ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง ชนเผ่าม้ง อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร"
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 76: | แถว 76: | ||
แนวคิดที่สอง ได้รับอิทธิพลจากตำนานของลาวกับจีน เน้นถึงความคล้องจองของชื่อสินชัยของลาว กับ Xeem Xais ของชนเผ่าม้ง และคำว่าชนเผ่าม้ง (Hmood /Mood) กับ มองโกเลีย (Muam- Nkauj Liag) ความเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมทั้งสามกลุ่ม รวมถึงระบบตัวเขียนพ่าเฮา (Phaj Hauj) ในประเทศลาวก่อนสิ้นสุดยุคสงครามเวียดนาม | แนวคิดที่สอง ได้รับอิทธิพลจากตำนานของลาวกับจีน เน้นถึงความคล้องจองของชื่อสินชัยของลาว กับ Xeem Xais ของชนเผ่าม้ง และคำว่าชนเผ่าม้ง (Hmood /Mood) กับ มองโกเลีย (Muam- Nkauj Liag) ความเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมทั้งสามกลุ่ม รวมถึงระบบตัวเขียนพ่าเฮา (Phaj Hauj) ในประเทศลาวก่อนสิ้นสุดยุคสงครามเวียดนาม | ||
แนวคิดที่สาม อิงหลักจากฐานทางประวัติศาสตร์ของจีนและตำนานที่สืบทอดจากบรรพบุรุษเป็นหลัก ซึ่งเชื่อว่าบรรพบุรุษชนเผ่าม้งอพยพมาจากชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันออกของประเทศจีน หรือบริเวณทะเลเหลือง โดยค่อย ๆ เคลื่อนย้ายทำมาหากินตามแม่น้ำฮวงโห (แม่น้ำเหลือง หรือ Dej - Nag) เข้ามาสู่บริเวณที่ปัจจุบันเป็นภาคกลางของประเทศจีน ซึ่งมีหลักฐานทางวัฒนธรรมของชนเผ่าม้งบางอย่างที่เกี่ยวพันกับทะเลและแม่น้ำเหลือง เช่น ลายผ้ารูปก้นหอย เส้นตักขวางสองเส้นบนลายกระโปรงของหญิง ชนเผ่าม้งจั๊วะที่เป็นสัญลักษณ์ของแม่น้ำเหลืองและแม่น้ำแยงซีเกียง และภาษิตกับตำนานชนเผ่าม้งเกี่ยวกับแม่น้ำเหลือง | แนวคิดที่สาม อิงหลักจากฐานทางประวัติศาสตร์ของจีนและตำนานที่สืบทอดจากบรรพบุรุษเป็นหลัก ซึ่งเชื่อว่าบรรพบุรุษชนเผ่าม้งอพยพมาจากชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันออกของประเทศจีน หรือบริเวณทะเลเหลือง โดยค่อย ๆ เคลื่อนย้ายทำมาหากินตามแม่น้ำฮวงโห (แม่น้ำเหลือง หรือ Dej - Nag) เข้ามาสู่บริเวณที่ปัจจุบันเป็นภาคกลางของประเทศจีน ซึ่งมีหลักฐานทางวัฒนธรรมของชนเผ่าม้งบางอย่างที่เกี่ยวพันกับทะเลและแม่น้ำเหลือง เช่น ลายผ้ารูปก้นหอย เส้นตักขวางสองเส้นบนลายกระโปรงของหญิง ชนเผ่าม้งจั๊วะที่เป็นสัญลักษณ์ของแม่น้ำเหลืองและแม่น้ำแยงซีเกียง และภาษิตกับตำนานชนเผ่าม้งเกี่ยวกับแม่น้ำเหลือง | ||
− | จากแนวคิดที่เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดของชนเผ่าม้ง แนวคิดที่สามมีความน่าเชื่อถือได้มาก เพราะมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของจีนและมีเอกลักษณ์ในวิถีชีวิตประจำวันของชนเผ่าม้งที่สอดคล้องกับบริบทสภาพแวดล้อม ซึ่งตามหลักฐานของจีนกล่าวว่าแหล่งกำเนิดของชนชาติ “เหมียว” มีความสัมพันธ์กับ “ซานเหมียว” และ “หนานหมาน” ในยุคดึกดำบรรพ์ คือประมาณ 5,000 ปีก่อน นักประวัติศาสตร์จีนสันนิฐานว่า บรรพบุรุษชาวเหมียวหรือชนเผ่าม้งน่าจะมาจากสัมพันธมิตรชนเผ่าที่เรียกตัวเองว่า “จิวลี่” ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้ำเหลืองและแม่น้ำแยงซีเกียง มีจีเย่อ (Txiv | + | จากแนวคิดที่เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดของชนเผ่าม้ง แนวคิดที่สามมีความน่าเชื่อถือได้มาก เพราะมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของจีนและมีเอกลักษณ์ในวิถีชีวิตประจำวันของชนเผ่าม้งที่สอดคล้องกับบริบทสภาพแวดล้อม ซึ่งตามหลักฐานของจีนกล่าวว่าแหล่งกำเนิดของชนชาติ “เหมียว” มีความสัมพันธ์กับ “ซานเหมียว” และ “หนานหมาน” ในยุคดึกดำบรรพ์ คือประมาณ 5,000 ปีก่อน นักประวัติศาสตร์จีนสันนิฐานว่า บรรพบุรุษชาวเหมียวหรือชนเผ่าม้งน่าจะมาจากสัมพันธมิตรชนเผ่าที่เรียกตัวเองว่า “จิวลี่” ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้ำเหลืองและแม่น้ำแยงซีเกียง มีจีเย่อ (Txiv Yawg) เป็นหัวหน้าและถูกผู้นำชนเผ่าอีกฝ่ายหนึ่ง คือ ห้วงตี่ (Faj Tim) ในปัจจุบันเข้าใจกันว่าน่าจะเป็นบรรพบุรุษของจีนนำกองกำลังเข้าโจมตีและครอบครองพื้นที่ดังกล่าวจากนั้นชาวเหมียวหรือ ชนเผ่าม้งจึงอพยพลงทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เข้าสู่ทะเลสาบต้งถิง (Dong Teng) ทะเลสาบ โปยาง (PoYang) แล้วเคลื่อนย้ายเข้าสู่มณฑลเสฉวนกุ้ยโจวในที่สุด |
− | การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติกับการรุกรานของชาวมองโกล ชาวแมนจู และชาวฮั่น ทำให้เกิดสงครามระหว่างชนเผ่าม้งกับผู้รุกรานหลายครั้ง นอกจากนั้นนโยบายการสร้างรัฐชาติและการขุดรีดภาษีจากรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น ทำให้ชนเผ่าม้งทนไม่ไหวและได้ลุกขึ้นก่อการกบฏหลายครั้งในประวัติศาสตร์จีนในแต่ละครั้งได้รับการปราบปรามอย่างหนัก ส่งผลต่อการอพยพของชนเผ่าม้งจากประเทศจีนเข้าสู่บริเวณภาคเหนือของประเทศเวียดนาม | + | การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติกับการรุกรานของชาวมองโกล ชาวแมนจู และชาวฮั่น ทำให้เกิดสงครามระหว่างชนเผ่าม้งกับผู้รุกรานหลายครั้ง นอกจากนั้นนโยบายการสร้างรัฐชาติและการขุดรีดภาษีจากรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น ทำให้ชนเผ่าม้งทนไม่ไหวและได้ลุกขึ้นก่อการกบฏหลายครั้งในประวัติศาสตร์จีนในแต่ละครั้งได้รับการปราบปรามอย่างหนัก ส่งผลต่อการอพยพของชนเผ่าม้งจากประเทศจีนเข้าสู่บริเวณภาคเหนือของประเทศเวียดนาม ลาว ไทย และพม่า |
− | + | '''ตารางที่ 4''' จำนวนประชากรชนเผ่าม้งในประเทศต่าง ๆ ปี 2544 - 2546 | |
− | + | {| class="wikitable" | |
− | + | |- | |
− | + | ! ลำดับ !! ประเทศ !! จำนวนประชากร !! หมายเหตุ | |
− | + | |- | |
− | + | | 1 ||จีน ||7,398,053 ||รวมม้งทุกกลุ่ม | |
− | ตารางที่ 4 จำนวนประชากรชนเผ่าม้งในประเทศต่าง ๆ ปี 2544 - 2546 | + | |- |
− | ลำดับ ประเทศ จำนวนประชากร หมายเหตุ | + | | 2|| เวียดนาม ||787,604|| รวมม้งทุกกลุ่ม |
− | 1 จีน 7,398,053 รวมม้งทุกกลุ่ม | + | |- |
− | 2 เวียดนาม 787,604 รวมม้งทุกกลุ่ม | + | | 3 ||ลาว ||315,465 |
− | 3 ลาว 315,465 | + | |- |
− | 4 สหรัฐอเมริกา 520,000 | + | | 4 ||สหรัฐอเมริกา ||520,000 |
− | 5 ไทย 126,300 | + | |- |
− | 6 พม่า 25,000 ประมาณ | + | | 5 ||ไทย|| 126,300 |
− | 7 ฝรั่งเศส 10,000 | + | |- |
− | 8 ออสเตรเลีย 1,600 | + | | 6 ||พม่า|| 25,000 ||ประมาณ |
− | 9 เฟรนช์เกียน่า 1,400 | + | |- |
− | 10 แคนาดา 600 | + | | 7 ||ฝรั่งเศส|| 10,000 |
− | 11 อาร์เจนติน่า 500 ประมาณ | + | |- |
− | 12 เยอรมัน 150 ประมาณ | + | | 8 ||ออสเตรเลีย|| 1,600 |
− | 13 นิวซีแลนด์ 100 ประมาณ | + | |- |
− | + | | 9 ||เฟรนช์เกียน่า ||1,400 | |
− | + | |- | |
− | + | | 10 ||แคนาดา ||600 | |
− | ภาพที่ 1 แผนที่แสดงถึงการเคลื่อนย้ายของชนเผ่าม้ง ในประเทศไทย | + | |- |
− | + | | 11 ||อาร์เจนติน่า ||500 ||ประมาณ | |
− | + | |- | |
− | + | | 12 ||เยอรมัน ||150 ||ประมาณ | |
− | ชนเผ่าม้งในประเทศไทย ในปัจจุบันมีประชากรทั้งสิ้น 124,211 คน โดยกระจายตัวอยู่ใน 12 | + | |- |
− | ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าม้งในประเทศไทย | + | | 13 || นิวซีแลนด์ ||100|| ประมาณ |
− | + | |} | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 1 แผนที่.jpg|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 1 แผนที่แสดงถึงการเคลื่อนย้ายของชนเผ่าม้ง ในประเทศไทย''' </p> | |
− | + | ในดินแดนล้านนาหรือภาคเหนือของประเทศไทย ชนเผ่าม้งเริ่มอพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่งระหว่างช่วงต่อคริสต์ศักราช 1800 และ 1900 โดยในบันทึกของชาวตะวันตกพบว่า มีชนเผ่าม้งตั้งหมู่บ้านอยู่ในจังหวัดตากก่อนหน้าปี ค.ศ.1929 จากเอกสารของกระทรวงศึกษาธิการโรงเรียนของรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นในชุมชนชนเผ่าม้งแห่งแรกคือ ที่บ้านนายเลาต๋า หมู่บ้านชนเผ่าม้ง อำเภออุ้งผาง จังหวัดตากเป็นโรงเรียนประชาบาล สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2478 หรือ ปี ค.ศ.1935 | |
− | + | ชนเผ่าม้งในประเทศไทย ในปัจจุบันมีประชากรทั้งสิ้น 124,211 คน โดยกระจายตัวอยู่ใน 12 จังหวัดทางภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดลำปาง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดสุโขทัย ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีชนเผ่าม้งอยู่ในจังหวัดเลย โดยชนเผ่าม้งอาศัยอยู่ เป็นจำนวนมากในจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน และจังหวัดเพชรบูรณ์ | |
− | + | ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าม้งในประเทศไทย จะนิยมตั้งหมู่บ้านอยู่ในระดับความสูงประมาณ1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล เนื่องจากความสูงในระดับนี้เหมาะสำหรับการเพาะปลูกฝิ่น ในอดีตนั้นชนเผ่าม้งมักอพยพหมู่บ้านบ่อยครั้ง เนื่องจากปัญหาที่ดินทำกินขาดความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาภัยสงครามทางการเมืองระหว่างรัฐบาลไทยกับพรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่งการอพยพในแง่หนีสงครามเป็นไปตามความต้องการของรัฐเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและการแย่งชินมวลชนตามนโยบายรัฐบาล | |
− | + | ==='''ชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร'''=== | |
− | + | อำเภอคลองลาน เดิมเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอเมืองกำแพงเพชร มีชื่อว่า “ตำบลโป่งน้ำร้อน” ในปี พ.ศ.2519 แยกตำบลออกเป็นตำบลคลองน้ำไหล ในปี พ.ศ.2520 แยกตำบลออกเป็นตำบลคลองลานพัฒนา ในปี พ.ศ.2521 ยกฐานะขึ้นเป็น “กิ่งอำเภอคลองลาน” เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2529 ได้รับการยกฐานะเป็น“อำเภอคลองลาน” | |
− | + | อำเภอคลองลาน อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด อาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้ | |
− | + | ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอวังเจ้า (จังหวัดตาก) และ อำเภอโกสัมพีนคร | |
− | + | ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอเมืองกำแพงเพชร | |
− | + | ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอปางศิลาทอง | |
− | + | ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภออุ้มผาง และ อำเภอพบพระ (จังหวัดตาก) | |
− | + | นายพรมชาติ จิตชยานนท์กุล กล่าวว่า ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน มีการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานราวประมาณ ปี พ.ศ.2518-2519 บางกลุ่มก็ย้ายเข้ามาราวปี พ.ศ.2522 ส่วนใหญ่ย้ายมาจากเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จังหวัดตาก โดยทยอยการย้ายเข้ามาและรวมตัวกันเป็นหมู่บ้านใหญ่ในราวปี พ.ศ.2528 ปัจจุบันมีชนเผ่าม้งตั้งถิ่นฐานอยู่ในอำเภอคลองลาน จำรวน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ | |
− | + | 1. บ้านตลาดม้ง | |
− | + | 2. บ้านใหม่ชุมนุมไทร | |
− | + | 3. บ้านป่าคา | |
− | + | =='''วิถีชีวิต'''== | |
− | + | ==='''การประกอบอาชีพ'''=== | |
− | ชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน จะอาศัยอยู่กันเป็นครอบครัวใหญ่ | + | ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก อาชีพรองคือ การค้าขาย การทำเกษตรกรรมของชนเผ่าม้งจะอาศัยแหล่งน้ำจากธรรมชาติ ทำไร่ - ทำนา และเลี้ยงสัตว์ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ มันสำปะหลัง ข้าว เลี้ยงสัตว์และผลไม้ยืนต้น การปลูกข้าวโพด ผักต่าง ๆ มีเป็นบางครอบครัว นอกจากนี้ ชนเผ่าม้งยังมีกลุ่มอาชีพในหมู่บ้าน เช่น กลุ่มเกษตรพัฒนา กลุ่มปักผ้าชาวเขา กลุ่มการตีมิด และกลุ่มค้าขาย อาชีพทั่วไป เช่น ช่างซ่อมรถยนต์ ช่างซ่อมรถมอเตอร์ไซต์ ช่างก่อสร้าง เป็นต้น |
− | ตระกูลแซ่นั้นสามารถแบ่งได้ เป็น 7 | + | การทำผ้าปักใยกัญชงสำหรับชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร นั้น เนื่องจาก อำเภอคลองลานไม่ได้รับอนุญาตให้ปลูกต้นใยกัญชง จังหวัดที่ได้รับอนุญาตให้ปลูกต้นใยกัญชงได้นั้นมีเพียง 6 จังหวัด 15 อำเภอ ซึ่งก็คือ จ.เชียงใหม่ 4 อำเภอ คือ อ.แม่วาง แม่ริม สะเมิง และแม่แจ่ม จ.เชียงราย 3 อำเภอ คือ อ.เทิง เวียงป่าเป้า และแม่สาย จ.น่าน 3 อำเภอ คือ อ.นาหมื่น สันติสุข และสองแคว จ.ตาก เฉพาะที่ อ.พบพระ จ.เพชรบูรณ์ 3 อำเภอ ประกอบด้วย อ.หล่มเก่า เขาค้อ และเมือง และ จ.แม่ฮ่องสอน เฉพาะ อ.เมือง เท่านั้น |
− | + | ==='''ระบบครอบครัวและญาติ'''=== | |
− | ชนเผ่าม้งมีการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ มีความสวยงามทั้งลวดลายต่างๆ บนผ้าและแบบของเสื้อผ้า ในอดีตชนเผ่าม้งใช้ผ้าไหมดิบที่ผลิตเองมาปักเป็นลวดลาย ซึ่งชนเผ่าม้งคิดค้นออกแบบเอง | + | ชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน จะอาศัยอยู่กันเป็นครอบครัวใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นชนเผ่าม้งเขียวหรือชนเผ่าม้งดำเท่านั้น ส่วนชนเผ่าม้งขาวไม่พบว่ามีการตั้งถิ่นฐานในเขตอำเภอคลองลาน ตระกูลแซ่นั้นสามารถแบ่งได้ เป็น 7 ตระกุลใหญ่ ๆ ได้แก่ 1) ตระกูลแซ่ม้า 2) ตระกูลแซ่ย่าง 3) ตระกูลแซ่กือ 4) ตระกูลแซ่จ้าง 5) ตระกลูแซ่โซ้ง 6) ตระกูลว่าง และ 7) ตระกูลแซ่หาง โดยตระกูลที่มีจำนวนน้อยที่สุดคือตระกูลแซ่ว่างและตระกูลแซ่หาง |
− | ลักษณะเครื่องแต่งกายแบบชุดชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร | + | ==='''การแต่งกาย'''=== |
− | ผู้หญิง เสื้อสีดำแขนยาว ปลายแขนเสื้อมีการปักลวดลายสวยงาม | + | ชนเผ่าม้งมีการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ มีความสวยงามทั้งลวดลายต่างๆ บนผ้าและแบบของเสื้อผ้า ในอดีตชนเผ่าม้งใช้ผ้าไหมดิบที่ผลิตเองมาปักเป็นลวดลาย ซึ่งชนเผ่าม้งคิดค้นออกแบบเอง เมื่อมีการปักลวดลายเรียบร้อย จะนำมาแปลรูปเป็นเสื้อผ้าที่จะสวมใส่ในปัจจุบัน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนบวกกับความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ชุดชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลานจะมีการประดิษฐ์ด้วยชุดที่มีสีสวยงามมากขึ้นและมีรูปแบบที่ทันสมัยมากขึ้น การแต่งกายในชีวิตประจำวันก็หันมาแต่งแบบคนไทยพื้นราบแทน หรือบางครั้งจะใส่เพียงเสื้อหรือกางเกงเท่านั้น การแต่งกายด้วยชุดชนเผ่าม้งนี้จะใช้ในงานสำคัญๆ เท่านั้น เช่น งานประเพณีปีใหม่ งานแต่งงาน เป็นต้น |
− | ผู้ชาย ตัวเสื้อจะเป็นแบบเอวลอยด้านหน้าของเสื้อจะผ่ากลางไม่เท่ากัน ซึ่งด้านขวามือจะเหลือเนื้อที่ของผ้าเยอะกว่าเพื่อที่จะปักทำเป็นมุมต่าง กางเกงจะเป็นแบบเป้ายานและขากว้าง ชายกางเกงจะปักด้วยลวดลายที่สวยงาม | + | ลักษณะเครื่องแต่งกายแบบชุดชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร |
− | + | ผู้หญิง เสื้อสีดำแขนยาว ปลายแขนเสื้อมีการปักลวดลายสวยงาม ด้านหน้าจะผ่ากลางปล่อยสาบเสื้อทั้งสองข้าง แล้วปักลวดลายพร้อมตกแต่งด้วยผ้าสีต่าง ๆ มีการประดิษฐ์ขึ้นหลายแบบ ผู้หญิงจะใส่กระโปรง ซึ่งชนเผ่าม้งดำนิยมทำกระโปร่งด้วยสีที่ฉูดฉาดพร้อมกับใช้ผ้าพันน่องขา มีผ้าปิดหน้า เรียกว่า “เซ๋” ชายผ้าปิดหน้าจะผูกเอวแล้วปล่อยชายไว้ด้านหลัง | |
− | ภาพที่ 2 การแต่งกายชนเผ่าม้งในปัจจุบัน | + | ผู้ชาย ตัวเสื้อจะเป็นแบบเอวลอยด้านหน้าของเสื้อจะผ่ากลางไม่เท่ากัน ซึ่งด้านขวามือจะเหลือเนื้อที่ของผ้าเยอะกว่าเพื่อที่จะปักทำเป็นมุมต่าง กางเกงจะเป็นแบบเป้ายานและขากว้าง ชายกางเกงจะปักด้วยลวดลายที่สวยงาม |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 2 การแต่งกายชนเผ่าม้ง.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 2 การแต่งกายชนเผ่าม้งในปัจจุบัน''' </p> | |
− | + | ==='''ที่อยู่อาศัย'''=== | |
− | + | อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลคลองน้ำไหล ตำบลโป่งน้ำร้อน ตำบลคลองลานพัฒนา ตำบลสักงาม มีหมู่บ้านทั้งหมด 68 หมู่บ้าน ซึ่งมีหมู่บ้านที่เป็นชนเผ่าม้งจำนวน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ | |
− | + | 1. หมู่บ้านตลาดม้ง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตําบลคลองลานพัฒนา อําเภอคลองลาน จังหวัดกําแพงเพชร มีเส้นทางคมนาคมหลักลักษณะต่าง ๆ ในตำบล ดังนี้ ตำบลคลองลานพัฒนา มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 1117 คือ ถนนคลองแม่ลาย - คลองลาน เป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมติดต่อกับเมืองกำแพงเพชรได้อย่างสะดวก มีถนนหลักลาดยางติดต่อกับ จังหวัดกำแพงเพชรและอำเภอคลองลานได้อย่างสะดวก | |
− | + | 2. บ้านใหม่ชุมนุมไทร อ. คลองลาน จ. กำแพงเพชร ตั้งอยู่ทางหลวงชนบทหมายเลข 4049 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร 62180 อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 48.5 กม. ใช้เวลาเดินทาง ตัวจังหวัดประมาณ 1 ชั่วโมง 3 นาที อยู่ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 46.7 กม.ใช้เวลาเดินทางตัวอำเภอประมาณ 1 ชั่วโมง 4 นาที | |
− | + | 3. บ้านป่าคา อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร | |
− | + | โดยจารีตประเพณีของชนเผ่าม้งนั้นจะสร้างบ้านติดพื้นดินเพื่อความสะดวกของการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ การสร้างเรือนในลักษณะบ้านติดพื้นดินนั้น มีทางเข้า-ออกเรือนเพียงทางเดียว หลังคาจั่วหรือเพิงหมาแหงน วัสดุมุงเป็นหญ้าคาหรือสังกะสี ผนังบ้านเป็นไม้แผ่นหรือบางเรือนมีผนังเป็นไม้ไผ่ขัดแตะ พื้นเรือนเป็นพื้นดินอัดแน่นเช่นเดียวกับด้านนอกเรือน ใช้ความต่างระดับของพื้นภายในกับภายนอกในการระบายน้ำ นับถือผีป่าและบูชาวิญญาณบรรพบุรุษ | |
− | + | เนื่องจากปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากขึ้น และชนเผ่าม้งส่วนมากก็ย้ายมาอาศัยอยู่พื้นราบ โดยทางการอยู่อาศัยร่วมกันจึงส่งผลให้รูปแบบในการสร้างบ้านของชนเผ่าม้งอำเภอคลองลานเปลี่ยนแปลงไป มีทั้งบ้านที่สร้างจากไม้ทั้งหลัง บ้านกึ่งไม้กึ่งปูน และบ้านที่สร้างด้วยปูนทั้งหลัง มีทั้งแบบชั้นเดียวและแบบ 2 ชั้น เหตุผลหนึ่งที่สำคัญ ถึงแม้จะสร้างบ้านแบบชั้นเดียวแต่แบบบ้านก็จะต่างไปจากสมัยก่อน เพียงแต่ยังรักษาจารีตประเพณีต่าง ๆ ไว้ ไว้ถึงจะไม่ร้อยเปอร์เซ็น การสร้างบ้านของชนเผ่าม้ง ในอำเภอคลองลาน นิยมหันมาปลูกบ้านแบบสมัยใหม่กันหมด แบบบ้านติดดินเหมือนสมัยก่อนนั้นไม่มีใครปลูกแล้ว | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 3 บ้านเรือนชนเผ่าม้ง.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 3 บ้านเรือนชนเผ่าม้งแบบโบราณ อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร''' </p> | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 4 บ้านเรือนบริเวณตลาดม้ง.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 4 บ้านเรือนบริเวณตลาดม้ง ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร''' </p> | |
− | ภาพที่ 3 | + | ข้อควรสังเกตในการเยี่ยมบ้านชนเผ่าม้ง คือ หากไปแล้วพบประตูปิดแล้วมีไม้หรือกิ่งไม้แขวนอยู่ชายคาหน้าบ้านแขกก็ไม่ควรเข้าไปรบกวนเรียกเจ้าของบ้าน เพราะเจ้าของบ้านกำลังอยู่กรรม เรียกว่า “ไจ๋” การไจ๋ คือ การอยู่กรรมของม้งนั้น ม้งถือว่าเป็นการหลีกเลี่ยงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เมื่อบ้านนั้นอยู่กรรมบ้านนั้นจะมีไม้หรือกิ่งไม้แขวนไว้ที่หน้าประตูเพื่อเป็นการเตือนหรือบอกให้ผู้อื่นรับรู้ หากว่าแขกที่มาเยี่ยมบ้านนั้นไม่ทราบ เกิดไปตะโกนถามคนในบ้านนั้นจะทำให้ผีเอาขวัญของคนป่วยในบ้านนั้นไป และจะต้องมีการทำผีหรืออั๊วเน้งใหม่อีกครั้ง โดยจะปรับแขกที่มาเรียกนั้นเป็นค่าปรับหรือเป็นสัตว์ที่จะต้องมาทำผีหรืออั๊วเน้งอีกครั้ง การไจ๋ ในสมัยก่อนจะใช้เวลาประมาณ 5-7 วัน แต่เนื่องจากวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ปัจจุบันนี้ จึงได้เปลี่ยนมาเป็นวันเดียวเท่านั้น |
− | + | เมื่อมีแขกมาเยือนบ้าน คำแรกที่เจ้าของบ้านจะร้องทักทาย คือ คุณมาหรือก้อตั้วหลอ (ใช้กับแขกคนเดียว) - เน้ตั้วหลอ (ใช้กับแขกสองคน ) - เน่ตั้วหลอ (ใช้กับแขกสามคนขึ้นไป) ซึ่งเป็นคำถามที่ให้เกียรติแขกที่มาเยือน และรับรู้การมาของแขก ส่วนผู้มาเยือนจะตอบรับว่า ผมมา-กู๋ตั้วอ่อ (คนเดียว) - อี๊ตั้วอ่อ (สองคน ) - เป๊ตั้วอ่อ (สามคนขึ้นไป) | |
− | + | ==='''ของใช้ในชีวิตประจำวัน'''=== | |
− | + | การตีมีด ชนเผ่าม้งมีความรู้เรื่องการทำมีดอยู่มากมาย จะเห็นได้ว่าชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน มีกลุ่มตีมีด ซึ่งในแต่ละปีก็สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนได้ไม่น้อย ลักษณะมีดจะไม่เหมือนกับชนเผ่าอื่น ชนเผ่าม้งจะมีการตีมีดตามสภาพการใช้งาน ถ้าเป็นงานหนักตัวมีดก็จะมีลักษณะใหญ่ แต่ถ้าใช้ในการดายหญ้าจะทำด้ามมีดให้ยาวเพื่อสะดวกในการฟันหญ้าหรือถ้าตัดไม้ก็จะทำตัวมีดใหญ่ขึ้น มีดของชนเผ่าม้ง ได้แก่ มีดด้ามยาว (เม้าจั๊ว) เคียวเกี่ยวข้าว ขวาน (เต่า) เป็นต้น | |
− | ภาพที่ 4 บ้านเรือนบริเวณตลาดม้ง ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอเมือง | + | ชนเผ่าม้งมีการทำงานในไร่หรือในสวนต่างๆ จึงมีการตีมีดให้เหมาะสมกับงาน เช่น การตัดไม้จะต้องใช้มีดด้ามยาว (เม้าะจั๊วะ) หรืออาจจะใช้ขวานก็ได้ ส่วนการทำอาหารจะใช้มีดด้ามสั้นหรือมีดปลายแหลม ส่วนงานที่หนักจะต้องใช้มีดที่มีขนาดใหญ่เหมาะกับการใช้งาน เป็นต้น ของใช้ในชีวิตประจำวันของชนเผ่าม้งในสมัยก่อน เช่น มีดด้ามสั้นหรือมีดปลายแหลม (เจ๊าะปลึ่อ) มีดด้ามยาว (เม้าจั๊ว) ขวาน (เต่า) ปืนแก๊ส (ปลอ-ย่าง) ธนู (เน่ง) กระบุง (เกอะ) กระด้ง (ว้าง) กระชอน (ซัวะจี้) หม้อข้าว (จู่) ขัน (ฝึ๋กเต้า) กะทะ (เยีย) หม้อเล็ก (เล่าเก๋ว) หม้อตำขนมม้ง (ดั้งจั่ว) เครื่องรีดน้ำอ้อย ซุ้มไก่ (เต้อะคาร์) เครื่องโม่ข้าวโพด (แยะ) ครกกระเดื่อง (จู่) |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 5 เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 5 เครื่องใช้ในชีวิตประจำวันของชนเผ่าม้งในสมัยก่อน''' </p> | |
− | + | ปัจจุบันเมื่อยุคสมัยเปลี่ยนแปลงไปมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากขึ้น ความทันสมัยเข้ามาสู่วิถีชีวิตของชนเผ่าม้งจนกลายเป็นเรื่องธรรมดาไปแล้ว ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันหลายสิ่งหลายอย่างก็มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม เครื่องใช้แบบโบราณบางอย่างก็เลิกใช้ไปบ้างแล้ว เช่น หม้อข้าว (จู) ขันน้ำเต้า (ฝึ๋กเต้า) ครกกระเดื่อง (จู่) เป็นต้น | |
− | + | ==='''ความเชื่อของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร'''=== | |
− | + | ชนเผ่าม้งมีความเชื่อว่าพิธีไสยศาสตร์จะช่วยให้วินิจฉัยโรคได้และทำการรักษาได้ผล และเชื่อว่าความเจ็บป่วยเกิดจากการผิดผี จะต้องมีพิธีกรรมในการปฏิบัติรักษา นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงโดยไม่มีโรคภัยมาเบียดเบียนนั่นคือ ความสุขอันยิ่งใหญ่ ฉะนั้นชนเผ่าม้งจึงต้องทำทุกอย่างเพื่อเป็นการรักษาจากโรคต่าง ๆ พิธีกรรมในการรักษาโรคของชนเผ่าม้งมีอยู่หลายแบบ ซึ่งจะแตกต่างกันออกไป ดังนี้ | |
− | + | การทำผี (การอั๊วเน้ง) การอั๊วเน้งจะทำได้ก็ต่อเมื่อมีคนในครอบครัวเจ็บป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ การอั๊วเน้งเป็นการเรียกขวัญที่หายไปให้กลับคืนมา ชนเผ่าม้งเชื่อว่าการเจ็บป่วยเกิดจากขวัญที่อยู่ในตัวหายไป เครื่องมือในการทำผี ได้แก่ ไม้คู่เสี่ยงทาย (กั๊วะ) ฆ้อง (จั๊วะเน้ง) เก้าอี้ในการนั่งทำผี (จ๋องเน้ง) เหรียญกษัตริย์ (จื้อเน้ง) | |
− | + | การรักษาคนตกใจ (การไซ่เจง) การไซ่เจงจะทำเมื่อมีคนป่วยที่ตัวเย็น เท้าเย็น ใบหูเย็น มือเย็น ชนเผ่าม้งเชื่อว่าการที่เท้าเย็น มือเย็น หรือตัวเย็น เกิดจากขวัญในตัวคนได้หล่นหายไป | |
− | เมื่อมีแขกมาเยือนบ้าน คำแรกที่เจ้าของบ้านจะร้องทักทาย คือ คุณมาหรือก้อตั้วหลอ ( | + | การรักษาด้วยการเป่าด้วยน้ำ (การเช้อแด้ะ) จะทำเมื่อมีคนในครอบครัวป่วย ตกใจมากเป็นพิเศษ กลัวมากเป็นพิเศษ โดยไม่ทราบสาเหตุ |
− | + | การปัดกวาดสิ่งที่ไม่ดีออกไป (ตูซู้) ชนเผ่าม้งจะปัดกวาดสิ่งที่ไม่ดีออกไป ในช่วงขึ้นปีใหม่เพื่อปัดเป่าหรือกวาดสิ่งที่ไม่ดีให้ออกไปจากบ้าน | |
− | การตีมีด ชนเผ่าม้งมีความรู้เรื่องการทำมีดอยู่มากมาย จะเห็นได้ว่าชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน มีกลุ่มตีมีด ซึ่งในแต่ละปีก็สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนได้ไม่น้อย ลักษณะมีดจะไม่เหมือนกับชนเผ่าอื่น ชนเผ่าม้งจะมีการตีมีดตามสภาพการใช้งาน ถ้าเป็นงานหนักตัวมีดก็จะมีลักษณะใหญ่ แต่ถ้าใช้ในการดายหญ้าจะทำด้ามมีดให้ยาวเพื่อสะดวกในการฟันหญ้าหรือถ้าตัดไม้ก็จะทำตัวมีดใหญ่ขึ้น มีดของชนเผ่าม้ง ได้แก่ มีดด้ามยาว (เม้าจั๊ว) | + | หมูประตูผี (อัวะบั๊วจ๋อง) เป็นพิธีกรรมที่ชนเผ่าม้งทำเพื่อรักษาคนในบ้านให้ปราศจากโรคภัยต่าง ๆ การประกอบพิธีกรรมหมูประตูผีนั้นจะทำในตอนกลางคืนเท่านั้น มีการกล่าวเพื่อปิด - เปิดประตูบ้าน และจะมีการฆ่าหมูแล้วต้มให้สุก นำหมูที่ต้มสุกมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ จัดใส่จานไว้ 9 จาน สำหรับทำพิธี ซึ่งแต่ละจานจะใส่เนื้อหมูไม่เหมือนกัน ดังนี้ |
− | ชนเผ่าม้งมีการทำงานในไร่หรือในสวนต่างๆ จึงมีการตีมีดให้เหมาะสมกับงาน เช่น การตัดไม้จะต้องใช้มีดด้ามยาว (เม้าะจั๊วะ) หรืออาจจะใช้ขวานก็ได้ ส่วนการทำอาหารจะใช้มีดด้ามสั้นหรือมีดปลายแหลม | + | หมูที่ต้มสุกนั้นมาหั่นให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ จัดไว้ตามจานที่วางไว้ 9 จาน ซึ่งแต่ละจานจะใส่ชิ้นเนื้อไม่เหมือนกัน โดย |
− | + | จานที่ 1 ใส่มือซ้ายหมูและหัวข้างซ้าย | |
− | + | จานที่ 2 จะใส่ขาขวาหมูกับหัวข้างขวา | |
− | + | จานที่ 3 จะใส่ขาซ้ายหมูกับคางซ้ายหมู | |
− | + | จานที่ 4 ใส่มือขวาหมูกับคางขวาหมู | |
− | + | จานที่ 5 ใส่มือซ้ายหมู | |
− | + | จานที่ 6 ใส่ขาขวาหมู | |
− | + | จานที่ 7 ใส่ขาขวาหมูกับใบหู 5 ชิ้น | |
− | + | จานที่ 8 ใส่มือขวาหมู | |
− | + | จานที่ 9 ใส่จมูกและหางหมู | |
− | + | '''การเกิด''' ชนเผ่าม้งมีความเชื่อว่า การตั้งครรภ์นั้นเกิดจากผีพ่อผีแม่ให้เด็กมาเกิด เวลาใกล้คลอดหญิงมีครรภ์ไม่ควรไปไหนมาไหนโดยลำพัง หรือถ้ามีความจำเป็นจะต้องมีเพื่อนไปด้วยอย่างน้อย 1 คน การคลอดจะเป็นไปตามธรรมชาติ ชนเผ่าม้งเชื่อว่าถ้าเป็นเด็กผู้ชายจะนำรกไปฝังไว้ที่เสากลางบ้าน ซึ่งเป็นเสาที่มีผีเสาสถิตอยู่ เพราะผู้ชายควรจะรู้เรื่องผี ถ้าเป็นเด็กผู้หญิงจะฝังรกไว้ใต้แคร่นอนของมารดา เพราะต้องการให้ลูกสาวรู้จักรักนวลสงวนตัว และรู้จักการบ้านการเรือน ชนเผ่าม้งจะตั้งชื่อบุตรหลังจากเด็กเกิดได้ 3 วัน โดยมีการทำพิธีตั้งชื่อ และนำไก่มาเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษเพื่อบอกผีบ้านผีเรือนให้คุ้มครองเด็กและขอบคุณผีพ่อผีแม่ที่ส่งเด็กมาเกิด ชนเผ่าม้ง เชื่อว่า ถ้าเด็กที่เกิดมายังไม่ครบ 3 วันนั้นยังเป็นลูกผีอยู่ หากเด็กนั้นตายภายใน 3 วันหลังจากคลอด จะไม่มีการจัดพิธีศพและสามารถนำเด็กไปฝังได้เลย | |
− | + | ในปัจจุบันนี้ชนเผ่าม้งนิยมไปคลอดที่โรงพยาบาลเพื่อความปลอดภัยต่อเด็กและแม่ แต่เด็กหรือบุตรที่เกิดมาต้องมีการทำพิธีตามประเพณีดั้งเดิมของชนเผ่าม้งทุกประการ | |
− | + | '''การตาย''' ชนเผ่าม้งเชื่อว่าพิธีศพที่ครบถ้วนถูกต้องจึงจะส่งวิญญาณผู้ตายไปสู่สุคติได้ เมื่อมีการตายเกิดขึ้น ณ บ้านใด ญาติจะยิงปืนขึ้นไปบนฟ้า 3 นัด เป็นสัญญาณว่ามีการตายเกิดขึ้นในบ้านหลังนั้น | |
− | + | การจัดพิธีศพของชนเผ่าม้งจะจัดในบ้านของผู้ตาย จะมีการอาบน้ำให้ศพจากนั้นก็จะแต่งกายให้ศพด้วยเสื้อผ้าชุดชนเผ่าม้ง ตำแหน่งการตั้งศพคือตั้งบนพื้นใกล้ศาลพระภูมิหรือศาลบรรพชน ภาษาม้ง เรียกว่า “สือ ก๋าง” (Xwm Kaab) ซึ่งอยู่ตรงกันข้ามกับประตูบ้านหรือที่เรียกว่าประตูผี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเชื่อของแต่ละนามสกุลที่แตกต่างกันออกไป จะมีการผูกข้อมือญาติทุกคนด้วยผ้าสีแดงและห้ามแกะออกจนกว่าจะเสร็จงานศพ บางแซ่จะมีการคาดศีรษะด้วยผ้าสีขาว ดังเช่นพิธีศพของชาวจีน ชนเผ่าม้งเชื่อว่าเมื่อมีเด็กหรือใครก็ตามที่หกล้มบริเวณบ้านของผู้ตาย ให้รีบทำพิธีเรียกขวัญบุคคลนั้นกลับมา มิฉะนั้นวิญญาณของผู้ตายจะนำวิญญาณของผู้ที่หกล้มไปอยู่ด้วย | |
− | ครกกระเดื่อง (จู่) | + | ชนเผ่าม้งนิยมพันนิ้วมือศพด้วยด้ายสีแดง เพราะมีความเชื่อว่าระหว่างที่วิญญาณผู้ตายเดินทางไปยังปรโลก วิญญาณของผู้ตายจะถูกรั้งให้ปอกหัวหอม ทำให้เดินทางไปเกิดช้า วิญญาณผู้ตายสามารถอ้างได้ว่า เจ็บนิ้ว ทำให้ไม่สามารถปอกหอมได้ และชนเผ่าม้งยังเชื่อว่าวิญญาณผู้ตายต้องเดินทางฝ่าดงบุ้งยักษ์ จึงมีการ สวมรองเท้าให้ศพด้วย จากนั้นศพจะถูกจัดวางบนแคร่และหามสูงจากพื้นประมาณ 1 เมตร จะมีการตั้งข้าวให้ศพ วันละ 3 เวลา แต่ละครั้งจะต้องยิงปืน 3 นัด และมีการจุดตะเกียงวางไว้ที่ลำตัวของศพ |
− | + | “น๋อง จ๋อง” (Noob Ncoos) เป็นผ้าสี่เหลี่ยมสีแดง ปักเป็นลวดลายต่าง ๆ มอบให้ผู้ตายเพื่อแสดงความอาลัย มีการตัดกระดาษแขวนไว้ข้างฝาของตัวบ้าน เพื่อที่จะเผาและเป็นการส่งผู้ตายให้ไปถึงที่หมาย ปัจจุบันได้มีการนำพวงหรีดไว้อาลัยร่วมกับการแขวนกระดาษด้วยก่อนจะนำศพไปฝันจะมีพิธี “ชือ ฉ้า” (Tswm Tshaav) โดยพิธีกรรมนี้จะต้องจัดในลานกว้าง ๆ ที่ญาติได้เตรียมไว้ เมื่อทำพิธีเสร็จจึงนำผู้ตายไปฝังได้ เมื่อขบวนถึงสุสานจะมีผู้เฒ่าทำพิธีที่หลุมอีกครั้งหลังจากนั้นจะเผากระดาษหรือทุกสิ่งทุกอย่างที่จะมอบให้กับผู้ตาย จึงหย่อนศพลงหลุมและกลบดินปิดปากหลุม มีการจัดวางก้อนหินเหนือหลุมศพ บางครอบครัวจะล้อมรั้วรอบบริเวณหลุมศพ เพื่อไม่ให้สัตว์มาคุ้ยเขี่ยหลุมศพ สถานที่ฝังศพของชนเผ่าม้งจะดูตามตำราฮวงจุ้ย หรือฝังตามความต้องการของผู้ตายที่ได้บอกกล่าวล่วงหน้า ชนเผ่าม้งจะไว้ทุกข์ให้ผู้ตายประมาณ 13 วัน มีข้อห้ามระหว่างการไว้ทุกข์คือ ห้ามซักเสื้อผ้า และหวีผม เพราะเชื่อว่าสิ่งสกปรกจะเข้าไปในอาหารของผู้ตาย ห้ามต่อด้ายเพราะด้ายจะพันแข้งขาของผู้ตาย ห้ามเย็บผ้าเพราะเชื่อว่าผู้ตายจะถูกเข็มแทง | |
− | + | ปัจจุบัน ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ยังคงอนุรักษ์วัฒนธรรมเหล่านี้ไว้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีการนำศพมาบรรจุไว้ในโลงศพแทนแคร่ | |
− | + | ==='''ศิลปะการแสดง'''=== | |
− | + | ชนเผ่าม้งมีประเพณี วัฒนธรรมต่าง ๆ เช่นเดียวกับชนชาติอื่นๆ มีความสามารถในการสร้างงานศิลปะหลายด้าน ดังนี้ | |
− | + | ด้านดนตรี ชนเผ่าม้งมีเครื่องดนตรีที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชนเผ่า ได้แก่ เฆ่ง (Qeej) ซึ่งแปลว่า แคน หรือ Mouth Organ เฆ่ง (Qeej) ซึ่งมีการเขียนหลายรูปแบบ เช่น เฆ่ง (Qeej), เค่ง (Qeej), เก้ง (Qeej) แต่ในงานรายงานชิ้นนี้จะขอใช้ในทางเดียวกัน คือ เฆ่ง (Qeej) เป็นเครื่องดนตรีที่ทำจากลำไม้ไผ่ และไม้เนื้อแข็ง มีปรากฏในเอเชียมากว่า 3,000 ปี และถือได้ว่าเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุด | |
− | + | '''เฆ่ง (Qeej)''' ถือว่าเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นมรดกของชนเผ่าม้งเลยก็ว่าได้ เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้ในการประกอบในพิธีศพและในพิธีที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว รวมทั้งเป็นเครื่องดนตรีที่ใช้นันทนาการอีกด้วย เสียงเพลงที่แว่วมาอย่างโหยหวน แสดงความสูญเสีย ที่สลับซับซ้อนนั้นเป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ตายกับลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยู่ เสียงเฆ่งที่แว่วออกมาล้วนมีความหมายสอดแทรกบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้กับดวงวิญญาณได้รับรู้ เช่น ให้เขารู้ว่าเขาเสียชีวิตแล้ว ให้กลับมาทานข้าวเช้า มาทานข้าวเที่ยง มาทานข้าวเย็น ให้ผู้ตายนั้นรับรู้สิ่งต่างที่ลูกหลานมอบให้ ให้ผู้เสียชีวิตนั้นมีความสุขในภพต่อ ๆ ไป ให้เดินทางไปพบบรรพชนของตนเองได้ ดังนั้น ชนเผ่าม้งจึงถือว่าหากงานศพใดไม่มีการแสดงเฆ่ง (Qeej) งานศพนั้นก็จะไม่สมบูรณ์เพราะดวงวิญญาณไม่สามารถไปสู่สุคติได้ นอกจากนี้ เฆ่งยังสามารถนำไปแสดงงานรื่นเริงทั่วไผ ได้เช่นกัน จะพบได้มากที่สุดในช่วงเทศกาลปีใหม่ม้ง และยังเป็นการแสดงเพื่อต้อนรับบุคคลสำคัญหรือแขกบ้านแขกเมืองได้อีกด้วย | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 6 การแสดงเฆ่ง.jpg|600px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 6 การแสดงเฆ่ง (Qeej) ในพิธีศพของชนเผ่าม้ง''' </p> | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 7 การแสดงเฆ่ง.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 7 การแสดงเฆ่ง (Qeej) เพื่อความบันเทิงของชนเผ่าม้ง''' </p> | |
− | + | '''ขลุ่ย''' เป็นเครื่องดนตรีอีกประเภทหนึ่งที่ใช้เป่าเรียกหาคู่และสร้างความจรรโลงใจแทนความรู้สึกของสภาพจิตใจของผู้นั้น จะเป่าในงานสำคัญ เช่น งานปีใหม่ เป็นต้น ในปัจจุบันชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลานยังนิยมเป่าขลุ่ยกันอย่างแพร่หลาย | |
− | + | '''กลอง หรือ จั๊ว''' เป็นเครื่องดนตรีที่มีลักษณะเป็นกลองสองหน้า ใช้แผ่นหนังสัตว์สองแผ่นมาประกอบเข้ากับโครงกลองหลอมตัวกลองทั้งสองด้านริมขอบของแผ่นหนังทั้งสองแผ่นจะเจาะรูเป็นคู่ๆ สำหรับเสียบสลักไม้เล็กๆ เพื่อใช้เชือกร้อยสลักไม้ของแผ่นหนังทั้งสองด้านดึงเข้าหากัน ซึ่งจะทำให้แผ่นหนังกลองตึงตัวเต็มที่ เมื่อตีจะมีเสียงดังกังวาน กลองนี้จะใช้เมื่อประกอบพิธีงานศพ การปล่อยผีหรือปลดปล่อยวิญญาณเท่านั้น | |
− | + | =='''ประเพณี'''== | |
− | + | ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร มีลักษณะการเคารพนับถือกันตามตระกุลแซ่และเชื่อมโยงกันเป็นชุมชนสังคมเครือญาติ การนับถือศาสนาจะนับถือศาสนาพุทธและผีเป็นส่วนใหญ่ มีวัฒนธรรมและประเพณีที่ยึดถือและปฏิบัติกันตั้งแต่สมัยโบราณ ได้แก่ | |
− | + | ==='''ประเพณีปีใหม่'''=== | |
− | จานที่ | + | ประเพณีขึ้นปีใหม่หรือประเพณีฉลองปีใหม่ จะจัดขึ้นหลังจากได้เก็บเกี่ยวผลผลิตในรอบปีเรียบร้อย ประเพณีฉลองปีใหม่ เรียกว่า “น่อเป๊โจ่วฮ์” แปลตรงตัวได้ว่า “กินสามสิบ” สืบเนื่องจากชนเผ่าม้งจะนับช่วงเวลาตามจันทรคติ โดยจะเริ่มนับตั้งแต่ขึ้น 1 ค่ำ ไปจนถึง 30 ค่ำ (ซึ่งตามปฏิทินจันทรคติจะแบ่งออกเป็นข้างขึ้น 15 ค่ำ และข้างแรม 15 ค่ำ) เมื่อครบ 30 ค่ำ จึงนับเป็น 1 เดือน ดังนั้นในวันสุดท้าย (30 ค่ำ) ของเดือนสุดท้าย (เดือนที่ 12) ของปีจึงถือได้ว่าเป็นวันส่งท้ายปีเก่า ในวันดังกล่าว หัวหน้าครัวจะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา อาทิ การทำพิธีบูชาถึงผีฟ้า - ผีป่า – ผีบ้าน ที่ให้ความคุ้มครอง และดูแลความสุขสำราญตลอดทั้งปีวันถัดจากวันส่งท้ายปีเก่าไป 3 วัน เป็นวันฉลองปีใหม่ |
− | + | กิจกรรมการละเล่นที่บรรดาหนุ่มสาวนิยมเล่นกัน ในเทศกาลปีใหม่ คือ การโยนลูกช่วง ลูกช่วงที่ใช้เล่นนั้นทำขึ้นจากเศษผ้าสีดำเย็บต่อเชื่อมกันเป็นลูกกลม โดยหญิงสาวโสดจะเป็นผู้จัดทำลูกบอลผ้า โดยฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายเลือกชายหนุ่มที่พอใจ แล้วนำลูกช่วงไปให้ฝ่ายชาย เพื่อชวนไปโยนลูกช่วงด้วยกัน โดยแต่ละฝ่ายจะยืนเป็นแถวหน้ากระดานเรียงหนึ่งหันหน้าเข้าหากัน มีระยะห่างกันพอสมควร แล้วโยนลูกช่วงให้กันไปมา สามารถทำการสนทนากับคู่ที่โยนได้ เพื่อความสนุกสนาน นอกจากนี้ บนเวทียังมีการแสดงประกอบเพลงพื้นเมืองของเด็กสาวชนเผ่าม้ง และมีการแสดงการเป่าแคนของชนเผ่าม้ง ที่จะแสดงในงานเทศกาลปีใหม่ และวันสำคัญต่างๆ เท่านั้น | |
− | + | ปัจจุบันการดำเนินชีวิตของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ปรับเปลี่ยนในบางสิ่งบางอย่าง เพื่อให้ทันต่อยุคสมัย จึงจัดโครงการจัดงานประเพณีท้องถิ่นของชนเผ่า เพื่อสืบสานประเพณีปีใหม่ชนเผ่าม้ง ให้ตรงกับวันขึ้นปีใหม่สากลเป็นประจำในทุกๆ ปี เพื่อที่ลูกหลานหรือญาติที่ไปประกอบอาชีพที่ห่างไกลสามากรถกลับมาร่วมงานได้ | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 8 งานประเพณีปีใหม่ชนเผ่าม้ง.jpg|400px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 8 งานประเพณีปีใหม่ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร''' </p> | |
− | + | ==='''ประเพณีกินข้าวใหม่ ตรงกับเดือนกันยายน-เดือนพฤศจิกายน'''=== | |
− | จานที่ 7 ใส่ขาขวาหมูกับใบหู 5 ชิ้น | + | ประเพณีกินข้าวใหม่ของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณมีความเชื่อว่าจะต้องเลี้ยงผีปู่-ผีย่า เพราะช่วงเวลาในหนึ่งรอบปีที่ผ่านมานั้น เชื่อว่ามีผีปู่-ผีย่า ได้ดูแลครอบครัวของแต่ละครอบครัวเป็นอย่างดี ดังนั้นจึงมีการเซ่นบูชา ผีปู-ผีย่า พร้อมกับเจ้าที่ทุกตน ซึ่งการกินข้าวใหม่จะทำกันในเดือนตุลาคมของทุกปี ข้าวใหม่คือข้าวที่เก็บเกี่ยวเมื่อต้นข้าวเริ่มสุก ให้รวงข้าวมีสีเขียวปนเหลือง เมื่อเกี่ยวเสร็จก็จะนำมานวดให้ข้าวเปลือกหลุดออกโดยไม่ต้องตากให้แห้ง นำข้าวเปลือกที่นวดเรียบร้อยแล้วมาคั่วให้เม็ดข้าวแข็งและเปลือกข้าวแห้ง ในอดีตนั้นนิยมการตำข้าวด้วยโค้กกระเดื่อง เมื่อตำเสร็จเรียบร้อยนำข้าวมาหุงเพื่อเซ่นไหว้ผีปู่-ผีย่า ซึ่งในการทำพิธีเซ่นผีนั้น สามารถทำโดยการนำไก่ตัวผู้มาเซ่นไหว้ตรงผีประตูก่อน โดยการนำไก่ที่ต้มทั้งตัวมาประกอบพิธีซึ่งตำแหน่งที่จะต้องเซ่นไหว้มี 5 แห่ง ได้แก่ สื่อก๋าง ดั้งขอจุ๊บ ดั้งขอจุด ดั้งขอจ่อง ดั้งจี้ดั้ง ขณะทำพิธีต้องสวดบทสวดเพื่อที่บอกให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือได้รับรู้และเข้ามาทานก่อน เมื่อทำพิธีเสร็จคนในบ้านถึงจะสามารถ ทานต่อได้ พิธีกินข้าวใหม่นั้นได้สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน |
− | จานที่ 8 ใส่มือขวาหมู | + | [[ไฟล์:9 ประเพณีกินข้าวใหม่.jpg|400px|thumb|center]] |
− | จานที่ 9 ใส่จมูกและหางหมู | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 9 ประเพณีกินข้าวใหม่ ของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร''' </p> |
− | การเกิด ชนเผ่าม้งมีความเชื่อว่า การตั้งครรภ์นั้นเกิดจากผีพ่อผีแม่ให้เด็กมาเกิด | + | ==='''ประเพณีการแต่งงาน'''=== |
− | + | หนุ่มสาวจะแต่งงาน ฝ่ายชายจะพาฝ่ายหญิงไปบ้านของตนเอง โดยผ่านประตูผีบ้านของฝ่ายชาย พ่อแม่ของฝ่ายชายจะเอาแม่ไก่มาหมุนรอบศีรษะทั้งสองคน 3 รอบ เรียกว่า “หรือข๊า” เป็นการต้อนรับลูกสะใภ้ ฝ่ายชายต้องให้ญาติผู้ใหญ่คน 2 คน เรียกว่า “แม่โก๊ง” ไปแจ้งทางญาติฝ่ายหญิงทราบภายใน 24 ชั่วโมง พ่อแม่ฝ่ายหญิงจะแจ้งให้แม่โก๊งว่าอีก 3 วันให้มาใหม่ ซึ่งหมายความว่าพ่อแม่ฝ่ายหญิงต้องการจัดงานแต่งงาน ในสมัยก่อนชนเผ่าม้งมักจะอยู่กินด้วยกันก่อน แล้วค่อยมาจัดงานแต่ง แต่ปัจจุบันนี้สังคมเปลี่ยนไปตามยุคเทคโนโลยี ทำให้การจัดงานแต่งงานของชนเผ่าม้งได้กำหนดจัดงานแต่งงานภายใน 3 วัน ซึ่งเป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน | |
− | การตาย ชนเผ่าม้งเชื่อว่าพิธีศพที่ครบถ้วนถูกต้องจึงจะส่งวิญญาณผู้ตายไปสู่สุคติได้ เมื่อมีการตายเกิดขึ้น ณ บ้านใด ญาติจะยิงปืนขึ้นไปบนฟ้า 3 นัด เป็นสัญญาณว่ามีการตายเกิดขึ้นในบ้านหลังนั้น | + | ค่าสินสอดในงานแต่งงานของชนเผ่าม้ง ในสมัยก่อนเรียกว่า “หน่าจื่อเค้าชอ” หมายถึง ค่าเลี้ยงดูบุตร หรือค่าที่พ่อแม่ชุบเลี้ยงลูกเป็นเงินแท่งจำนวน 4 แท่ง หรืออาจะมากกว่าตามกำลังของเจ้าบ่าว เงินแท่งเป็นค่าสินสอด ในปัจจุบันชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร นิยมใช้เป็นเงินสดแทนเงินแท่ง |
− | การจัดพิธีศพของชนเผ่าม้งจะจัดในบ้านของผู้ตาย | + | =='''ข้อมูลอื่น ๆ '''== |
− | ชนเผ่าม้งนิยมพันนิ้วมือศพด้วยด้ายสีแดง เพราะมีความเชื่อว่าระหว่างที่วิญญาณผู้ตายเดินทางไปยังปรโลก วิญญาณของผู้ตายจะถูกรั้งให้ปอกหัวหอม ทำให้เดินทางไปเกิดช้า วิญญาณผู้ตายสามารถอ้างได้ว่า | + | ==='''สถานการณ์ปัจจุบันของชาติพันธุ์'''=== |
− | “น๋อง จ๋อง” (Noob Ncoos) เป็นผ้าสี่เหลี่ยมสีแดง ปักเป็นลวดลายต่าง ๆ มอบให้ผู้ตายเพื่อแสดงความอาลัย มีการตัดกระดาษแขวนไว้ข้างฝาของตัวบ้าน เพื่อที่จะเผาและเป็นการส่งผู้ตายให้ไปถึงที่หมาย ปัจจุบันได้มีการนำพวงหรีดไว้อาลัยร่วมกับการแขวนกระดาษด้วยก่อนจะนำศพไปฝันจะมีพิธี “ชือ ฉ้า” (Tswm Tshaav) โดยพิธีกรรมนี้จะต้องจัดในลานกว้าง ๆ ที่ญาติได้เตรียมไว้ เมื่อทำพิธีเสร็จจึงนำผู้ตายไปฝังได้ | + | - |
− | ปัจจุบัน ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร | + | ==='''ข้อมูลอื่นๆ'''=== |
− | + | - | |
− | ชนเผ่าม้งมีประเพณี วัฒนธรรมต่าง ๆ เช่นเดียวกับชนชาติอื่นๆ มีความสามารถในการสร้างงานศิลปะหลายด้าน ดังนี้ | + | สรุป |
− | ด้านดนตรี | + | ชนเผ่าม้งอำเภอคลองลานเป็นสังคมเกษตรกรรมอยู่เป็นครอบครัวใหญ่ เวลามีงานต่างๆ จะมาช่วยเหลือกันและกัน ไม่มีวันหยุดตามประเพณี เว้นแต่จะหยุดตามเหตุการณ์ต่าง ๆ คือ งานศพ งานแต่งงาน งานประเพณีปีใหม่ม้ง หรือการประกอบพิธีกรรมในแต่ละครัวเรือนเท่านั้น ในปัจจุบันนี้ชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลานมีการประกอบอาชีพค้าขายกันมากขึ้น ประกอบกับมีการทำเกษตรแบบผสมผสานมากขึ้น ตลอดจนประกอบอาชีพอื่นมาเสริม เช่น การปักผ้า การตีมีด เป็นต้น |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 9 การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชนเผ่าม้ง.jpg|thumb|center]] | |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 9 การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชนเผ่าม้ง2.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | ภาพที่ 6 การแสดงเฆ่ง | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 10 การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชนเผ่าม้ง''' </p> |
− | + | =='''ข้อมูลการสำรวจ'''== | |
− | + | ==='''วันเดือนปีที่สำรวจ'''=== | |
− | + | 1 พฤษภาคม 2561 | |
− | ภาพที่ 7 การแสดงเฆ่ง (Qeej) เพื่อความบันเทิงของชนเผ่าม้ง | + | ==='''วันปรับปรุงข้อมูล'''=== |
− | + | - | |
− | + | ==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''=== | |
− | ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีอีกประเภทหนึ่งที่ใช้เป่าเรียกหาคู่และสร้างความจรรโลงใจแทนความรู้สึกของสภาพจิตใจของผู้นั้น จะเป่าในงานสำคัญ เช่น งานปีใหม่ | + | นางสาวอภิญญา แซ่ยั้ง |
− | กลอง หรือ จั๊ว | + | นางสาวสุวลัย อินทรรัตน์ |
− | + | นางสาวจีรวรรณ ผึ่งบางแก้ว | |
− | + | ==='''คำสำคัญ (tag)'''=== | |
− | + | ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน | |
− | |||
− | ประเพณีขึ้นปีใหม่หรือประเพณีฉลองปีใหม่ จะจัดขึ้นหลังจากได้เก็บเกี่ยวผลผลิตในรอบปีเรียบร้อย ประเพณีฉลองปีใหม่ เรียกว่า “น่อเป๊โจ่วฮ์” แปลตรงตัวได้ว่า “กินสามสิบ” สืบเนื่องจากชนเผ่าม้งจะนับช่วงเวลาตามจันทรคติ โดยจะเริ่มนับตั้งแต่ขึ้น 1 ค่ำ ไปจนถึง 30 ค่ำ (ซึ่งตามปฏิทินจันทรคติจะแบ่งออกเป็นข้างขึ้น | ||
− | |||
− | ปัจจุบันการดำเนินชีวิตของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ปรับเปลี่ยนในบางสิ่งบางอย่าง เพื่อให้ทันต่อยุคสมัย จึงจัดโครงการจัดงานประเพณีท้องถิ่นของชนเผ่า เพื่อสืบสานประเพณีปีใหม่ชนเผ่าม้ง ให้ตรงกับวันขึ้นปีใหม่สากลเป็นประจำในทุกๆ ปี | ||
− | |||
− | |||
− | ภาพที่ 8 งานประเพณีปีใหม่ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | ประเพณีกินข้าวใหม่ของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน | ||
− | |||
− | |||
− | ภาพที่ 9 ประเพณีกินข้าวใหม่ ของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร | ||
− | |||
− | |||
− | หนุ่มสาวจะแต่งงาน ฝ่ายชายจะพาฝ่ายหญิงไปบ้านของตนเอง โดยผ่านประตูผีบ้านของฝ่ายชาย พ่อแม่ของฝ่ายชายจะเอาแม่ไก่มาหมุนรอบศีรษะทั้งสองคน 3 รอบ | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | - | ||
− | สรุป | ||
− | ชนเผ่าม้งอำเภอคลองลานเป็นสังคมเกษตรกรรมอยู่เป็นครอบครัวใหญ่ เวลามีงานต่างๆ จะมาช่วยเหลือกันและกัน ไม่มีวันหยุดตามประเพณี เว้นแต่จะหยุดตามเหตุการณ์ต่าง ๆ คือ | ||
− | |||
− | |||
− | ภาพที่ 10 การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชนเผ่าม้ง | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | - | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:39, 3 มีนาคม 2564
ข้อมูลทั่วไป[แก้ไข]
ชื่อชาติพันธุ์[แก้ไข]
ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ที่ตั้ง[แก้ไข]
อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ชื่อที่ผู้อื่นเรียก[แก้ไข]
ม้ง
ภาษา[แก้ไข]
ภาษาม้ง ชนเผ่าม้ง มีภาษาพูดที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ใช้สื่อสารกันภายกลุ่มชนเผ่าม้งด้วยกัน บางคำก็รับภาษาอื่นมาใช้พูดกัน เช่น ภาษาจีนยูนนาน ภาษาลาว ภาษาไทย เป็นต้น ชนเผ่าม้งไม่มีภาษาเขียนหรือตัวหนังสือ เรื่องราวความเป็นมาต่าง ๆ ของชนเผ่าม้ง จึงอาศัยวิธีการจำและเล่าสืบต่อกันมาเพียงเท่านั้น มีเรื่องเล่ากันว่า แต่เดิมชนเผ่าม้งมีตัวหนังสือ แต่ด้วยศึกสงครามและต้องอพยพอยู่เสมอ วันหนึ่งขณะขนลำเลียงหนังสือ บรรทุกม้าเดินทางมาถึงริมลำธารแห่งหนึ่งจึงปลดตะกร้าหนังสือลงจากหลังม้าแล้วพากันพักผ่อนและนอนหลับไป ลืมปล่อยม้าให้กินหญ้า ม้าเลยกินหนังสือเสียจนหมดยังมีเรื่องเล่าอีกว่า ระหว่างทางขณะหนีศึกสงคราม มีพายุฝนตกหนักทำให้หนังสือเปียกหมด เมื่อฝนหยุดจึงเอาหนังสือมาตากแดด แล้วทุกคนก็มาพักผ่อนและเผลอหลับไป พอตื่นขึ้นมาม้าก็กินหนังสือไปเสียเกือบหมด จึงพยายามเก็บในส่วนที่เหลืออยู่ พอไปถึงที่พักก็นำหนังสือส่วนที่เหลือซึ่งยังไม่แห้งดีไปเก็บไว้บนร้านสำหรับรมควันในบ้าน พอตกกลางคืนหนูก็พากันมากินหนังสือเสียจนหมด อย่างไรก็ตามในปัจจุบันชนเผ่าม้งได้เขียนและอ่านหนังสือภาษาชนเผ่าม้ง โดยการนำพยัญชนะภาษาอังกฤษมาใช้ เนื่องจากสมัยก่อนชนเผ่าม้งหนีจากจีนมาตั้งหลักอาศัยอยู่ในประเทศลาว ซึ่งลาวตกอยู่ภายใต้อำนาจของอังกฤษ ดังนั้นชนเผ่าม้งที่อยู่ในประเทศลาวจะรับเอาตัวอักษรอังกฤษมาใช้เป็นภาษาเขียน ภาษาชนเผ่าม้งอยู่ในตระกูลแม้ว-เย้า หรือชนเผ่าม้ง-เมี่ยน ใช้กันในชนเผ่าม้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึ่งคำมีเสียงพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการผสมกันของเสียงวรรณยุกต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็นประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ ภาษาชนเผ่าม้งเขียว หรือ ชนเผ่าม้งจั๊ว (Hmong Njua) ภาษาชนเผ่าม้งขาว หรือ ม้งเด๊อว (Hmong Daw)
ตารางที่ 1 ตัวอย่างหมวดคำศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
ภาษาชนเผ่าม้ง | คำอ่าน | คำแปล |
---|---|---|
taub hau | เต้า-เฮา | หัว |
caj dab | จี-ดั้ง | คอ |
xwb pwg | เหา-เจ่า | เข่า |
caj npab | จี้ - บั้ง | แขน |
txhais tes | เตก | มือ |
nruab qaum | เจ่า-เค้ว | หลัง |
pob ntxvg | ป้อ -เจก | หู |
plab | ปลั้ง | ท้อง |
ghov ncauj | ขอ-เจ้า | ปาก |
ตารางที่ 2 ตัวอย่างหมวดคำศัพท์เกี่ยวกับสีต่าง ๆ
ภาษาชนเผ่าม้ง | คำอ่าน | คำแปล |
---|---|---|
dub | ดู้ | ดำ |
xiav | เสีย | สีน้ำเงิน |
ntsuab | จั๊ว | เขียว |
daj | ด้าง | เหลือง |
liab | เลี้ย | แดง |
dawb | เดอะ | ขาว |
paj yeeb | ป้าง - ยิ้ง | สีบานเย็น |
ตารางที่ 3 ตัวอย่างการเรียงประโยค
ภาษาชนเผ่าม้ง | คำอ่าน | คำแปล |
---|---|---|
kuv nyiam koj | กู้เหนียก้อ | ฉันรักเธอ |
xmus twg lo | มูตื่อหลอ | ไปไหนมา |
haus dej | เฮาเดร้ | ดื่มน้ำ |
sav haus dej | สาเฮาเดร้ | อยากกินน้ำ |
noj mov lo tsis tau | น้อหมอหล่อจีเตา | กินเข้าหรือยัง |
ประวัติความเป็นมาของชนเผ่าม้ง[แก้ไข]
ชนเผ่าม้งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศจีนและประเทศต่างๆใน เอเชียอาคเนย์ คือ เวียดนาม พม่า ลาว และประเทศไทย ชื่อชนเผ่าพื้นเมือง คือ“ม้ง” ภาษาม้ง “ม้ง” ภาษาไทย “ม้ง” ภาษาอังกฤษ “Hmong” ม้งในประเทศไทยแบ่งออกได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ๆคือ ม้งขาว เรียกตนเองว่า "ม้ง เด๊อว" (Hmong Daw/Hmoob Dawd) และม้งเขียว เรียกตนเองว่า "ม้ง จั๊ว" (Hmong Njua/ Moob Ntsuad) ชนเผ่าม้ง (Hmoob/Moob) เป็นสาขาหนึ่งของชนชาติจีน มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ในมณฑลไกวเจา มณฑลฮูนาน และอพยพเข้าอยู่ในมณฑลกวางสีและมณฑลยูนนานกว่า 500 ปีมาแล้ว เล่ากันว่าชนเผ่าม้งอาศัยอยู่บนเขาทางทิศใต้ของมองโกเลีย และเคลื่อนย้ายเข้ามายังแผ่นดินตอนกลางของประเทศจีนมีอาณาจักรและกษัตริย์ปกครองเป็นของตนเอง ชาวจีนเคยเรียกว่าชนชาติฮั่น ชาวจีนตอนใต้ได้แบ่งชนชาติที่ไม่ใช่ชาวจีนออกเป็น 3 ชาติ คือ พวกโล-โล, ฉาน (ไทย) กับชนเผ่าม้ง ชนเผ่าม้งแถบแม่น้ำแยงซีเกียงสร้างโรงเรือนคร่อมที่ดิน ฝาก่อด้วยดินดิบ มีเตาไฟกลางห้องปลูกข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวไร่ ถั่ว ฯลฯ เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ เวลารับประทานอาหารนั้นจะใช้ตะเกียบมีกระบะไม้ใส่ข้าวตั้งไว้บนโต๊ะ หมอสอนศาสนาชาวอเมริกันได้พบปะกับชนเผ่าม้ง, ชาวโล - โล และชาวปายีเป็นจำนวนมาก ชนเผ่าม้งในมณฑลยูนนานแบ่งออกได้เป็น 7 กลุ่มย่อย ได้แก่ ชนเผ่าม้งเด้อ (Hmoob Dawd) ชนเผ่าม้งจั๊วะ (Hmoob Ntsuab) ชนเผ่าม้งชื้อ (Hmood Swb) ชนเผ่าม้งเป่ (Hmood Peg) ชนเผ่าม้งเซา (Hmood Xauv) ชนเผ่าม้งซัว (Hmood Sua) และชนเผ่าม้งปัว (Hmood Pua) ปัจจุบันมีการแบ่งกลุ่มชนเผ่าม้งโดยนำเอาความแตกต่างของการแต่งกายและสำเนียงภาษามาเป็นเครื่องจำแนก สำหรับในประเทศไทยมีเพียงสองกลุ่มย่อย คือ ชนเผ่าม้งขาวหรือชนเผ่าม้งเด๊อะ (Hmoob Dawd) และชนเผ่าม้งดำหรือชนเผ่าม้งเขียว บางทีก็รู้จักกันในชื่อชนเผ่าม้งน้ำเงินหรือชนเผ่าม้งลาย ซึ่งพวกเขาเรียกตัวเองว่า ชนเผ่าม้งจั๊วะ (Hmoob Ntsuab) มีแนวคิดซึ่งเป็นการสันนิฐานเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดชนเผ่าม้ง ดังนี้ แนวคิดที่หนึ่ง โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศส นิกายโรมันคาธอลิก ชื่อ ซาวิน่า สันนิฐานว่าบรรพบุรุษของชนเผ่าม้งน่าจะอพยพมาจากดินแดนขั้วโลกเหนือ เข้ามาทางตอนเหนือของประเทศจีนสู่ดินแดนมองโกเลีย ลงมาทางใต้ของจีนเข้าสู่ดินแดนที่ปัจจุบันเป็นรอยต่อของประเทศจีน เวียดนาม ลาว ไทย และพม่า เพราะมีตำนานที่ชนเผ่าม้งได้เล่าว่าที่นั่นเป็นดินแดนที่หนาวจัดและปกคลุมไปด้วยหิมะ ในกลางวันนั้นเห็นพระอาทิตย์เพียงหกเดือน และไม่เห็นอีกหกเดือน แนวคิดที่สอง ได้รับอิทธิพลจากตำนานของลาวกับจีน เน้นถึงความคล้องจองของชื่อสินชัยของลาว กับ Xeem Xais ของชนเผ่าม้ง และคำว่าชนเผ่าม้ง (Hmood /Mood) กับ มองโกเลีย (Muam- Nkauj Liag) ความเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมทั้งสามกลุ่ม รวมถึงระบบตัวเขียนพ่าเฮา (Phaj Hauj) ในประเทศลาวก่อนสิ้นสุดยุคสงครามเวียดนาม แนวคิดที่สาม อิงหลักจากฐานทางประวัติศาสตร์ของจีนและตำนานที่สืบทอดจากบรรพบุรุษเป็นหลัก ซึ่งเชื่อว่าบรรพบุรุษชนเผ่าม้งอพยพมาจากชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันออกของประเทศจีน หรือบริเวณทะเลเหลือง โดยค่อย ๆ เคลื่อนย้ายทำมาหากินตามแม่น้ำฮวงโห (แม่น้ำเหลือง หรือ Dej - Nag) เข้ามาสู่บริเวณที่ปัจจุบันเป็นภาคกลางของประเทศจีน ซึ่งมีหลักฐานทางวัฒนธรรมของชนเผ่าม้งบางอย่างที่เกี่ยวพันกับทะเลและแม่น้ำเหลือง เช่น ลายผ้ารูปก้นหอย เส้นตักขวางสองเส้นบนลายกระโปรงของหญิง ชนเผ่าม้งจั๊วะที่เป็นสัญลักษณ์ของแม่น้ำเหลืองและแม่น้ำแยงซีเกียง และภาษิตกับตำนานชนเผ่าม้งเกี่ยวกับแม่น้ำเหลือง จากแนวคิดที่เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดของชนเผ่าม้ง แนวคิดที่สามมีความน่าเชื่อถือได้มาก เพราะมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของจีนและมีเอกลักษณ์ในวิถีชีวิตประจำวันของชนเผ่าม้งที่สอดคล้องกับบริบทสภาพแวดล้อม ซึ่งตามหลักฐานของจีนกล่าวว่าแหล่งกำเนิดของชนชาติ “เหมียว” มีความสัมพันธ์กับ “ซานเหมียว” และ “หนานหมาน” ในยุคดึกดำบรรพ์ คือประมาณ 5,000 ปีก่อน นักประวัติศาสตร์จีนสันนิฐานว่า บรรพบุรุษชาวเหมียวหรือชนเผ่าม้งน่าจะมาจากสัมพันธมิตรชนเผ่าที่เรียกตัวเองว่า “จิวลี่” ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้ำเหลืองและแม่น้ำแยงซีเกียง มีจีเย่อ (Txiv Yawg) เป็นหัวหน้าและถูกผู้นำชนเผ่าอีกฝ่ายหนึ่ง คือ ห้วงตี่ (Faj Tim) ในปัจจุบันเข้าใจกันว่าน่าจะเป็นบรรพบุรุษของจีนนำกองกำลังเข้าโจมตีและครอบครองพื้นที่ดังกล่าวจากนั้นชาวเหมียวหรือ ชนเผ่าม้งจึงอพยพลงทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เข้าสู่ทะเลสาบต้งถิง (Dong Teng) ทะเลสาบ โปยาง (PoYang) แล้วเคลื่อนย้ายเข้าสู่มณฑลเสฉวนกุ้ยโจวในที่สุด การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติกับการรุกรานของชาวมองโกล ชาวแมนจู และชาวฮั่น ทำให้เกิดสงครามระหว่างชนเผ่าม้งกับผู้รุกรานหลายครั้ง นอกจากนั้นนโยบายการสร้างรัฐชาติและการขุดรีดภาษีจากรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น ทำให้ชนเผ่าม้งทนไม่ไหวและได้ลุกขึ้นก่อการกบฏหลายครั้งในประวัติศาสตร์จีนในแต่ละครั้งได้รับการปราบปรามอย่างหนัก ส่งผลต่อการอพยพของชนเผ่าม้งจากประเทศจีนเข้าสู่บริเวณภาคเหนือของประเทศเวียดนาม ลาว ไทย และพม่า
ตารางที่ 4 จำนวนประชากรชนเผ่าม้งในประเทศต่าง ๆ ปี 2544 - 2546
ลำดับ | ประเทศ | จำนวนประชากร | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
1 | จีน | 7,398,053 | รวมม้งทุกกลุ่ม |
2 | เวียดนาม | 787,604 | รวมม้งทุกกลุ่ม |
3 | ลาว | 315,465 | |
4 | สหรัฐอเมริกา | 520,000 | |
5 | ไทย | 126,300 | |
6 | พม่า | 25,000 | ประมาณ |
7 | ฝรั่งเศส | 10,000 | |
8 | ออสเตรเลีย | 1,600 | |
9 | เฟรนช์เกียน่า | 1,400 | |
10 | แคนาดา | 600 | |
11 | อาร์เจนติน่า | 500 | ประมาณ |
12 | เยอรมัน | 150 | ประมาณ |
13 | นิวซีแลนด์ | 100 | ประมาณ |
ภาพที่ 1 แผนที่แสดงถึงการเคลื่อนย้ายของชนเผ่าม้ง ในประเทศไทย
ในดินแดนล้านนาหรือภาคเหนือของประเทศไทย ชนเผ่าม้งเริ่มอพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่งระหว่างช่วงต่อคริสต์ศักราช 1800 และ 1900 โดยในบันทึกของชาวตะวันตกพบว่า มีชนเผ่าม้งตั้งหมู่บ้านอยู่ในจังหวัดตากก่อนหน้าปี ค.ศ.1929 จากเอกสารของกระทรวงศึกษาธิการโรงเรียนของรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นในชุมชนชนเผ่าม้งแห่งแรกคือ ที่บ้านนายเลาต๋า หมู่บ้านชนเผ่าม้ง อำเภออุ้งผาง จังหวัดตากเป็นโรงเรียนประชาบาล สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2478 หรือ ปี ค.ศ.1935 ชนเผ่าม้งในประเทศไทย ในปัจจุบันมีประชากรทั้งสิ้น 124,211 คน โดยกระจายตัวอยู่ใน 12 จังหวัดทางภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดลำปาง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดสุโขทัย ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีชนเผ่าม้งอยู่ในจังหวัดเลย โดยชนเผ่าม้งอาศัยอยู่ เป็นจำนวนมากในจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน และจังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าม้งในประเทศไทย จะนิยมตั้งหมู่บ้านอยู่ในระดับความสูงประมาณ1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล เนื่องจากความสูงในระดับนี้เหมาะสำหรับการเพาะปลูกฝิ่น ในอดีตนั้นชนเผ่าม้งมักอพยพหมู่บ้านบ่อยครั้ง เนื่องจากปัญหาที่ดินทำกินขาดความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาภัยสงครามทางการเมืองระหว่างรัฐบาลไทยกับพรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่งการอพยพในแง่หนีสงครามเป็นไปตามความต้องการของรัฐเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและการแย่งชินมวลชนตามนโยบายรัฐบาล
ชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร[แก้ไข]
อำเภอคลองลาน เดิมเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอเมืองกำแพงเพชร มีชื่อว่า “ตำบลโป่งน้ำร้อน” ในปี พ.ศ.2519 แยกตำบลออกเป็นตำบลคลองน้ำไหล ในปี พ.ศ.2520 แยกตำบลออกเป็นตำบลคลองลานพัฒนา ในปี พ.ศ.2521 ยกฐานะขึ้นเป็น “กิ่งอำเภอคลองลาน” เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2529 ได้รับการยกฐานะเป็น“อำเภอคลองลาน” อำเภอคลองลาน อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด อาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอวังเจ้า (จังหวัดตาก) และ อำเภอโกสัมพีนคร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอเมืองกำแพงเพชร ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอปางศิลาทอง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภออุ้มผาง และ อำเภอพบพระ (จังหวัดตาก) นายพรมชาติ จิตชยานนท์กุล กล่าวว่า ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน มีการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานราวประมาณ ปี พ.ศ.2518-2519 บางกลุ่มก็ย้ายเข้ามาราวปี พ.ศ.2522 ส่วนใหญ่ย้ายมาจากเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จังหวัดตาก โดยทยอยการย้ายเข้ามาและรวมตัวกันเป็นหมู่บ้านใหญ่ในราวปี พ.ศ.2528 ปัจจุบันมีชนเผ่าม้งตั้งถิ่นฐานอยู่ในอำเภอคลองลาน จำรวน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ 1. บ้านตลาดม้ง 2. บ้านใหม่ชุมนุมไทร 3. บ้านป่าคา
วิถีชีวิต[แก้ไข]
การประกอบอาชีพ[แก้ไข]
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก อาชีพรองคือ การค้าขาย การทำเกษตรกรรมของชนเผ่าม้งจะอาศัยแหล่งน้ำจากธรรมชาติ ทำไร่ - ทำนา และเลี้ยงสัตว์ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ มันสำปะหลัง ข้าว เลี้ยงสัตว์และผลไม้ยืนต้น การปลูกข้าวโพด ผักต่าง ๆ มีเป็นบางครอบครัว นอกจากนี้ ชนเผ่าม้งยังมีกลุ่มอาชีพในหมู่บ้าน เช่น กลุ่มเกษตรพัฒนา กลุ่มปักผ้าชาวเขา กลุ่มการตีมิด และกลุ่มค้าขาย อาชีพทั่วไป เช่น ช่างซ่อมรถยนต์ ช่างซ่อมรถมอเตอร์ไซต์ ช่างก่อสร้าง เป็นต้น การทำผ้าปักใยกัญชงสำหรับชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร นั้น เนื่องจาก อำเภอคลองลานไม่ได้รับอนุญาตให้ปลูกต้นใยกัญชง จังหวัดที่ได้รับอนุญาตให้ปลูกต้นใยกัญชงได้นั้นมีเพียง 6 จังหวัด 15 อำเภอ ซึ่งก็คือ จ.เชียงใหม่ 4 อำเภอ คือ อ.แม่วาง แม่ริม สะเมิง และแม่แจ่ม จ.เชียงราย 3 อำเภอ คือ อ.เทิง เวียงป่าเป้า และแม่สาย จ.น่าน 3 อำเภอ คือ อ.นาหมื่น สันติสุข และสองแคว จ.ตาก เฉพาะที่ อ.พบพระ จ.เพชรบูรณ์ 3 อำเภอ ประกอบด้วย อ.หล่มเก่า เขาค้อ และเมือง และ จ.แม่ฮ่องสอน เฉพาะ อ.เมือง เท่านั้น
ระบบครอบครัวและญาติ[แก้ไข]
ชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน จะอาศัยอยู่กันเป็นครอบครัวใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นชนเผ่าม้งเขียวหรือชนเผ่าม้งดำเท่านั้น ส่วนชนเผ่าม้งขาวไม่พบว่ามีการตั้งถิ่นฐานในเขตอำเภอคลองลาน ตระกูลแซ่นั้นสามารถแบ่งได้ เป็น 7 ตระกุลใหญ่ ๆ ได้แก่ 1) ตระกูลแซ่ม้า 2) ตระกูลแซ่ย่าง 3) ตระกูลแซ่กือ 4) ตระกูลแซ่จ้าง 5) ตระกลูแซ่โซ้ง 6) ตระกูลว่าง และ 7) ตระกูลแซ่หาง โดยตระกูลที่มีจำนวนน้อยที่สุดคือตระกูลแซ่ว่างและตระกูลแซ่หาง
การแต่งกาย[แก้ไข]
ชนเผ่าม้งมีการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ มีความสวยงามทั้งลวดลายต่างๆ บนผ้าและแบบของเสื้อผ้า ในอดีตชนเผ่าม้งใช้ผ้าไหมดิบที่ผลิตเองมาปักเป็นลวดลาย ซึ่งชนเผ่าม้งคิดค้นออกแบบเอง เมื่อมีการปักลวดลายเรียบร้อย จะนำมาแปลรูปเป็นเสื้อผ้าที่จะสวมใส่ในปัจจุบัน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนบวกกับความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ชุดชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลานจะมีการประดิษฐ์ด้วยชุดที่มีสีสวยงามมากขึ้นและมีรูปแบบที่ทันสมัยมากขึ้น การแต่งกายในชีวิตประจำวันก็หันมาแต่งแบบคนไทยพื้นราบแทน หรือบางครั้งจะใส่เพียงเสื้อหรือกางเกงเท่านั้น การแต่งกายด้วยชุดชนเผ่าม้งนี้จะใช้ในงานสำคัญๆ เท่านั้น เช่น งานประเพณีปีใหม่ งานแต่งงาน เป็นต้น ลักษณะเครื่องแต่งกายแบบชุดชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ผู้หญิง เสื้อสีดำแขนยาว ปลายแขนเสื้อมีการปักลวดลายสวยงาม ด้านหน้าจะผ่ากลางปล่อยสาบเสื้อทั้งสองข้าง แล้วปักลวดลายพร้อมตกแต่งด้วยผ้าสีต่าง ๆ มีการประดิษฐ์ขึ้นหลายแบบ ผู้หญิงจะใส่กระโปรง ซึ่งชนเผ่าม้งดำนิยมทำกระโปร่งด้วยสีที่ฉูดฉาดพร้อมกับใช้ผ้าพันน่องขา มีผ้าปิดหน้า เรียกว่า “เซ๋” ชายผ้าปิดหน้าจะผูกเอวแล้วปล่อยชายไว้ด้านหลัง ผู้ชาย ตัวเสื้อจะเป็นแบบเอวลอยด้านหน้าของเสื้อจะผ่ากลางไม่เท่ากัน ซึ่งด้านขวามือจะเหลือเนื้อที่ของผ้าเยอะกว่าเพื่อที่จะปักทำเป็นมุมต่าง กางเกงจะเป็นแบบเป้ายานและขากว้าง ชายกางเกงจะปักด้วยลวดลายที่สวยงาม
ภาพที่ 2 การแต่งกายชนเผ่าม้งในปัจจุบัน
ที่อยู่อาศัย[แก้ไข]
อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลคลองน้ำไหล ตำบลโป่งน้ำร้อน ตำบลคลองลานพัฒนา ตำบลสักงาม มีหมู่บ้านทั้งหมด 68 หมู่บ้าน ซึ่งมีหมู่บ้านที่เป็นชนเผ่าม้งจำนวน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ 1. หมู่บ้านตลาดม้ง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตําบลคลองลานพัฒนา อําเภอคลองลาน จังหวัดกําแพงเพชร มีเส้นทางคมนาคมหลักลักษณะต่าง ๆ ในตำบล ดังนี้ ตำบลคลองลานพัฒนา มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 1117 คือ ถนนคลองแม่ลาย - คลองลาน เป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมติดต่อกับเมืองกำแพงเพชรได้อย่างสะดวก มีถนนหลักลาดยางติดต่อกับ จังหวัดกำแพงเพชรและอำเภอคลองลานได้อย่างสะดวก 2. บ้านใหม่ชุมนุมไทร อ. คลองลาน จ. กำแพงเพชร ตั้งอยู่ทางหลวงชนบทหมายเลข 4049 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร 62180 อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 48.5 กม. ใช้เวลาเดินทาง ตัวจังหวัดประมาณ 1 ชั่วโมง 3 นาที อยู่ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 46.7 กม.ใช้เวลาเดินทางตัวอำเภอประมาณ 1 ชั่วโมง 4 นาที 3. บ้านป่าคา อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร โดยจารีตประเพณีของชนเผ่าม้งนั้นจะสร้างบ้านติดพื้นดินเพื่อความสะดวกของการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ การสร้างเรือนในลักษณะบ้านติดพื้นดินนั้น มีทางเข้า-ออกเรือนเพียงทางเดียว หลังคาจั่วหรือเพิงหมาแหงน วัสดุมุงเป็นหญ้าคาหรือสังกะสี ผนังบ้านเป็นไม้แผ่นหรือบางเรือนมีผนังเป็นไม้ไผ่ขัดแตะ พื้นเรือนเป็นพื้นดินอัดแน่นเช่นเดียวกับด้านนอกเรือน ใช้ความต่างระดับของพื้นภายในกับภายนอกในการระบายน้ำ นับถือผีป่าและบูชาวิญญาณบรรพบุรุษ เนื่องจากปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากขึ้น และชนเผ่าม้งส่วนมากก็ย้ายมาอาศัยอยู่พื้นราบ โดยทางการอยู่อาศัยร่วมกันจึงส่งผลให้รูปแบบในการสร้างบ้านของชนเผ่าม้งอำเภอคลองลานเปลี่ยนแปลงไป มีทั้งบ้านที่สร้างจากไม้ทั้งหลัง บ้านกึ่งไม้กึ่งปูน และบ้านที่สร้างด้วยปูนทั้งหลัง มีทั้งแบบชั้นเดียวและแบบ 2 ชั้น เหตุผลหนึ่งที่สำคัญ ถึงแม้จะสร้างบ้านแบบชั้นเดียวแต่แบบบ้านก็จะต่างไปจากสมัยก่อน เพียงแต่ยังรักษาจารีตประเพณีต่าง ๆ ไว้ ไว้ถึงจะไม่ร้อยเปอร์เซ็น การสร้างบ้านของชนเผ่าม้ง ในอำเภอคลองลาน นิยมหันมาปลูกบ้านแบบสมัยใหม่กันหมด แบบบ้านติดดินเหมือนสมัยก่อนนั้นไม่มีใครปลูกแล้ว
ภาพที่ 3 บ้านเรือนชนเผ่าม้งแบบโบราณ อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ภาพที่ 4 บ้านเรือนบริเวณตลาดม้ง ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร
ข้อควรสังเกตในการเยี่ยมบ้านชนเผ่าม้ง คือ หากไปแล้วพบประตูปิดแล้วมีไม้หรือกิ่งไม้แขวนอยู่ชายคาหน้าบ้านแขกก็ไม่ควรเข้าไปรบกวนเรียกเจ้าของบ้าน เพราะเจ้าของบ้านกำลังอยู่กรรม เรียกว่า “ไจ๋” การไจ๋ คือ การอยู่กรรมของม้งนั้น ม้งถือว่าเป็นการหลีกเลี่ยงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เมื่อบ้านนั้นอยู่กรรมบ้านนั้นจะมีไม้หรือกิ่งไม้แขวนไว้ที่หน้าประตูเพื่อเป็นการเตือนหรือบอกให้ผู้อื่นรับรู้ หากว่าแขกที่มาเยี่ยมบ้านนั้นไม่ทราบ เกิดไปตะโกนถามคนในบ้านนั้นจะทำให้ผีเอาขวัญของคนป่วยในบ้านนั้นไป และจะต้องมีการทำผีหรืออั๊วเน้งใหม่อีกครั้ง โดยจะปรับแขกที่มาเรียกนั้นเป็นค่าปรับหรือเป็นสัตว์ที่จะต้องมาทำผีหรืออั๊วเน้งอีกครั้ง การไจ๋ ในสมัยก่อนจะใช้เวลาประมาณ 5-7 วัน แต่เนื่องจากวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ปัจจุบันนี้ จึงได้เปลี่ยนมาเป็นวันเดียวเท่านั้น เมื่อมีแขกมาเยือนบ้าน คำแรกที่เจ้าของบ้านจะร้องทักทาย คือ คุณมาหรือก้อตั้วหลอ (ใช้กับแขกคนเดียว) - เน้ตั้วหลอ (ใช้กับแขกสองคน ) - เน่ตั้วหลอ (ใช้กับแขกสามคนขึ้นไป) ซึ่งเป็นคำถามที่ให้เกียรติแขกที่มาเยือน และรับรู้การมาของแขก ส่วนผู้มาเยือนจะตอบรับว่า ผมมา-กู๋ตั้วอ่อ (คนเดียว) - อี๊ตั้วอ่อ (สองคน ) - เป๊ตั้วอ่อ (สามคนขึ้นไป)
ของใช้ในชีวิตประจำวัน[แก้ไข]
การตีมีด ชนเผ่าม้งมีความรู้เรื่องการทำมีดอยู่มากมาย จะเห็นได้ว่าชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลาน มีกลุ่มตีมีด ซึ่งในแต่ละปีก็สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนได้ไม่น้อย ลักษณะมีดจะไม่เหมือนกับชนเผ่าอื่น ชนเผ่าม้งจะมีการตีมีดตามสภาพการใช้งาน ถ้าเป็นงานหนักตัวมีดก็จะมีลักษณะใหญ่ แต่ถ้าใช้ในการดายหญ้าจะทำด้ามมีดให้ยาวเพื่อสะดวกในการฟันหญ้าหรือถ้าตัดไม้ก็จะทำตัวมีดใหญ่ขึ้น มีดของชนเผ่าม้ง ได้แก่ มีดด้ามยาว (เม้าจั๊ว) เคียวเกี่ยวข้าว ขวาน (เต่า) เป็นต้น ชนเผ่าม้งมีการทำงานในไร่หรือในสวนต่างๆ จึงมีการตีมีดให้เหมาะสมกับงาน เช่น การตัดไม้จะต้องใช้มีดด้ามยาว (เม้าะจั๊วะ) หรืออาจจะใช้ขวานก็ได้ ส่วนการทำอาหารจะใช้มีดด้ามสั้นหรือมีดปลายแหลม ส่วนงานที่หนักจะต้องใช้มีดที่มีขนาดใหญ่เหมาะกับการใช้งาน เป็นต้น ของใช้ในชีวิตประจำวันของชนเผ่าม้งในสมัยก่อน เช่น มีดด้ามสั้นหรือมีดปลายแหลม (เจ๊าะปลึ่อ) มีดด้ามยาว (เม้าจั๊ว) ขวาน (เต่า) ปืนแก๊ส (ปลอ-ย่าง) ธนู (เน่ง) กระบุง (เกอะ) กระด้ง (ว้าง) กระชอน (ซัวะจี้) หม้อข้าว (จู่) ขัน (ฝึ๋กเต้า) กะทะ (เยีย) หม้อเล็ก (เล่าเก๋ว) หม้อตำขนมม้ง (ดั้งจั่ว) เครื่องรีดน้ำอ้อย ซุ้มไก่ (เต้อะคาร์) เครื่องโม่ข้าวโพด (แยะ) ครกกระเดื่อง (จู่)
ภาพที่ 5 เครื่องใช้ในชีวิตประจำวันของชนเผ่าม้งในสมัยก่อน
ปัจจุบันเมื่อยุคสมัยเปลี่ยนแปลงไปมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากขึ้น ความทันสมัยเข้ามาสู่วิถีชีวิตของชนเผ่าม้งจนกลายเป็นเรื่องธรรมดาไปแล้ว ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันหลายสิ่งหลายอย่างก็มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม เครื่องใช้แบบโบราณบางอย่างก็เลิกใช้ไปบ้างแล้ว เช่น หม้อข้าว (จู) ขันน้ำเต้า (ฝึ๋กเต้า) ครกกระเดื่อง (จู่) เป็นต้น
ความเชื่อของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร[แก้ไข]
ชนเผ่าม้งมีความเชื่อว่าพิธีไสยศาสตร์จะช่วยให้วินิจฉัยโรคได้และทำการรักษาได้ผล และเชื่อว่าความเจ็บป่วยเกิดจากการผิดผี จะต้องมีพิธีกรรมในการปฏิบัติรักษา นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงโดยไม่มีโรคภัยมาเบียดเบียนนั่นคือ ความสุขอันยิ่งใหญ่ ฉะนั้นชนเผ่าม้งจึงต้องทำทุกอย่างเพื่อเป็นการรักษาจากโรคต่าง ๆ พิธีกรรมในการรักษาโรคของชนเผ่าม้งมีอยู่หลายแบบ ซึ่งจะแตกต่างกันออกไป ดังนี้ การทำผี (การอั๊วเน้ง) การอั๊วเน้งจะทำได้ก็ต่อเมื่อมีคนในครอบครัวเจ็บป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ การอั๊วเน้งเป็นการเรียกขวัญที่หายไปให้กลับคืนมา ชนเผ่าม้งเชื่อว่าการเจ็บป่วยเกิดจากขวัญที่อยู่ในตัวหายไป เครื่องมือในการทำผี ได้แก่ ไม้คู่เสี่ยงทาย (กั๊วะ) ฆ้อง (จั๊วะเน้ง) เก้าอี้ในการนั่งทำผี (จ๋องเน้ง) เหรียญกษัตริย์ (จื้อเน้ง) การรักษาคนตกใจ (การไซ่เจง) การไซ่เจงจะทำเมื่อมีคนป่วยที่ตัวเย็น เท้าเย็น ใบหูเย็น มือเย็น ชนเผ่าม้งเชื่อว่าการที่เท้าเย็น มือเย็น หรือตัวเย็น เกิดจากขวัญในตัวคนได้หล่นหายไป การรักษาด้วยการเป่าด้วยน้ำ (การเช้อแด้ะ) จะทำเมื่อมีคนในครอบครัวป่วย ตกใจมากเป็นพิเศษ กลัวมากเป็นพิเศษ โดยไม่ทราบสาเหตุ การปัดกวาดสิ่งที่ไม่ดีออกไป (ตูซู้) ชนเผ่าม้งจะปัดกวาดสิ่งที่ไม่ดีออกไป ในช่วงขึ้นปีใหม่เพื่อปัดเป่าหรือกวาดสิ่งที่ไม่ดีให้ออกไปจากบ้าน หมูประตูผี (อัวะบั๊วจ๋อง) เป็นพิธีกรรมที่ชนเผ่าม้งทำเพื่อรักษาคนในบ้านให้ปราศจากโรคภัยต่าง ๆ การประกอบพิธีกรรมหมูประตูผีนั้นจะทำในตอนกลางคืนเท่านั้น มีการกล่าวเพื่อปิด - เปิดประตูบ้าน และจะมีการฆ่าหมูแล้วต้มให้สุก นำหมูที่ต้มสุกมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ จัดใส่จานไว้ 9 จาน สำหรับทำพิธี ซึ่งแต่ละจานจะใส่เนื้อหมูไม่เหมือนกัน ดังนี้ หมูที่ต้มสุกนั้นมาหั่นให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ จัดไว้ตามจานที่วางไว้ 9 จาน ซึ่งแต่ละจานจะใส่ชิ้นเนื้อไม่เหมือนกัน โดย จานที่ 1 ใส่มือซ้ายหมูและหัวข้างซ้าย จานที่ 2 จะใส่ขาขวาหมูกับหัวข้างขวา จานที่ 3 จะใส่ขาซ้ายหมูกับคางซ้ายหมู จานที่ 4 ใส่มือขวาหมูกับคางขวาหมู จานที่ 5 ใส่มือซ้ายหมู จานที่ 6 ใส่ขาขวาหมู จานที่ 7 ใส่ขาขวาหมูกับใบหู 5 ชิ้น จานที่ 8 ใส่มือขวาหมู จานที่ 9 ใส่จมูกและหางหมู การเกิด ชนเผ่าม้งมีความเชื่อว่า การตั้งครรภ์นั้นเกิดจากผีพ่อผีแม่ให้เด็กมาเกิด เวลาใกล้คลอดหญิงมีครรภ์ไม่ควรไปไหนมาไหนโดยลำพัง หรือถ้ามีความจำเป็นจะต้องมีเพื่อนไปด้วยอย่างน้อย 1 คน การคลอดจะเป็นไปตามธรรมชาติ ชนเผ่าม้งเชื่อว่าถ้าเป็นเด็กผู้ชายจะนำรกไปฝังไว้ที่เสากลางบ้าน ซึ่งเป็นเสาที่มีผีเสาสถิตอยู่ เพราะผู้ชายควรจะรู้เรื่องผี ถ้าเป็นเด็กผู้หญิงจะฝังรกไว้ใต้แคร่นอนของมารดา เพราะต้องการให้ลูกสาวรู้จักรักนวลสงวนตัว และรู้จักการบ้านการเรือน ชนเผ่าม้งจะตั้งชื่อบุตรหลังจากเด็กเกิดได้ 3 วัน โดยมีการทำพิธีตั้งชื่อ และนำไก่มาเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษเพื่อบอกผีบ้านผีเรือนให้คุ้มครองเด็กและขอบคุณผีพ่อผีแม่ที่ส่งเด็กมาเกิด ชนเผ่าม้ง เชื่อว่า ถ้าเด็กที่เกิดมายังไม่ครบ 3 วันนั้นยังเป็นลูกผีอยู่ หากเด็กนั้นตายภายใน 3 วันหลังจากคลอด จะไม่มีการจัดพิธีศพและสามารถนำเด็กไปฝังได้เลย ในปัจจุบันนี้ชนเผ่าม้งนิยมไปคลอดที่โรงพยาบาลเพื่อความปลอดภัยต่อเด็กและแม่ แต่เด็กหรือบุตรที่เกิดมาต้องมีการทำพิธีตามประเพณีดั้งเดิมของชนเผ่าม้งทุกประการ การตาย ชนเผ่าม้งเชื่อว่าพิธีศพที่ครบถ้วนถูกต้องจึงจะส่งวิญญาณผู้ตายไปสู่สุคติได้ เมื่อมีการตายเกิดขึ้น ณ บ้านใด ญาติจะยิงปืนขึ้นไปบนฟ้า 3 นัด เป็นสัญญาณว่ามีการตายเกิดขึ้นในบ้านหลังนั้น การจัดพิธีศพของชนเผ่าม้งจะจัดในบ้านของผู้ตาย จะมีการอาบน้ำให้ศพจากนั้นก็จะแต่งกายให้ศพด้วยเสื้อผ้าชุดชนเผ่าม้ง ตำแหน่งการตั้งศพคือตั้งบนพื้นใกล้ศาลพระภูมิหรือศาลบรรพชน ภาษาม้ง เรียกว่า “สือ ก๋าง” (Xwm Kaab) ซึ่งอยู่ตรงกันข้ามกับประตูบ้านหรือที่เรียกว่าประตูผี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเชื่อของแต่ละนามสกุลที่แตกต่างกันออกไป จะมีการผูกข้อมือญาติทุกคนด้วยผ้าสีแดงและห้ามแกะออกจนกว่าจะเสร็จงานศพ บางแซ่จะมีการคาดศีรษะด้วยผ้าสีขาว ดังเช่นพิธีศพของชาวจีน ชนเผ่าม้งเชื่อว่าเมื่อมีเด็กหรือใครก็ตามที่หกล้มบริเวณบ้านของผู้ตาย ให้รีบทำพิธีเรียกขวัญบุคคลนั้นกลับมา มิฉะนั้นวิญญาณของผู้ตายจะนำวิญญาณของผู้ที่หกล้มไปอยู่ด้วย ชนเผ่าม้งนิยมพันนิ้วมือศพด้วยด้ายสีแดง เพราะมีความเชื่อว่าระหว่างที่วิญญาณผู้ตายเดินทางไปยังปรโลก วิญญาณของผู้ตายจะถูกรั้งให้ปอกหัวหอม ทำให้เดินทางไปเกิดช้า วิญญาณผู้ตายสามารถอ้างได้ว่า เจ็บนิ้ว ทำให้ไม่สามารถปอกหอมได้ และชนเผ่าม้งยังเชื่อว่าวิญญาณผู้ตายต้องเดินทางฝ่าดงบุ้งยักษ์ จึงมีการ สวมรองเท้าให้ศพด้วย จากนั้นศพจะถูกจัดวางบนแคร่และหามสูงจากพื้นประมาณ 1 เมตร จะมีการตั้งข้าวให้ศพ วันละ 3 เวลา แต่ละครั้งจะต้องยิงปืน 3 นัด และมีการจุดตะเกียงวางไว้ที่ลำตัวของศพ “น๋อง จ๋อง” (Noob Ncoos) เป็นผ้าสี่เหลี่ยมสีแดง ปักเป็นลวดลายต่าง ๆ มอบให้ผู้ตายเพื่อแสดงความอาลัย มีการตัดกระดาษแขวนไว้ข้างฝาของตัวบ้าน เพื่อที่จะเผาและเป็นการส่งผู้ตายให้ไปถึงที่หมาย ปัจจุบันได้มีการนำพวงหรีดไว้อาลัยร่วมกับการแขวนกระดาษด้วยก่อนจะนำศพไปฝันจะมีพิธี “ชือ ฉ้า” (Tswm Tshaav) โดยพิธีกรรมนี้จะต้องจัดในลานกว้าง ๆ ที่ญาติได้เตรียมไว้ เมื่อทำพิธีเสร็จจึงนำผู้ตายไปฝังได้ เมื่อขบวนถึงสุสานจะมีผู้เฒ่าทำพิธีที่หลุมอีกครั้งหลังจากนั้นจะเผากระดาษหรือทุกสิ่งทุกอย่างที่จะมอบให้กับผู้ตาย จึงหย่อนศพลงหลุมและกลบดินปิดปากหลุม มีการจัดวางก้อนหินเหนือหลุมศพ บางครอบครัวจะล้อมรั้วรอบบริเวณหลุมศพ เพื่อไม่ให้สัตว์มาคุ้ยเขี่ยหลุมศพ สถานที่ฝังศพของชนเผ่าม้งจะดูตามตำราฮวงจุ้ย หรือฝังตามความต้องการของผู้ตายที่ได้บอกกล่าวล่วงหน้า ชนเผ่าม้งจะไว้ทุกข์ให้ผู้ตายประมาณ 13 วัน มีข้อห้ามระหว่างการไว้ทุกข์คือ ห้ามซักเสื้อผ้า และหวีผม เพราะเชื่อว่าสิ่งสกปรกจะเข้าไปในอาหารของผู้ตาย ห้ามต่อด้ายเพราะด้ายจะพันแข้งขาของผู้ตาย ห้ามเย็บผ้าเพราะเชื่อว่าผู้ตายจะถูกเข็มแทง ปัจจุบัน ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ยังคงอนุรักษ์วัฒนธรรมเหล่านี้ไว้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีการนำศพมาบรรจุไว้ในโลงศพแทนแคร่
ศิลปะการแสดง[แก้ไข]
ชนเผ่าม้งมีประเพณี วัฒนธรรมต่าง ๆ เช่นเดียวกับชนชาติอื่นๆ มีความสามารถในการสร้างงานศิลปะหลายด้าน ดังนี้ ด้านดนตรี ชนเผ่าม้งมีเครื่องดนตรีที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชนเผ่า ได้แก่ เฆ่ง (Qeej) ซึ่งแปลว่า แคน หรือ Mouth Organ เฆ่ง (Qeej) ซึ่งมีการเขียนหลายรูปแบบ เช่น เฆ่ง (Qeej), เค่ง (Qeej), เก้ง (Qeej) แต่ในงานรายงานชิ้นนี้จะขอใช้ในทางเดียวกัน คือ เฆ่ง (Qeej) เป็นเครื่องดนตรีที่ทำจากลำไม้ไผ่ และไม้เนื้อแข็ง มีปรากฏในเอเชียมากว่า 3,000 ปี และถือได้ว่าเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุด เฆ่ง (Qeej) ถือว่าเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นมรดกของชนเผ่าม้งเลยก็ว่าได้ เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้ในการประกอบในพิธีศพและในพิธีที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว รวมทั้งเป็นเครื่องดนตรีที่ใช้นันทนาการอีกด้วย เสียงเพลงที่แว่วมาอย่างโหยหวน แสดงความสูญเสีย ที่สลับซับซ้อนนั้นเป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ตายกับลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยู่ เสียงเฆ่งที่แว่วออกมาล้วนมีความหมายสอดแทรกบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้กับดวงวิญญาณได้รับรู้ เช่น ให้เขารู้ว่าเขาเสียชีวิตแล้ว ให้กลับมาทานข้าวเช้า มาทานข้าวเที่ยง มาทานข้าวเย็น ให้ผู้ตายนั้นรับรู้สิ่งต่างที่ลูกหลานมอบให้ ให้ผู้เสียชีวิตนั้นมีความสุขในภพต่อ ๆ ไป ให้เดินทางไปพบบรรพชนของตนเองได้ ดังนั้น ชนเผ่าม้งจึงถือว่าหากงานศพใดไม่มีการแสดงเฆ่ง (Qeej) งานศพนั้นก็จะไม่สมบูรณ์เพราะดวงวิญญาณไม่สามารถไปสู่สุคติได้ นอกจากนี้ เฆ่งยังสามารถนำไปแสดงงานรื่นเริงทั่วไผ ได้เช่นกัน จะพบได้มากที่สุดในช่วงเทศกาลปีใหม่ม้ง และยังเป็นการแสดงเพื่อต้อนรับบุคคลสำคัญหรือแขกบ้านแขกเมืองได้อีกด้วย
ภาพที่ 6 การแสดงเฆ่ง (Qeej) ในพิธีศพของชนเผ่าม้ง
ภาพที่ 7 การแสดงเฆ่ง (Qeej) เพื่อความบันเทิงของชนเผ่าม้ง
ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีอีกประเภทหนึ่งที่ใช้เป่าเรียกหาคู่และสร้างความจรรโลงใจแทนความรู้สึกของสภาพจิตใจของผู้นั้น จะเป่าในงานสำคัญ เช่น งานปีใหม่ เป็นต้น ในปัจจุบันชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลานยังนิยมเป่าขลุ่ยกันอย่างแพร่หลาย กลอง หรือ จั๊ว เป็นเครื่องดนตรีที่มีลักษณะเป็นกลองสองหน้า ใช้แผ่นหนังสัตว์สองแผ่นมาประกอบเข้ากับโครงกลองหลอมตัวกลองทั้งสองด้านริมขอบของแผ่นหนังทั้งสองแผ่นจะเจาะรูเป็นคู่ๆ สำหรับเสียบสลักไม้เล็กๆ เพื่อใช้เชือกร้อยสลักไม้ของแผ่นหนังทั้งสองด้านดึงเข้าหากัน ซึ่งจะทำให้แผ่นหนังกลองตึงตัวเต็มที่ เมื่อตีจะมีเสียงดังกังวาน กลองนี้จะใช้เมื่อประกอบพิธีงานศพ การปล่อยผีหรือปลดปล่อยวิญญาณเท่านั้น
ประเพณี[แก้ไข]
ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร มีลักษณะการเคารพนับถือกันตามตระกุลแซ่และเชื่อมโยงกันเป็นชุมชนสังคมเครือญาติ การนับถือศาสนาจะนับถือศาสนาพุทธและผีเป็นส่วนใหญ่ มีวัฒนธรรมและประเพณีที่ยึดถือและปฏิบัติกันตั้งแต่สมัยโบราณ ได้แก่
ประเพณีปีใหม่[แก้ไข]
ประเพณีขึ้นปีใหม่หรือประเพณีฉลองปีใหม่ จะจัดขึ้นหลังจากได้เก็บเกี่ยวผลผลิตในรอบปีเรียบร้อย ประเพณีฉลองปีใหม่ เรียกว่า “น่อเป๊โจ่วฮ์” แปลตรงตัวได้ว่า “กินสามสิบ” สืบเนื่องจากชนเผ่าม้งจะนับช่วงเวลาตามจันทรคติ โดยจะเริ่มนับตั้งแต่ขึ้น 1 ค่ำ ไปจนถึง 30 ค่ำ (ซึ่งตามปฏิทินจันทรคติจะแบ่งออกเป็นข้างขึ้น 15 ค่ำ และข้างแรม 15 ค่ำ) เมื่อครบ 30 ค่ำ จึงนับเป็น 1 เดือน ดังนั้นในวันสุดท้าย (30 ค่ำ) ของเดือนสุดท้าย (เดือนที่ 12) ของปีจึงถือได้ว่าเป็นวันส่งท้ายปีเก่า ในวันดังกล่าว หัวหน้าครัวจะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา อาทิ การทำพิธีบูชาถึงผีฟ้า - ผีป่า – ผีบ้าน ที่ให้ความคุ้มครอง และดูแลความสุขสำราญตลอดทั้งปีวันถัดจากวันส่งท้ายปีเก่าไป 3 วัน เป็นวันฉลองปีใหม่ กิจกรรมการละเล่นที่บรรดาหนุ่มสาวนิยมเล่นกัน ในเทศกาลปีใหม่ คือ การโยนลูกช่วง ลูกช่วงที่ใช้เล่นนั้นทำขึ้นจากเศษผ้าสีดำเย็บต่อเชื่อมกันเป็นลูกกลม โดยหญิงสาวโสดจะเป็นผู้จัดทำลูกบอลผ้า โดยฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายเลือกชายหนุ่มที่พอใจ แล้วนำลูกช่วงไปให้ฝ่ายชาย เพื่อชวนไปโยนลูกช่วงด้วยกัน โดยแต่ละฝ่ายจะยืนเป็นแถวหน้ากระดานเรียงหนึ่งหันหน้าเข้าหากัน มีระยะห่างกันพอสมควร แล้วโยนลูกช่วงให้กันไปมา สามารถทำการสนทนากับคู่ที่โยนได้ เพื่อความสนุกสนาน นอกจากนี้ บนเวทียังมีการแสดงประกอบเพลงพื้นเมืองของเด็กสาวชนเผ่าม้ง และมีการแสดงการเป่าแคนของชนเผ่าม้ง ที่จะแสดงในงานเทศกาลปีใหม่ และวันสำคัญต่างๆ เท่านั้น ปัจจุบันการดำเนินชีวิตของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ปรับเปลี่ยนในบางสิ่งบางอย่าง เพื่อให้ทันต่อยุคสมัย จึงจัดโครงการจัดงานประเพณีท้องถิ่นของชนเผ่า เพื่อสืบสานประเพณีปีใหม่ชนเผ่าม้ง ให้ตรงกับวันขึ้นปีใหม่สากลเป็นประจำในทุกๆ ปี เพื่อที่ลูกหลานหรือญาติที่ไปประกอบอาชีพที่ห่างไกลสามากรถกลับมาร่วมงานได้
ภาพที่ 8 งานประเพณีปีใหม่ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ประเพณีกินข้าวใหม่ ตรงกับเดือนกันยายน-เดือนพฤศจิกายน[แก้ไข]
ประเพณีกินข้าวใหม่ของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณมีความเชื่อว่าจะต้องเลี้ยงผีปู่-ผีย่า เพราะช่วงเวลาในหนึ่งรอบปีที่ผ่านมานั้น เชื่อว่ามีผีปู่-ผีย่า ได้ดูแลครอบครัวของแต่ละครอบครัวเป็นอย่างดี ดังนั้นจึงมีการเซ่นบูชา ผีปู-ผีย่า พร้อมกับเจ้าที่ทุกตน ซึ่งการกินข้าวใหม่จะทำกันในเดือนตุลาคมของทุกปี ข้าวใหม่คือข้าวที่เก็บเกี่ยวเมื่อต้นข้าวเริ่มสุก ให้รวงข้าวมีสีเขียวปนเหลือง เมื่อเกี่ยวเสร็จก็จะนำมานวดให้ข้าวเปลือกหลุดออกโดยไม่ต้องตากให้แห้ง นำข้าวเปลือกที่นวดเรียบร้อยแล้วมาคั่วให้เม็ดข้าวแข็งและเปลือกข้าวแห้ง ในอดีตนั้นนิยมการตำข้าวด้วยโค้กกระเดื่อง เมื่อตำเสร็จเรียบร้อยนำข้าวมาหุงเพื่อเซ่นไหว้ผีปู่-ผีย่า ซึ่งในการทำพิธีเซ่นผีนั้น สามารถทำโดยการนำไก่ตัวผู้มาเซ่นไหว้ตรงผีประตูก่อน โดยการนำไก่ที่ต้มทั้งตัวมาประกอบพิธีซึ่งตำแหน่งที่จะต้องเซ่นไหว้มี 5 แห่ง ได้แก่ สื่อก๋าง ดั้งขอจุ๊บ ดั้งขอจุด ดั้งขอจ่อง ดั้งจี้ดั้ง ขณะทำพิธีต้องสวดบทสวดเพื่อที่บอกให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือได้รับรู้และเข้ามาทานก่อน เมื่อทำพิธีเสร็จคนในบ้านถึงจะสามารถ ทานต่อได้ พิธีกินข้าวใหม่นั้นได้สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน
ภาพที่ 9 ประเพณีกินข้าวใหม่ ของชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ประเพณีการแต่งงาน[แก้ไข]
หนุ่มสาวจะแต่งงาน ฝ่ายชายจะพาฝ่ายหญิงไปบ้านของตนเอง โดยผ่านประตูผีบ้านของฝ่ายชาย พ่อแม่ของฝ่ายชายจะเอาแม่ไก่มาหมุนรอบศีรษะทั้งสองคน 3 รอบ เรียกว่า “หรือข๊า” เป็นการต้อนรับลูกสะใภ้ ฝ่ายชายต้องให้ญาติผู้ใหญ่คน 2 คน เรียกว่า “แม่โก๊ง” ไปแจ้งทางญาติฝ่ายหญิงทราบภายใน 24 ชั่วโมง พ่อแม่ฝ่ายหญิงจะแจ้งให้แม่โก๊งว่าอีก 3 วันให้มาใหม่ ซึ่งหมายความว่าพ่อแม่ฝ่ายหญิงต้องการจัดงานแต่งงาน ในสมัยก่อนชนเผ่าม้งมักจะอยู่กินด้วยกันก่อน แล้วค่อยมาจัดงานแต่ง แต่ปัจจุบันนี้สังคมเปลี่ยนไปตามยุคเทคโนโลยี ทำให้การจัดงานแต่งงานของชนเผ่าม้งได้กำหนดจัดงานแต่งงานภายใน 3 วัน ซึ่งเป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน ค่าสินสอดในงานแต่งงานของชนเผ่าม้ง ในสมัยก่อนเรียกว่า “หน่าจื่อเค้าชอ” หมายถึง ค่าเลี้ยงดูบุตร หรือค่าที่พ่อแม่ชุบเลี้ยงลูกเป็นเงินแท่งจำนวน 4 แท่ง หรืออาจะมากกว่าตามกำลังของเจ้าบ่าว เงินแท่งเป็นค่าสินสอด ในปัจจุบันชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร นิยมใช้เป็นเงินสดแทนเงินแท่ง
ข้อมูลอื่น ๆ [แก้ไข]
สถานการณ์ปัจจุบันของชาติพันธุ์[แก้ไข]
-
ข้อมูลอื่นๆ[แก้ไข]
- สรุป ชนเผ่าม้งอำเภอคลองลานเป็นสังคมเกษตรกรรมอยู่เป็นครอบครัวใหญ่ เวลามีงานต่างๆ จะมาช่วยเหลือกันและกัน ไม่มีวันหยุดตามประเพณี เว้นแต่จะหยุดตามเหตุการณ์ต่าง ๆ คือ งานศพ งานแต่งงาน งานประเพณีปีใหม่ม้ง หรือการประกอบพิธีกรรมในแต่ละครัวเรือนเท่านั้น ในปัจจุบันนี้ชนเผ่าม้งในอำเภอคลองลานมีการประกอบอาชีพค้าขายกันมากขึ้น ประกอบกับมีการทำเกษตรแบบผสมผสานมากขึ้น ตลอดจนประกอบอาชีพอื่นมาเสริม เช่น การปักผ้า การตีมีด เป็นต้น
ภาพที่ 10 การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชนเผ่าม้ง
ข้อมูลการสำรวจ[แก้ไข]
วันเดือนปีที่สำรวจ[แก้ไข]
1 พฤษภาคม 2561
วันปรับปรุงข้อมูล[แก้ไข]
-
ผู้สำรวจข้อมูล[แก้ไข]
นางสาวอภิญญา แซ่ยั้ง นางสาวสุวลัย อินทรรัตน์ นางสาวจีรวรรณ ผึ่งบางแก้ว
คำสำคัญ (tag)[แก้ไข]
ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน