 
4.ข้าวเม่า
 
5.มะพร้าว
 
6.น้ำตาลปี๊บ
 
7.แบะแซ
 
8.น้ำผึ้ง
 
9. กล้วยไข่ 1. กะทะใบใหญ่
 
2. ไม้พาย
 
3. เตา ฟืน
 
4. ถาด
 
5. กระช้อน
 
6. ตะหลิว
 
7. หม้อ
 
8. อุปกรณ์ห่อขนม ,
 
9. ถังน้ำและขวดสำหรับกดให้แน่น
 
 
ภาพที่ 8 ข้าวเม่าที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ
 
 
ภาพที่ 9 น้ำผึ้งที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ
 
(ที่มา : กลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ, 2561)
 
 
ภาพที่ 10 ข้าวตอกและมะพร้าวที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ
 
(ที่มา : กลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ, 2561)
 
 
 
ภาพที่ 11 กะทะที่ใช้สำหรับกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ
 
 
 
 
ภาพที่ 12 ชุดหม้อที่ใช้สำหรับผสมส่วนผสมกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ
 
 
ภาพที่ 13 เครื่องปิดปากถุงด้วยลมร้อน
 
 
 
ภาพที่ 14 สถานที่ผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณ
 
 
ภาพที่ 15 บรรจุภัณฑ์สำหรับใส่กระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ
 
 
 
ภาพที่ 16 ผลิตภัณฑ์กระยาสารทน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ
 
ประเภทการใช้งาน
 
ขนมขบเคี้ยว
 
กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน
 
1. นำกระทะใบใหญ่ ตั้งไฟน้ำกะทิเคี้ยวให้กะแตกมัน
 
2. นำกระทะอีกหนึ่งใบ (ใบเล็ก) คั่วถั่ว งา และข้าวเม่า ให้มีสีสันสวยงาม
 
3. ใส่น้ำตาลปี๊บลงไปคน ให้น้ำตาลและกะทิเข้ากัน ใส่น้ำผึ้งที่เตรียมไว้คนไปเรื่อย ๆ จนน้ำตาลเหนียว (ทดลองโดยนำไปหยดลงในน้ำ ถ้าน้ำตาลจับเป็นก้อน แสดงว่าใช้ได้)
 
4. ใส่แบะแซลงไปคนให้เข้ากัน
 
5. ใส่กล้วยไข่สไลด์ที่เตรียมไว้ลงไปกวนให้เข้ากับกระยาสารท
 
6. ลดไฟลงให้ไฟอ่อน ๆ ใส่ข้าวตอก ข้าวเม่า ถั่ว งา ที่เตรียมไว้ แล้วคนให้เข้ากัน
 
7. ยกกระทะลงจากเตา นำขนมที่ได้เทใส่ถาดรองรับโดยรองถุงพลาสติกเพื่อกันไม่ให้กระยาสารทติดกับถาด
 
8. ใช้ขวดกลิ้งทับเพื่อให้กระยาสารทแบน ตามรูปแบบ บรรจุหีบห่อให้สวยงามรอการจำหน่าย
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ขั้นตอนการผลิต
 
 
 
 
 
ภาพที่ 17 กระบวนการวิธีการทำกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ
 
(ที่มา : กลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ, 2561)
 
 
=='''ข้อมูลการสำรวจ'''==
 
=='''ข้อมูลการสำรวจ'''==
วันเดือนปีที่สำรวจ  
+
==='''วันเดือนปีที่สำรวจ'''===
วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
+
          วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2561
วันปรับปรุงข้อมูล
+
==='''วันปรับปรุงข้อมูล'''===
-
+
          -
ผู้สำรวจข้อมูล
+
==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''===
นางสาววีรวรรณ แจ้งโม้
+
          นางสาววีรวรรณ แจ้งโม้
คำสำคัญ (TAG)
+
==='''คำสำคัญ (tag)'''===
กระยาสารท, กระยาสารทกล้วยไข่, จังหวัดกำแพงเพชร
+
          กระยาสารท, กระยาสารทกล้วยไข่, จังหวัดกำแพงเพชร

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:20, 1 มีนาคม 2564

ภาพที่ 5 ผลิตภัณฑ์กระยาสารท.jpg

ข้อมูลทั่วไป[แก้ไข]

ชื่อเรียก[แก้ไข]

         กระยาสารทกล้วยไข่ ตราวิลัยวรรณ

ชื่อเรียกอื่น ๆ[แก้ไข]

         กระยาสารท

คำอธิบาย[แก้ไข]

         กระยาสารทเป็นขนมที่พบได้ทั่วไปในประเทศไทย กระยาสารทนับว่าเป็นภูมิปัญญาไทยในการถนอมอาหาร ในฤดูที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์ จึงเก็บอาหารที่เหลือไว้รับประทานในฤดูขาดแคลน การรับประทานกระยาสารทให้อร่อยต้องรับประทานกับกล้วยไข่
         กระยา หมายถึง เครื่อง สิ่งของ เครื่องกิน 
         สารท หมายถึง เทศกาลทำบุญในวันสิ้นเดือนสิบ โดยนำพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์และข้าวมธุปายาส ถวายพระสงฆ์
         ดังนั้นกระยาสารทจึงหมายถึง เครื่องกินที่ทำกันนเทศกาลเดือนสิบ โดยนำพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์ และข้าวมธุปายาส ถวายพระสงฆ์ ประเพณีวันสารท ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 หรือช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี โดยในวันทำบุญนั้นชาวบ้านจะนำอาหารมาถวายพระ โดยอาหารหวานที่ใช้ถวายพระในวันนั้นก็คือ “กระยาสารท” สังเกตได้ว่า การทำบุญในวันสารทไทยทุกวัดจะเต็มไปด้วยมหกรรมกระยาสารทที่ชาวบ้านนำมาร่วมทำบุญ
         ในอดีตเมื่อถึงเทศกาลสารทไทย ชาวบ้านมักจะนิยมกวนกระยาสารทแข่งกันเป็นที่สนุกสนานและตามธรรมเนียมแล้ว คนรุ่นเก่าจะนิยมนำกระยาสารท ซึ่งถือเป็นขนมชั้นดีไปมอบให้ผู้หลักผู้ใหญ่ที่นับถือ หรือแลกกันในหมู่บ้านเพื่อเป็นการประชันฝีมือกันอีกด้วย และถ้าจะกินกระยาสารทให้ครบเครื่องจริงๆ จะต้องมีมะพร้าวขูดโรยบนกระยาสารทแล้วกินคู่กับกล้วยไข่นั้นเอง
         ประเพณีทำบุญสารทนี้ มีอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของไทย แต่จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปตามแต่ละภูมิภาค เช่น ภาคใต้ เรียก "ประเพณีชิงเปรต" ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก "ทำบุญข้าวสาก" และภาคเหนือ เรียก "ตานก๋วยสลาก" เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเรียกชื่อต่างกันแต่คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนาก็เป็นไปในทางเดียวกัน คือ ทำบุญเพื่ออุทิศส่วนบุญให้ปู่ย่าตายายและญาติมิตรทั้งหลาย ที่ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง 
         จึงเป็นอันสรุปได้ว่า "ประเพณีสารท เป็นฤดูกาลแห่งการเก็บเกี่ยวพืชพันธุ์ธัญญาหารช่วงปลายฤดูฝนเริ่มเข้าต้นฤดูหนาว โดยเหตุที่ความเชื่อของชาวอินเดียผูกพันอยู่กับเทพเจ้าในธรรมชาติ ดังนั้นเมื่อได้ผลผลิตจากการเก็บเกี่ยวคราวแรกจึงนำไปบวงสรวงบูชาเทพเจ้าตามความเชื่อของตน ซึ่งความเชื่อเช่นนี้ คงมีอยู่ทั่วไปในสังคมบรรพกาลทั่วโลก"
         สารท (สาด) นี้ เป็นคำที่เรายืมอินเดียมาใช้ทั้งคำ ต่างจากแต่อินเดียจะออกเสียงว่า สา-ระ-ทะ และไม่ได้ใช้เรียกเฉพาะวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 เท่านั้น แต่ยังเป็นชื่อของฤดูกาลในประเทศอินเดียอีกด้วย ซึ่งจะตกอยู่ในช่วงเดือน 10-12 ตามปฏิทินจันทรคติ ของที่ทําในเทศกาลสารทเพื่อถวายพระสงฆ์นี้ เรียกว่า "กระยาสารท" แปลว่า "อาหารที่ทําในฤดูสารท" กระยาสารทนี้คงจะเนื่องมาจากข้าวมธุปายาส ซึ่งเป็นอาหารของชาวอินเดีย ใช้ข้าว น้ำตาล น้ำนม ผสมกัน และไม่กําหนดว่าทําเฉพาะฤดูสารท บางทีเขาทํากินกันเอง เช่น ที่นางสุชาดาหุงถวายพระพุทธเจ้าก็เป็นเวลาเดือนหก เฉพาะในประเทศไทย ที่ได้รับอิทธิพลความเชื่อจากอินเดียผ่านอารยธรรมยุคต่างๆ ในภูมิภาคแถบอุษาคเนย์นี้ ก็คงเลือกรับปรับประยุกต์เข้ามาเป็นวิถีในการดำเนินชีวิตบ้างไม่มากก็น้อย กระทั่งเมื่อประชาชนได้ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนามากขึ้น การเซ่นสรวงบูชาเทพเจ้าด้วยผลผลิตจากการเพาะปลูกจึงเคลื่อนตัวมาเป็นการทำบุญถวายทาน ตามคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา แต่ถึงกระนั้น ก็มิได้หมายความว่า ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในธรรมชาติจะหมดไปเสียทีเดียว ดังจะพบได้จากพิธีกรรมเกี่ยวกับแม่โพสพ เช่น การทำพิธีรับขวัญข้าว เป็นต้น "ผู้ที่เคยนับถือศาสนาพราหมณ์แล้วกลับมานับถือพระพุทธศาสนา เมื่อถึงคราวที่เคยทําบุญตามฤดูกาลให้แก่พราหมณ์ ก็จัดทําถวายพระสงฆ์เหมือนที่เคยทําแก่พราหมณ์ ถือกันว่า การทําบุญด้วยของแรกได้เป็นผลานิสงส์อย่างยิ่งและเมื่อทําบุญแล้ว มักจะกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว การทําพิธีอุทิศให้แก่ผู้ตายของชาวฮินดูเรียกว่า “ศราทธ์” การออกเสียงจะเหมือนกับคําว่า “สารท” ในภาษาไทยซึ่งเป็นชื่อฤดู" 
         พระราชรัตนรังษี (วีรยุทธ วีรยุทฺโธ) พระธรรมทูต สายประเทศอินเดีย ประธานสงฆ์วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ ประเทศอินเดีย ปฏิบัติการเจ้าอาวาส วัดไทยลุมพินี ประเทศเนปาล บอกว่า นอกจากกระยาสารทที่มักทำเฉพาะเทศกาลสารทแล้ว ก็ยังมีข้าวยาคู ข้าวมธุปายาส และข้าวทิพย์ ซึ่งแม้จะเรียกต่างกัน แต่ปัจจุบันจะหมายรวมๆ กันไป
         ข้าวยาคู มีตำนานเล่ามาว่า มีชาวนาพี่น้องสองคน คนโตชื่อว่า “มหาการ” น้องชื่อ “จุลการ” มีไร่นา กว้างใหญ่ ในฤดูที่ข้าวตั้งท้องออกรวง คนน้องเห็นว่าควรจะนำข้าวนั้นมาทำอาหารถวายพระพุทธเจ้า ผู้ทรงนามว่า “วิปัสสี” แต่พี่ชายไม่เห็นด้วย เพราะจะต้องเสียข้าวในนาจำนวนไม่น้อย น้องชายจึงแบ่งไร่นาและนำเมล็ดข้าวในสวนไร่นาของตนไปทำอาหารที่เรียกว่า ข้าวยาคู ไปถวายพระวิปัสสี และอธิษฐานขอให้เกิดในบวรพระพุทธศาสนา ซึ่งภายหลังจุลการได้เกิดเป็นพระอัญญาโกณฑัญญะ 
         วิธีการทำข้าวยาคูนี้ จุลการได้นำข้าวสาลีที่กำลังท้องฉีกรวงข้าวอ่อนออกมา แล้วต้มในน้ำนมสด เจือด้วยเนยใส น้ำผึ้ง และน้ำตาลกรวด ส่วนข้าวมธุปายาส คือ ข้าวที่หุงเจือด้วยน้ำนม และน้ำผึ้ง มีตำนานเล่าว่า นางสุชาดา ลูกสาวเศรษฐีปรุงขึ้นเป็นอาหารไปแก้บนและได้เห็นพระพุทธเจ้า เมื่อเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ประทับใต้ต้นนิโครธ(ต้นไทร) ก็เข้าใจพระองค์เป็นเทพยดา จึงนำอาหารนั้นไปถวาย พระโพธิสัตว์จึงได้เสวยข้าวมธุปายาสเป็นอาหารมื้อสุดท้าย ก่อนจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า จึงมีความเชื่อกันว่า ข้าวมธุปายาส เป็นอาหารวิเศษ ผู้ใดมีวาสนาได้กินแล้วจะมีร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคภัย อุดมด้วยสติปัญญา และเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต
         สำหรับประเทศไทยนั้น ประเพณีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) เป็นพระราชพิธีที่กระทำกันในเดือน 10 ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับการฟื้นฟูครั้งใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ 1 และมาละเว้นเลิกราไปในสมัยรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 3 แล้วมาได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา แต่ในปัจจุบันส่วนใหญ่ชาวพุทธนิยมทำเพื่อถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ และบูชาพระรัตนตรัย รวมทั้งอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายซึ่งจะจัดกันในเดือน 12 หรือเดือนหนึ่ง โดยถือเอาระยะที่ข้าวกล้าในท้องนามีรวงข้าวเป็นน้ำนมของแต่ละปี และความพร้อมเพรียงของชาวบ้านเป็นสำคัญ เมื่อพิจารณาประเพณีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) ในจังหวัดกำแพงเพชรสามารถพบได้ที่วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร
ภาพที่ 7 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส.jpg
ภาพที่ 7 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส2.jpg

ภาพที่ 1-4 ภาพการจัดเตรียมงานประเพณีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) ณ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร

5-6 แสดงวิธีการกวนข้าวข้าวมธุปายาส.jpg

ภาพที่ 5-6 แสดงวิธีการกวนข้าวข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) ณ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร

         ซึ่งมีวิธีการทำคล้ายคลึงกับกระยาสารททั้งส่วนประกอบและลักษณะการทำ โดยมีอุปกรณ์ในการกวน เครื่องกวนและขั้นดำเนินการดังนี้  
         1. อุปกรณ์ในการกวน ประกอบด้วย
             ก. เตา ทำจากถังน้ำมันขนาด 500 ลิตร สูงประมาณ 2 ฟุต
             ข. กระทะใบบัว
             ค. พายไม้
         2. เครื่องกวน ประกอบด้วย
             ก. ข้าว ใช้แป้งข้าวเหนียว และแป้งข้าวเจ้า
             ข. ถั่วลิสง
             ค. งาดำ
             ง. งาขาว 
             จ. น้ำผึ้ง น้ำตาลทราย
             ฉ. นมข้นหวาน
             ช. มะพร้าว คั้นเอาแต่กะทิ ตั้งไฟเคี่ยวให้ขึ้นน้ำมัน
             ซ. เนย
         3. ขั้นดำเนินการ
             ก. นำเครื่องปรุงที่เตรียมไว้ทุกอย่างเทใส่กระทะใบบัวคนให้เข้ากัน ไม่มีสูตรในการกำหนดอัตราส่วนของเครื่องที่แน่นอน จำนวนข้าวทิพย์จะมากน้อยขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่มี ดังนั้น รสชาติในแต่ละปีจะไม่เหมือนกัน
             ข. ก่อนเริ่มกวนข้าวทิพย์พระสงฆ์จะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา โดยพระสงฆ์จะเป็นผู้ทำพิธีบูชาพระรัตนตรัย จากนั้นสวดเจริญพระพุทธมนต์ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร
             ค. นักเรียนจำนวน 4 – 6 คน ซึ่งเป็นสาวพรหมจรรย์ นุ่งขาวห่มขาว เริ่มประกอบพิธีกวนข้าวมธุปายาส (ข้าวทิพย์) และเมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตร์จบนักเรียนก็จะเปลี่ยนให้คนในชุมชนท้องถิ่นที่มาร่วมกิจกรรมเป็นผู้กวนต่อไปจนกว่าจะเสร็จ ใช้เวลากวนประมาณ 3 ชั่วโมง 

เมื่อเสร็จแล้ว ก็จะแบ่งปันข้าวมธุปายาสหรือข้าวทิพย์ ไปบริโภคเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตน และนำไปฝากบุคคลในครอบครัว หรือผู้ที่ตนเคารพนับถือ

         การทำบุญในเทศกาลสารท ไม่ว่าจะเรียกชื่อต่างกันอย่างไร คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนาก็เป็นไปในทางเดียวกันคือ ทำบุญเพื่ออุทิศส่วนบุญให้ปู่ย่าตายายและญาติมิตรทั้งหลายที่ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง(คม ชัด ลึก, 2561) ในจังหวัดกำแพงเพชรนั้น มีการกวนกระยาสารทกันโดยทั่วไป ในอดีตกวนกันเกือบทุกบ้าน ไม่มีจำหน่าย แต่จะแจกกันเมื่อกวนแล้ว ส่วนสำคัญจะนำไปถวายพระ และกำแพงเพชรเป็นเมืองกล้วยไข่ จึงมีกล้วยไข่เป็นเครื่องเคียงที่อร่อยมาก กล้วยไข่ที่กำแพงเพชรมีมานานแล้ว มิใช่พึ่งมีเหมือนดังที่เข้าใจกัน และประเพณีสารทไทย กล้วยไข่นั้นคู่กับกำแพงเพชรมานับร้อยปี
กระยาสารท วิลัยวรรณ
         ในจังหวัดกำแพงเพชรนั้นนับว่าเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีความโดดเด่นด้านการแปรรูปกระยาสารท โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์กระยาสารทกล้วยไข่ซึ่งผลิตโดยกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของสตรีในหมู่บ้านที่มีความคิดที่อยากจะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ จำนวน 7 คน รวมตัวกันเพื่อจัดตั้งกลุ่มทำขนมไทย ขนมพื้นบ้านจำหน่าย ในหมู่บ้านและตำบลข้างเคียง เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 
         จึงมีความคิดที่เห็นพ้องต้องกัน คือการรวมกลุ่มเพื่อทำขนมกระยาสารท ประกอบกับจังหวัดกำแพงเพชร จะมีงานประเพณีวัฒนธรรมที่สืบสานกันมาอย่างต่อเนื่อง ในช่วงเทศกาลงานสารท คือ งานสารทไทยกล้วยไข่เมืองกำแพง จึงคิดริเริ่มจัดตั้งกลุ่ม ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา ซึ่งยึดเป็นอาชีพเสริม จากการทำอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม การดำเนินการในช่วงแรกคือ การทำกระยาสารทแบบทั่วไปและการนำผลไม้ในท้องถิ่นเช่นกล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ มาทำเป็นขนมเช่นกล้วยฉาบ กล้วยเค็ม แต่สินค้าที่ทำก็ไม่ค่อยแตกต่างจากกลุ่มอื่น การจำหน่ายก็ไม่ค่อยดีนัก จึงเกิดการรวบรวมความคิดจากสมาชิกและมาทดลองทำ ต่อมาในปี 2550 กลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ได้มีโอกาสไปดูงานกลุ่มกระยาสารทที่ต่างจังหวัด จึงได้คิดริเริ่มทำกระยาสารน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่ ซึ่งกระยาสารทกล้วยไข่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเด่นและจำหน่ายได้ดี ทำให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น จึงเริ่มทำออกจำหน่ายสู่ท้องตลาดมาตั้งแต่ปลายปี 2549 การทำกระยาสารทกล้วยไข่เป็นการเพิ่มมูลค่าให้ผลไม้ในท้องถิ่นด้วย
         ในปัจจุบันกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งภายในจังหวัดและภายนอกจังหวัดเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัดกำแพงเพชร ทำให้การกระบวนการผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณเน้นไปที่การผลิตเพื่อส่งให้กับพ่อค้าคนกลางภายในจังหวัดกำแพงเพชร อาทิ ไร่ส้ม เพื่อเป็นแหล่งกระจายสินค้าแก่นักท่องเที่ยวต่อไป โดยผลิตภัณฑ์ที่ส่งให้กับพ่อค้าคนกลางหลักๆ มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ กระบาสารทน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่
ภาพที่ 5 ผลิตภัณฑ์กระยาสารท.jpg

ภาพที่ 7 กระยาสารน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่ของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ

         กระยาสารทรสดั้งเดิมของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณคือ กระยาสารทรสน้ำผึ้ง การใส่น้ำผึ้งเข้าไปในกระยาสารทนั้นนับว่าเป็นเคล็บลับอีกอย่างของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณเนื่องจากจะทำให้กระยาสารทมีกลิ่นหอมหวานที่ได้จากน้ำผึ้ง แต่อีกผลิตภัณฑ์ที่นับว่าเป็นจุดเด่นของกลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณคือ กระยาสารทกล้วยไข่ นั้นเอง กระยาสารทกล้วยไข่ เกิดจากความต้องการของกลุ่มฯ เพื่อต้องการให้ผลิตภัณฑ์ของตนเองมีเอกลักษณ์และจุดเด่นแตกต่างจากผลิตภัณฑ์กระยาสารทของกลุ่มกระยาสารทอื่นๆ ทำให้ปัจจุบันเมื่อพูดถึงกระยาสารทเมืองกำแพง ต้องนึกถึงกระยาสารทกล้วยไข่ และเมื่อนึกถึงกระยาสารทกล้วยไข่ต้อง “กระยาสารทวิลัยวรรณ” 

สถานที่[แก้ไข]

         “กลุ่มกระยาสารทวิลัยวรรณ” ตั้งอยู่เลขที่ 23/1 หมู่ที่ 8 บ้านท่าไม้แดงใต้ ตำบลลานดอกไม้ อำเภอเมืองกำแพงเพชร

วัสดุผลิตภัณฑ์[แก้ไข]

         วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตนั้น ประกอบไปด้วย 
วัตถุดิบและส่วนประกอบ อุปกรณ์
1. ถั่ว 1. กระทะใบใหญ่
2. งา 2. ไม้พาย
3. ข้าวตอก 3. เตา ฟืน
4. ข้าวเม่า 4. ถาด
5. มะพร้าว 5. กระช้อน
6. น้ำตาลปี๊บ 6. ตะหลิว
7. แบะแซ 7. หม้อ
8.น้ำผึ้ง 8. อุปกรณ์ห่อขนม
9. กล้วยไข่ 9. ถังน้ำและขวดสำหรับกดให้แน่น
8 ข้าวเม่าที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg

ภาพที่ 8 ข้าวเม่าและข้าวตอกที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ

9 น้ำผึ้งที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg

ภาพที่ 9 น้ำผึ้งที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ

10 ข้าวตอกและมะพร้าวที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg

ภาพที่ 10 ข้าวตอกและมะพร้าวที่ใช้ในการทำกระยาสารทวิลัยวรรณ

ภาพที่ 3 กระทะที่ใช้สำหรับกวนกระยาสารท.jpg

ภาพที่ 11 กะทะที่ใช้สำหรับกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ

12 ชุดหม้อที่ใช้สำหรับผสมส่วนผสมกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg

ภาพที่ 12 ชุดหม้อที่ใช้สำหรับผสมส่วนผสมกวนกระยาสารทวิลัยวรรณ

13 เครื่องปิดปากถุงด้วยลมร้อน.jpg

ภาพที่ 13 เครื่องปิดปากถุงด้วยลมร้อน

14 สถานที่ผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณ.jpg

ภาพที่ 14 สถานที่ผลิตกระยาสารทวิลัยวรรณ

15 บรรจุภัณฑ์สำหรับใส่กระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ.jpg

ภาพที่ 15 บรรจุภัณฑ์สำหรับใส่กระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ

ภาพที่ 5 ผลิตภัณฑ์กระยาสารท.jpg

ภาพที่ 16 ผลิตภัณฑ์กระยาสารทน้ำผึ้งและกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ

ประเภทการใช้งาน[แก้ไข]

         ขนมขบเคี้ยว 

กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน[แก้ไข]

         1. นำกระทะใบใหญ่ ตั้งไฟน้ำกะทิเคี้ยวให้กะแตกมัน
         2. นำกระทะอีกหนึ่งใบ (ใบเล็ก) คั่วถั่ว งา และข้าวเม่า ให้มีสีสันสวยงาม
         3. ใส่น้ำตาลปี๊บลงไปคน ให้น้ำตาลและกะทิเข้ากัน ใส่น้ำผึ้งที่เตรียมไว้คนไปเรื่อย ๆ จนน้ำตาลเหนียว (ทดลองโดยนำไปหยดลงในน้ำ ถ้าน้ำตาลจับเป็นก้อน แสดงว่าใช้ได้)
         4. ใส่แบะแซลงไปคนให้เข้ากัน
         5. ใส่กล้วยไข่สไลด์ที่เตรียมไว้ลงไปกวนให้เข้ากับกระยาสารท
         6. ลดไฟลงให้ไฟอ่อน ๆ ใส่ข้าวตอก ข้าวเม่า ถั่ว งา ที่เตรียมไว้ แล้วคนให้เข้ากัน
         7. ยกกระทะลงจากเตา นำขนมที่ได้เทใส่ถาดรองรับโดยรองถุงพลาสติกเพื่อกันไม่ให้กระยาสารทติดกับถาด
        8. ใช้ขวดกลิ้งทับเพื่อให้กระยาสารทแบน ตามรูปแบบ บรรจุหีบห่อให้สวยงามรอการจำหน่าย
ขั้นตอนการผลิต
17 กระบวนการวิธีการทำกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ.jpg

ภาพที่ 17 กระบวนการวิธีการทำกระยาสารทกล้วยไข่วิลัยวรรณ

ข้อมูลการสำรวจ[แก้ไข]

วันเดือนปีที่สำรวจ[แก้ไข]

         วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2561

วันปรับปรุงข้อมูล[แก้ไข]

         -

ผู้สำรวจข้อมูล[แก้ไข]

         นางสาววีรวรรณ แจ้งโม้

คำสำคัญ (tag)[แก้ไข]

         กระยาสารท, กระยาสารทกล้วยไข่, จังหวัดกำแพงเพชร