ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง ความเชื่อที่ปรากฏจากอาหารในพิธีกรรมเสนเรือนของชาวไททรงดำ"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "=='''ข้อมูลทั่วไป'''== อาหารในพิธีกรรมเสนเรือนของชาวไทท...")
 
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 15: แถว 15:
 
==='''แหล่ง/ถิ่นอาหาร'''===
 
==='''แหล่ง/ถิ่นอาหาร'''===
 
         อาหารของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ. คลองลาน จ.กำแพงเพชร ที่จัดในพิธีเสนเรือน
 
         อาหารของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ. คลองลาน จ.กำแพงเพชร ที่จัดในพิธีเสนเรือน
 
+
==='''ประเภทอาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม'''===
ประเภทอาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม
+
        อาหารคาวที่ใช้ในพิธีกรรมเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
อาหารคาวที่ใช้ในพิธีกรรมเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน
+
==='''ผู้คิดค้น'''===
อ. คลองลาน จ.กำแพงเพชร
+
          ไม่ทราบที่มา ได้รับการถ่ายทอดในชนชาติไทดำในการประกอบพิธีเสนเรือน
ผู้คิดค้น
+
=='''ข้อมูลจำเพาะ'''==
ไม่ทราบที่มา ได้รับการถ่ายทอดในชนชาติไทดำในการประกอบพิธีเสนเรือน
+
          อาหารที่ใช้ประกอบในพิธีเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร ที่แต่ละชนิดจะทำจากหมู 1 ตัว และแต่ละชนิดจะมีความเชื่อและคติคำสอนแฝงไว้ของชาวไทดำ อาหารทั้ง 5 ชนิดนี้จะต้องมีและต้องมีให้ครบถ้าไม่มีหรือไม่ครบจะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้
ข้อมูลจำเพาะ
+
==='''ประวัติความเป็นมา'''===
อาหารที่ใช้ประกอบในพิธีเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน  
+
          ไม่ทราบที่มา ได้รับการถ่ายทอดในชนชาติไทดำในการประกอบพิธีเสนเรือน
อ. คลองลาน จ.กำแพงเพชร ที่แต่ละชนิดจะทำจากหมู 1 ตัวและแต่ละชนิดจะมีความเชื่อและ
+
==='''สรรพคุณ'''===
คติคำสอนแฝงไว้ของชาวไทดำ อาหารทั้ง 5 ชนิดนี้จะต้องมีและต้องมีให้ครบถ้าไม่มีหรือไม่ครบจะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้
+
          ใช้เพื่อประกอบพิธีเสนเรือนและเลี้ยงแขกที่มาร่วมพิธีเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
ประวัติความเป็นมา
+
=='''ข้อมูลการประกอบอาหาร'''==
ไม่ทราบที่มา ได้รับการถ่ายทอดในชนชาติไทดำในการประกอบพิธีเสนเรือน
+
          '''1. แกงหน่อส้ม หรือ แกงหน่อไม้ดองใส่ไก่ (ไก่ซ้อง)''' ในการแกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
สรรพคุณ
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 แกงหน่อส้มของชาวไทยดำ.jpg|400px|thumb|center]]
ใช้เพื่อประกอบพิธีเสนเรือนและเลี้ยงแขกที่มาร่วมพิธีเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2  
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 แกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร''' </p>
บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ. คลองลาน จ.กำแพงเพชร
+
          ส่วนประกอบของแกงหน่อส้ม ประกอบด้วย
ข้อมูลการประกอบอาหาร
+
              1. หน่อส้ม (หน่อไม้ดอง)
1. แกงหน่อส้ม หรือ แกงหน่อไม้ดองใส่ไก่ (ไก่ซ้อง) ในการแกงหน่อส้มของชาวไทยดำ
+
              2. กะทิ
ตำบลโป่งน้ำร้อน  อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
+
              3. ไก่ (พร้อมเครื่องใน)
+
              4. เครื่องแกง ประกอบด้วย พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม กะปิ
ภาพที่ 1 แกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
+
              5. น้ำปลา
ส่วนประกอบของแกงหน่อส้ม ประกอบด้วย
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 2 ส่วนประกอบในการทำแกงหน่อส้ม.jpg|500px|thumb|center]]
1. หน่อส้ม (หน่อไม้ดอง)
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2 หน่อไม้ดอง (หน่อส้ม) เครื่องแกง และไก่ ส่วนประกอบในการทำแกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร ''' </p>
2. กะทิ
+
          วิธีทำ
3. ไก่ (พร้อมเครื่องใน)
+
              1. ต้มหน่อไม้ดองในน้ำเปล่าให้หายกลิ่นหืนและลดความเปรี้ยวลง
4. เครื่องแกง ประกอบด้วย พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม กะปิ
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 3 แสดงการต้มหน่อไม้ดองเพื่อลดความเปรี้ยว.jpg|500px|thumb|center]]
5. น้ำปลา
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3 แสดงการต้มหน่อไม้ดองเพื่อลดความเปรี้ยว''' </p>
 
+
              2. ตำเครื่องแกงให้แหลก และใส่กะปิหลังสุด
 
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 4 แสดงการตำเครื่องแกงสำหรับแกงหน่อส้ม.jpg|500px|thumb|center]]
 
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 4 แสดงการตำเครื่องแกงสำหรับแกงหน่อส้ม''' </p>
 
+
              3. นำหน่อไม้ดองที่ต้มในข้อที่ 1 ต้มใส่กับกะทิ(หางกะทิ)
ภาพที่ 2 หน่อไม้ดอง (หน่อส้ม) เครื่องแกง และไก่ ส่วนประกอบในการทำแกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
+
              4. หั่นไก่โดยแยกชิ้นส่วนโดยแยกดังนี้ ส่วนหัวและลำคอติดกัน ปีกถึงอก น่อง 2 ข้าง ขา 2 ขา  ออกจากตัว มัดร้อยด้วยตอกเป็นพวง ร้อยเครื่องในให้เป็นพวง  
 
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 แสดงการทำไก่ซ้องในการแกงหน่อส้ม.jpg|500px|thumb|center]]
 
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5 แสดงการทำไก่ซ้องในการแกงหน่อส้ม''' </p> 
 
+
              5. ผัดเครื่องแกงกับกะทิให้มีกลิ่นหอม ใส่เนื้อไก่ผัดกับเครื่องแกงให้สุก
วิธีทำ
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 6 แสดงการผัดเครื่องแกงกับเนื้อไก่.jpg|500px|thumb|center]]
1. ต้มหน่อไม้ดองในน้ำเปล่าให้หายกลิ่นหืนและลดความเปรี้ยวลง
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 6 แสดงการผัดเครื่องแกงกับเนื้อไก่''' </p>
 
+
              6. นำหน่อไม้ที่ต้มกับกะทิใส่ลงไปผัด และเติมน้ำกะทิที่เหลือให้น้ำท่วม เคี่ยวต่อไปจนน้ำเดือด  
+
              7. นำพวงไก่และเครื่องใน ใส่ลงไปในหม้อแกงที่เดือด
 
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 แสดงการนำไก่ซ้องลงไปต้มในหม้อแกงหน่อส้ม.jpg|500px|thumb|center]]
 
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 7 แสดงการนำไก่ซ้องลงไปต้มในหม้อแกงหน่อส้ม''' </p>
ภาพที่ 3 แสดงการต้มหน่อไม้ดองเพื่อลดความเปรี้ยว
+
              8. ปรุงรสด้วยน้ำปลา  
2. ตำเครื่องแกงให้แหลก และใส่กะปิหลังสุด
+
              9. เมื่อพวงไก่และเครื่องในสุกให้นำออกจากหม้อแกงแยกไว้ต่างหากเพื่อทำไก่ซ้องต่อไป
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 8 แสดงไก่ซ้องที่ต้มสุกแล้ว.jpg|500px|thumb|center]]
ภาพที่ 4 แสดงการตำเครื่องแกงสำหรับแกงหน่อส้ม
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 8 แสดงไก่ซ้องที่ต้มสุกแล้ว''' </p>
3. นำหน่อไม้ดองที่ต้มในข้อที่ 1 ต้มใส่กับกะทิ(หางกะทิ)
+
          แกงหน่อส้มที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ความเชื่อของแกงหน่อส้มเชื่อว่าจะอยู่ดีมีสุข เพราะบ้านของชาวไทยดำในหนึ่งปีต้องมีการดองหน่อไม้ดองไว้กิน หากบ้านใดไม่มีการดองหน่อไม้ดองไว้จะทำให้บ้านนั้นอยู่ไม่เป็นสุข ไม่เจริญ เป็นกุศโลบายที่สั่งสอนลูกหลานของชาวไทยดำให้รู้จักเตรียมตัวไว้สำหรับยามขาดแคลนอาหารในฤดูกาลอื่น เพราะหน่อไม้จะมีเฉพาะช่วงฤดูฝนเท่านั้น นอกจากนี้ชาวไทยดำมีคำเปรียบเทียบว่า “แกงหน่อส้มคือแกงผู้ใหญ่ ต้มฟักคือกำนัน” หากกระทำงานใดจะขาดแกงหน่อส้มไม่ได้  แกงหน่อส้มนี้จึงจะต้องแกงทุกงานที่ชาวไทยดำประกอบขึ้นยกเว้น งานแต่งงานของชาวไทยดำ
4. หั่นไก่โดยแยกชิ้นส่วนโดยแยกดังนี้ ส่วนหัวและลำคอติดกัน ปีกถึงอก น่อง 2 ข้าง  
+
          ไก่ซ้อง เป็นไก่เสียงทายดูที่ตีนไก่ ถ้าแบออกหรือเกยกัน จะไม่ดี ต้องโค้งเรียงกันอย่างเป็นระเบียบจะดีหากินขึ้น หากตีนไก่ขยุ้มเนื้อติดมาด้วยแสดงว่าจะเกิดลางร้าย คือ คนในครอบครัวจะเสียชีวิต “ซ้ายผู้มา ขวาผู้อยู่” คือ ซ้ายเป็นตัวแทนของหมอประกอบพิธี ขวาคือบ้านของคนที่เสนเรือน
ขา 2 ขา  ออกจากตัว มัดร้อยด้วยตอกเป็นพวง ร้อยเครื่องในให้เป็นพวง  
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 9 แสดงไก่ซ้องและแกงหน่อส้มที่จะนำไปทำพิธีเสนเรือน.jpg|500px|thumb|center]]
 
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 9 แสดงไก่ซ้องและแกงหน่อส้มที่จะนำไปทำพิธีเสนเรือน''' </p>
ภาพที่ 5 แสดงการทำไก่ซ้องในการแกงหน่อส้ม
+
          '''2. ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู (ต้มจืดฟักใส่กระดูกหมู)'''
5. ผัดเครื่องแกงกับกะทิให้มีกลิ่นหอม ใส่เนื้อไก่ผัดกับเครื่องแกงให้สุก
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 10 ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู.jpg|500px|thumb|center]]
 
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 10 ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู ของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร''' </p>
+
          ส่วนประกอบของต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู ประกอบด้วย
+
              1. ฟักเขียว  
 
+
              2. กระดูกหมู
 
+
              3. ต้มหอม ผักชี  
 
+
              4. เกลือ
ภาพที่ 6 แสดงการผัดเครื่องแกงกับเนื้อไก่
+
          วิธีทำ
6. นำหน่อไม้ที่ต้มกับกะทิใส่ลงไปผัด และเติมน้ำกะทิที่เหลือให้น้ำท่วม เคี่ยวต่อไป
+
              1. นำกระดูกหมูหั่นเป็นชิ้นแล้วนำไปต้มเพื่อนำไขมันออกแล้วตักพักไว้
จนน้ำเดือด  
+
              2. ตั้งหม้อต้มน้ำจนเดือด ใส่เกลือลงไป
7. นำพวงไก่และเครื่องใน ใส่ลงไปในหม้อแกงที่เดือด
+
              3. นำหมูที่ต้มแล้ว ใส่หม้อต้มเคี่ยวจนสุก
+
              4. นำฟักใส่ลงไปต้มกับหมูจนสุก
ภาพที่ 7 แสดงการนำไก่ซ้องลงไปต้มในหม้อแกงหน่อส้ม
+
              5. นำหอม ผักชี หั่นแล้วโรยในหม้อต้มเพื่อเพิ่มความหอม
8. ปรุงรสด้วยน้ำปลา  
+
          การต้มมะแฟงใส่กระดูกหมูที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ทำให้การทำมาหากินดีขึ้น ความก้าวหน้าในอาชีพการงาน ซึ่งในการทำพิธีเสนเรือน หากขาดต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู จะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้<br>
9. เมื่อพวงไก่และเครื่องในสุกให้นำออกจากหม้อแกงแยกไว้ต่างหากเพื่อทำไก่ซ้องต่อไป
+
          '''3. แกงบอน''' แกงบอนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน  อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร  
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 11 แสดงเครื่องแกงบอน.jpg|500px|thumb|center]]
ภาพที่ 8 แสดงไก่ซ้องที่ต้มสุกแล้ว
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 11 แสดงเครื่องแกงบอน และบอนหวานที่ปอกและหั่นเตรียมนึ่ง''' </p>
แกงหน่อส้มที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ความเชื่อของแกงหน่อส้มเชื่อว่าจะอยู่ดีมีสุข เพราะบ้านของชาวไทยดำ
+
          ส่วนประกอบของแกงบอน ประกอบด้วย
ในหนึ่งปีต้องมีการดองหน่อไม้ดองไว้กิน หากบ้านใดไม่มีการดองหน่อไม้ดองไว้จะทำให้บ้านนั้นอยู่ไม่เป็นสุข ไม่เจริญ เป็นกุศโลบายที่สั่งสอนลูกหลานของชาวไทยดำให้รู้จักเตรียมตัวไว้สำหรับยามขาดแคลนอาหารในฤดูกาลอื่น เพราะหน่อไม้จะมีเฉพาะช่วงฤดูฝนเท่านั้น นอกจากนี้ชาวไทยดำมีคำเปรียบเทียบว่า “แกงหน่อส้มคือแกงผู้ใหญ่ ต้มฟักคือกำนัน” หากกระทำงานใดจะขาดแกงหน่อส้มไม่ได้  แกงหน่อส้มนี้จึงจะต้องแกงทุกงานที่ชาวไทยดำประกอบขึ้นยกเว้น งานแต่งงานของชาวไทยดำ
+
              1. บอนหวาน
ไก่ซ้อง เป็นไก่เสียงทายดูที่ตีนไก่ ถ้าแบออกหรือเกยกัน จะไม่ดี ต้องโค้งเรียงกันอย่างเป็นระเบียบจะดีหากินขึ้น หากตีนไก่ขยุ้มเนื้อติดมาด้วยแสดงว่าจะเกิดลางร้าย คือ คนในครอบครัวจะเสียชีวิต “ซ้ายผู้มา ขวาผู้อยู่” คือ ซ้ายเป็นตัวแทนของหมอประกอบพิธี ขวาคือบ้านของคนที่
+
              2. หมูสามชั้น
เสนเรือน
+
              3. เครื่องแกง ประกอบด้วย พริก หอม กระเทียม ข่า ตะไคร้ กะปิ มะแข่น
 
+
              4. กะทิ (หัวกะทิ)
 
+
              5. น้ำปลา หรือเกลือ
 
+
              6. น้ำตาลปี๊บ
 
+
              7. มะขามเปียก
 
+
        วิธีทำ
ภาพที่ 9 แสดงไก่ซ้องและแกงหน่อส้มที่จะนำไปทำพิธีเสนเรือน
+
              1. ปอกบอนแล้วหั่น ล้างให้สะอาดแล้วนึ่งให้สุก
 
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 12 แสดงบอนหวาน.jpg|500px|thumb|center]]
2. ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู (ต้มจืดฟักใส่กระดูกหมู)
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 12 แสดงบอนหวานที่ปอกแล้วหั่นเตรียมนึ่ง''' </p>
 
+
              2. นำเครื่องแกงที่โขลกแล้วผัดกับหัวกะทิขลุกขลิก นำหมูที่หั่นแล้วลงไปผัดกับเครื่องแกง
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 13 แสดงการผัดเครื่องแกง.jpg|500px|thumb|center]]
 
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 13 แสดงการผัดเครื่องแกงกับหัวกะทิและเนื้อหมู''' </p>
 
+
              3. แล้วเติมกะทิพอท่วมเนื้อหมูจนเดือดแล้วใส่บอนที่นึ่งลงไป
ภาพที่ 10 ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู ของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน  
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 14 แสดงการนำบอนที่นึ่งสุกแล้ว.jpg|500px|thumb|center]]
จังหวัดกำแพงเพชร
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 14 แสดงการนำบอนที่นึ่งสุกแล้วมาใส่กับเครื่องแกงที่ผัดกับกะทิและเนื้อหมูที่สุกแล้ว''' </p> 
ส่วนประกอบของต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู ประกอบด้วย
+
              4. ปรุงรสด้วยน้ำปลาหรือเกลือ น้ำตาลปี๊บ และน้ำมะขามเปียก
1. ฟักเขียว  
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 15 แสดงแกงบอนที่ปรุงเสร็จแล้ว.jpg|500px|thumb|center]]
2. กระดูกหมู
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 15 แสดงแกงบอนที่ปรุงเสร็จแล้ว''' </p> 
3. ต้มหอม ผักชี  
+
          แกงบอนที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ทำให้ชีวิตราบรื่น ไม่มีอุปสรรคในการดำเนินชีวิต ซึ่งในการทำพิธีเสนเรือน หากขาดแกงบอน จะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้<br>
4. เกลือ
+
          '''4. จุ๊บผัก''' ของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
วิธีทำ
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 16 จุ๊บผักของชาวไทยดำ.jpg|500px|thumb|center]]
1. นำกระดูกหมูหั่นเป็นชิ้นแล้วนำไปต้มเพื่อนำไขมันออกแล้วตักพักไว้
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 16 จุ๊บผักของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร''' </p>
2. ตั้งหม้อต้มน้ำจนเดือด ใส่เกลือลงไป
+
          ส่วนประกอบของจุ๊บผัก ประกอบด้วย
3. นำหมูที่ต้มแล้ว ใส่หม้อต้มเคี่ยวจนสุก
+
              1. ผักหวาน
4. นำฟักใส่ลงไปต้มกับหมูจนสุก
+
              2. ถั่วฝักยาว
5. นำหอม ผักชี หั่นแล้วโรยในหม้อต้มเพื่อเพิ่มความหอม
+
              3. เห็ดลม
การต้มมะแฟงใส่กระดูกหมูที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ทำให้การทำมาหากินดีขึ้น ความก้าวหน้าในอาชีพการงาน ซึ่งในการทำพิธีเสนเรือน หากขาดต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู จะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้
+
              4. เครื่องยำ ประกอบด้วย พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม มะแข่น ข่า ตะไคร้
3. แกงบอน แกงบอนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน  อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร  
+
              5. น้ำปลาร้า
 
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 17 แสดงส่วนประกอบและเครื่องยำ.jpg|500px|thumb|center]]
ภาพที่ 11 แสดงเครื่องแกงบอน และบอนหวานที่ปอกและหั่นเตรียมนึ่ง
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 17 แสดงส่วนประกอบและเครื่องยำในการทำจุ๊บผัก''' </p>
ส่วนประกอบของแกงบอน ประกอบด้วย
+
          วิธีทำ
1. บอนหวาน
+
              1. คั่วเครื่องยำให้หอม
2. หมูสามชั้น
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 18 แสดงการผัดเครื่องยำ.jpg|500px|thumb|center]]
3. เครื่องแกง ประกอบด้วย พริก หอม กระเทียม ข่า ตะไคร้ กะปิ มะแข่น
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 18 แสดงการผัดเครื่องยำ ''' </p>
4. กะทิ (หัวกะทิ)
+
              2. ตำเครื่องยำที่คั่วแล้วให้ละเอียด
5. น้ำปลา หรือเกลือ
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 19 แสดงการโขลกเครื่องยำ.jpg|500px|thumb|center]]
6. น้ำตาลปี๊บ
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 19 แสดงการโขลกเครื่องยำ ''' </p>
7. มะขามเปียก
+
              3. นึ่งผักหวาน ถั่วฝักยาว  และเห็ดลมให้สุก
วิธีทำ
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 20 แสดงการนึ่งเห็ดลม.jpg|500px|thumb|center]]
1. ปอกบอนแล้วหั่น ล้างให้สะอาดแล้วนึ่งให้สุก
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 20 แสดงการนึ่งเห็ดลม ผักหวานและถั่วฝักยาว ''' </p>
+
              4. นำผักที่นึ่งสุกแล้วมาหั่นให้ละเอียด
ภาพที่ 12 แสดงบอนหวานที่ปอกแล้วหั่นเตรียมนึ่ง
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 21 แสดงการหั่นเห็ดลม.jpg|500px|thumb|center]]
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 21 แสดงการหั่นเห็ดลม ผักหวานและถั่วฝักยาวที่นึ่งสุกแล้ว ''' </p>
2. นำเครื่องแกงที่โขลกแล้วผัดกับหัวกะทิขลุกขลิก นำหมูที่หั่นแล้วลงไปผัดกับเครื่องแกง
+
              5. นำผักที่หั่นคลุกเล้ากับเครื่องยำ และปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าต้มสุก
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 22 แสดงการนำผักที่หั่นคลุก.jpg|500px|thumb|center]]
ภาพที่ 13 แสดงการผัดเครื่องแกงกับหัวกะทิและเนื้อหมู
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 22 แสดงการนำผักที่หั่นคลุกกับเครื่องยำและปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าต้มสุก ''' </p>
3. แล้วเติมกะทิพอท่วมเนื้อหมูจนเดือดแล้วใส่บอนที่นึ่งลงไป
+
          จุ๊บผักมีความเชื่อว่า เป็นตัวแทนของอาหารทุกอย่าง อาหารในการเซ่นบรรพบุรุษแต่ละคน จะเป็นจุ๊บที่ทำจากหมูเป็นชิ้น แต่คนร่วมงานกินจุ๊บที่เป็นหมูสับ
 
+
==='''การเสิร์ฟ/การรับประทาน'''===
ภาพที่ 14 แสดงการนำบอนที่นึ่งสุกแล้วมาใส่กับเครื่องแกงที่ผัดกับกะทิและเนื้อหมูที่สุกแล้ว
+
          อาหารที่ใช้จะเสิร์ฟให้กับแขกที่มาร่วมพิธีการกินเสนเรือนของชาวไทยดำหลังจากประกอบพิธีกรรมแล้ว จะรับประทานพร้อมกับข้าวสายและบางครั้งก็จะใส่ห่อให้แขกกลับไปทานที่บ้านด้วย
4. ปรุงรสด้วยน้ำปลาหรือเกลือ น้ำตาลปี๊บ และน้ำมะขามเปียก
+
=='''ข้อมูลการสำรวจ'''==
+
==='''แหล่งอ้างอิง'''===
ภาพที่ 15 แสดงแกงบอนที่ปรุงเสร็จแล้ว
+
          บ้านโป่งน้ำร้อน หมู่ 2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
แกงบอนที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ทำให้ชีวิตราบรื่น ไม่มีอุปสรรคในการดำเนินชีวิต ซึ่งในการทำพิธีเสนเรือน หากขาดแกงบอน จะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้
+
==='''วันเดือนปีที่สำรวจ'''===  
4. จุ๊บผัก ของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
+
          2 มีนาคม พ.ศ.2562  
+
==='''วันปรับปรุงข้อมูล'''===
ภาพที่ 16 จุ๊บผักของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
+
          10 มีนาคม 2562  
ส่วนประกอบของจุ๊บผัก ประกอบด้วย
+
==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''===
1. ผักหวาน
+
          จิรัฎฐ์  เพ็งแดง /นายอธิวัตร  พวงแต้ม/ นายสุรวุธ  วาจูอิน
2. ถั่วฝักยาว
+
==='''ผู้ให้ข้อมูล'''===  
3. เห็ดลม
+
          1. นางสมัย  พวงแต้ม    330/3  ม.2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
4. เครื่องยำ ประกอบด้วย พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม มะแข่น ข่า ตะไคร้
+
          2. นางค่ำ  แปงเสียง  78 ม.2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
3. น้ำปลาร้า
+
          3. นางจำปี  เหี้ยมหาญ  203 ม. 2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
 
+
==='''คำสำคัญ (tag)'''===
+
          อาหารในพิธีกรรมเสนเรือน
ภาพที่ 17 แสดงส่วนประกอบและเครื่องยำในการทำจุ๊บผัก
 
วิธีทำ
 
1. คั่วเครื่องยำให้หอม
 
 
 
 
ภาพที่ 18 แสดงการผัดเครื่องยำ
 
2. ตำเครื่องยำที่คั่วแล้วให้ละเอียด
 
 
 
 
ภาพที่ 19 แสดงการโขลกเครื่องยำ
 
 
 
3. นึ่งผักหวาน ถั่วฝักยาว  และเห็ดลมให้สุก
 
 
 
 
ภาพที่ 20 แสดงการนึ่งเห็ดลม ผักหวานและถั่วฝักยาว
 
4. นำผักที่นึ่งสุกแล้วมาหั่นให้ละเอียด
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ภาพที่ 21 แสดงการหั่นเห็ดลม ผักหวานและถั่วฝักยาวที่นึ่งสุกแล้ว
 
 
 
5. นำผักที่หั่นคลุกเล้ากับเครื่องยำ และปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าต้มสุก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ภาพที่ 22 แสดงการนำผักที่หั่นคลุกกับเครื่องยำและปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าต้มสุก
 
จุ๊บผักมีความเชื่อว่า เป็นตัวแทนของอาหารทุกอย่าง อาหารในการเซ่นบรรพบุรุษแต่ละคน จะเป็นจุ๊บที่ทำจากหมูเป็นชิ้น แต่คนร่วมงานกินจุ๊บที่เป็นหมูสับ
 
การเสิร์ฟ/การรับประทาน
 
อาหารที่ใช้จะเสิร์ฟให้กับแขกที่มาร่วมพิธีการกินเสนเรือนของชาวไทยดำหลังจากประกอบพิธีกรรมแล้ว จะรับประทานพร้อมกับข้าวสายและบางครั้งก็จะใส่ห่อให้แขกกลับไปทานที่บ้านด้วย
 
 
ข้อมูลการสำรวจ
 
แหล่งอ้างอิง
 
บ้านโป่งน้ำร้อน หมู่ 2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
 
วันเดือนปีที่สำรวจ   
 
2 มีนาคม พ.ศ. 2562  
 
วันปรับปรุงข้อมูล
 
10 มีนาคม 2562  
 
11.4.4. ผู้สำรวจข้อมูล
 
จิรัฎฐ์  เพ็งแดง /นายอธิวัตร  พวงแต้ม/ นายสุรวุธ  วาจูอิน
 
ผู้ให้ข้อมูล   
 
1. นางสมัย  พวงแต้ม    330/3  ม.2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
 
2. นางค่ำ  แปงเสียง  78 ม.2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
 
3. นางจำปี  เหี้ยมหาญ  203 ม. 2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
 
คำสำคัญ (tag)
 
อาหารในพิธีกรรมเสนเรือน
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:30, 11 เมษายน 2564

ข้อมูลทั่วไป[แก้ไข]

         อาหารในพิธีกรรมเสนเรือนของชาวไททรงดำ บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร

ชื่ออาหาร[แก้ไข]

         1. แกงหน่อส้ม 
         2. แกงบอน 
         3. จุ๊บผัก 
         4. ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู 
         5. ไก่ซ้อง 	

ชี่อเรียกอื่น ๆ[แก้ไข]

        1. แกงหน่อไม้ดองใส่ไก่
        2. แกงบอน 
        3. ยำผัก  
        4. ต้มจืดฟักใส่กระดูกหมู  
        5. ไก่ที่ต้มในน้ำแกงหน่อส้ม		

แหล่ง/ถิ่นอาหาร[แก้ไข]

        อาหารของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ. คลองลาน จ.กำแพงเพชร ที่จัดในพิธีเสนเรือน

ประเภทอาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม[แก้ไข]

        อาหารคาวที่ใช้ในพิธีกรรมเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร

ผู้คิดค้น[แก้ไข]

         ไม่ทราบที่มา ได้รับการถ่ายทอดในชนชาติไทดำในการประกอบพิธีเสนเรือน

ข้อมูลจำเพาะ[แก้ไข]

         อาหารที่ใช้ประกอบในพิธีเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน  อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร ที่แต่ละชนิดจะทำจากหมู 1 ตัว และแต่ละชนิดจะมีความเชื่อและคติคำสอนแฝงไว้ของชาวไทดำ อาหารทั้ง 5 ชนิดนี้จะต้องมีและต้องมีให้ครบถ้าไม่มีหรือไม่ครบจะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้

ประวัติความเป็นมา[แก้ไข]

         ไม่ทราบที่มา ได้รับการถ่ายทอดในชนชาติไทดำในการประกอบพิธีเสนเรือน

สรรพคุณ[แก้ไข]

         ใช้เพื่อประกอบพิธีเสนเรือนและเลี้ยงแขกที่มาร่วมพิธีเสนเรือนของชาวไทดำ หมู่ที่ 2 บ้านโป่งน้ำร้อน ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร	

ข้อมูลการประกอบอาหาร[แก้ไข]

         1. แกงหน่อส้ม หรือ แกงหน่อไม้ดองใส่ไก่ (ไก่ซ้อง) ในการแกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร 
ภาพที่ 1 แกงหน่อส้มของชาวไทยดำ.jpg

ภาพที่ 1 แกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร

         ส่วนประกอบของแกงหน่อส้ม ประกอบด้วย
             1. หน่อส้ม (หน่อไม้ดอง)
             2. กะทิ
             3. ไก่ (พร้อมเครื่องใน)
             4. เครื่องแกง ประกอบด้วย พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม กะปิ
             5. น้ำปลา
ภาพที่ 2 ส่วนประกอบในการทำแกงหน่อส้ม.jpg

ภาพที่ 2 หน่อไม้ดอง (หน่อส้ม) เครื่องแกง และไก่ ส่วนประกอบในการทำแกงหน่อส้มของชาวไทยดำ ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร

         วิธีทำ
             1. ต้มหน่อไม้ดองในน้ำเปล่าให้หายกลิ่นหืนและลดความเปรี้ยวลง
ภาพที่ 3 แสดงการต้มหน่อไม้ดองเพื่อลดความเปรี้ยว.jpg

ภาพที่ 3 แสดงการต้มหน่อไม้ดองเพื่อลดความเปรี้ยว

             2. ตำเครื่องแกงให้แหลก และใส่กะปิหลังสุด
ภาพที่ 4 แสดงการตำเครื่องแกงสำหรับแกงหน่อส้ม.jpg

ภาพที่ 4 แสดงการตำเครื่องแกงสำหรับแกงหน่อส้ม

             3. นำหน่อไม้ดองที่ต้มในข้อที่ 1 ต้มใส่กับกะทิ(หางกะทิ)
             4. หั่นไก่โดยแยกชิ้นส่วนโดยแยกดังนี้ ส่วนหัวและลำคอติดกัน ปีกถึงอก น่อง 2 ข้าง ขา 2 ขา  ออกจากตัว มัดร้อยด้วยตอกเป็นพวง ร้อยเครื่องในให้เป็นพวง 
ภาพที่ 5 แสดงการทำไก่ซ้องในการแกงหน่อส้ม.jpg

ภาพที่ 5 แสดงการทำไก่ซ้องในการแกงหน่อส้ม

             5. ผัดเครื่องแกงกับกะทิให้มีกลิ่นหอม ใส่เนื้อไก่ผัดกับเครื่องแกงให้สุก
ภาพที่ 6 แสดงการผัดเครื่องแกงกับเนื้อไก่.jpg

ภาพที่ 6 แสดงการผัดเครื่องแกงกับเนื้อไก่

             6. นำหน่อไม้ที่ต้มกับกะทิใส่ลงไปผัด และเติมน้ำกะทิที่เหลือให้น้ำท่วม เคี่ยวต่อไปจนน้ำเดือด  
             7. นำพวงไก่และเครื่องใน ใส่ลงไปในหม้อแกงที่เดือด
ภาพที่ 7 แสดงการนำไก่ซ้องลงไปต้มในหม้อแกงหน่อส้ม.jpg

ภาพที่ 7 แสดงการนำไก่ซ้องลงไปต้มในหม้อแกงหน่อส้ม

             8. ปรุงรสด้วยน้ำปลา 
             9. เมื่อพวงไก่และเครื่องในสุกให้นำออกจากหม้อแกงแยกไว้ต่างหากเพื่อทำไก่ซ้องต่อไป
ภาพที่ 8 แสดงไก่ซ้องที่ต้มสุกแล้ว.jpg

ภาพที่ 8 แสดงไก่ซ้องที่ต้มสุกแล้ว

         แกงหน่อส้มที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ความเชื่อของแกงหน่อส้มเชื่อว่าจะอยู่ดีมีสุข เพราะบ้านของชาวไทยดำในหนึ่งปีต้องมีการดองหน่อไม้ดองไว้กิน หากบ้านใดไม่มีการดองหน่อไม้ดองไว้จะทำให้บ้านนั้นอยู่ไม่เป็นสุข ไม่เจริญ เป็นกุศโลบายที่สั่งสอนลูกหลานของชาวไทยดำให้รู้จักเตรียมตัวไว้สำหรับยามขาดแคลนอาหารในฤดูกาลอื่น เพราะหน่อไม้จะมีเฉพาะช่วงฤดูฝนเท่านั้น นอกจากนี้ชาวไทยดำมีคำเปรียบเทียบว่า “แกงหน่อส้มคือแกงผู้ใหญ่ ต้มฟักคือกำนัน” หากกระทำงานใดจะขาดแกงหน่อส้มไม่ได้  แกงหน่อส้มนี้จึงจะต้องแกงทุกงานที่ชาวไทยดำประกอบขึ้นยกเว้น งานแต่งงานของชาวไทยดำ
         ไก่ซ้อง เป็นไก่เสียงทายดูที่ตีนไก่ ถ้าแบออกหรือเกยกัน จะไม่ดี ต้องโค้งเรียงกันอย่างเป็นระเบียบจะดีหากินขึ้น หากตีนไก่ขยุ้มเนื้อติดมาด้วยแสดงว่าจะเกิดลางร้าย คือ คนในครอบครัวจะเสียชีวิต “ซ้ายผู้มา ขวาผู้อยู่” คือ ซ้ายเป็นตัวแทนของหมอประกอบพิธี ขวาคือบ้านของคนที่เสนเรือน
ภาพที่ 9 แสดงไก่ซ้องและแกงหน่อส้มที่จะนำไปทำพิธีเสนเรือน.jpg

ภาพที่ 9 แสดงไก่ซ้องและแกงหน่อส้มที่จะนำไปทำพิธีเสนเรือน

         2. ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู (ต้มจืดฟักใส่กระดูกหมู)
ภาพที่ 10 ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู.jpg

ภาพที่ 10 ต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู ของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

         ส่วนประกอบของต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู ประกอบด้วย
             1. ฟักเขียว 
             2. กระดูกหมู
             3. ต้มหอม ผักชี 
             4. เกลือ
         วิธีทำ
             1. นำกระดูกหมูหั่นเป็นชิ้นแล้วนำไปต้มเพื่อนำไขมันออกแล้วตักพักไว้
             2. ตั้งหม้อต้มน้ำจนเดือด ใส่เกลือลงไป
             3. นำหมูที่ต้มแล้ว ใส่หม้อต้มเคี่ยวจนสุก
             4. นำฟักใส่ลงไปต้มกับหมูจนสุก
             5. นำหอม ผักชี หั่นแล้วโรยในหม้อต้มเพื่อเพิ่มความหอม
         การต้มมะแฟงใส่กระดูกหมูที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ทำให้การทำมาหากินดีขึ้น ความก้าวหน้าในอาชีพการงาน ซึ่งในการทำพิธีเสนเรือน หากขาดต้มมะแฟงใส่กระดูกหมู จะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้
3. แกงบอน แกงบอนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ภาพที่ 11 แสดงเครื่องแกงบอน.jpg

ภาพที่ 11 แสดงเครื่องแกงบอน และบอนหวานที่ปอกและหั่นเตรียมนึ่ง

         ส่วนประกอบของแกงบอน ประกอบด้วย
             1. บอนหวาน
             2. หมูสามชั้น
             3. เครื่องแกง ประกอบด้วย พริก หอม กระเทียม ข่า ตะไคร้ กะปิ มะแข่น
             4. กะทิ (หัวกะทิ)
             5. น้ำปลา หรือเกลือ
             6. น้ำตาลปี๊บ
             7. มะขามเปียก
        วิธีทำ
             1. ปอกบอนแล้วหั่น ล้างให้สะอาดแล้วนึ่งให้สุก
ภาพที่ 12 แสดงบอนหวาน.jpg

ภาพที่ 12 แสดงบอนหวานที่ปอกแล้วหั่นเตรียมนึ่ง

             2. นำเครื่องแกงที่โขลกแล้วผัดกับหัวกะทิขลุกขลิก นำหมูที่หั่นแล้วลงไปผัดกับเครื่องแกง
ภาพที่ 13 แสดงการผัดเครื่องแกง.jpg

ภาพที่ 13 แสดงการผัดเครื่องแกงกับหัวกะทิและเนื้อหมู

             3. แล้วเติมกะทิพอท่วมเนื้อหมูจนเดือดแล้วใส่บอนที่นึ่งลงไป
ภาพที่ 14 แสดงการนำบอนที่นึ่งสุกแล้ว.jpg

ภาพที่ 14 แสดงการนำบอนที่นึ่งสุกแล้วมาใส่กับเครื่องแกงที่ผัดกับกะทิและเนื้อหมูที่สุกแล้ว

             4. ปรุงรสด้วยน้ำปลาหรือเกลือ น้ำตาลปี๊บ และน้ำมะขามเปียก
ภาพที่ 15 แสดงแกงบอนที่ปรุงเสร็จแล้ว.jpg

ภาพที่ 15 แสดงแกงบอนที่ปรุงเสร็จแล้ว

         แกงบอนที่ทำในพิธีเสนเรือนของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน บ่งบอกถึงความเชื่อดังนี้ ทำให้ชีวิตราบรื่น ไม่มีอุปสรรคในการดำเนินชีวิต ซึ่งในการทำพิธีเสนเรือน หากขาดแกงบอน จะไม่สามารถประกอบพิธีเสนเรือนได้
4. จุ๊บผัก ของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ภาพที่ 16 จุ๊บผักของชาวไทยดำ.jpg

ภาพที่ 16 จุ๊บผักของชาวไทยดำ ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

         ส่วนประกอบของจุ๊บผัก ประกอบด้วย
             1. ผักหวาน
             2. ถั่วฝักยาว
             3. เห็ดลม
             4. เครื่องยำ ประกอบด้วย พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม มะแข่น ข่า ตะไคร้
             5. น้ำปลาร้า
ภาพที่ 17 แสดงส่วนประกอบและเครื่องยำ.jpg

ภาพที่ 17 แสดงส่วนประกอบและเครื่องยำในการทำจุ๊บผัก

         วิธีทำ
             1. คั่วเครื่องยำให้หอม
ภาพที่ 18 แสดงการผัดเครื่องยำ.jpg

ภาพที่ 18 แสดงการผัดเครื่องยำ

             2. ตำเครื่องยำที่คั่วแล้วให้ละเอียด
ภาพที่ 19 แสดงการโขลกเครื่องยำ.jpg

ภาพที่ 19 แสดงการโขลกเครื่องยำ

             3. นึ่งผักหวาน ถั่วฝักยาว  และเห็ดลมให้สุก
ภาพที่ 20 แสดงการนึ่งเห็ดลม.jpg

ภาพที่ 20 แสดงการนึ่งเห็ดลม ผักหวานและถั่วฝักยาว

             4. นำผักที่นึ่งสุกแล้วมาหั่นให้ละเอียด
ภาพที่ 21 แสดงการหั่นเห็ดลม.jpg

ภาพที่ 21 แสดงการหั่นเห็ดลม ผักหวานและถั่วฝักยาวที่นึ่งสุกแล้ว

             5. นำผักที่หั่นคลุกเล้ากับเครื่องยำ และปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าต้มสุก
ภาพที่ 22 แสดงการนำผักที่หั่นคลุก.jpg

ภาพที่ 22 แสดงการนำผักที่หั่นคลุกกับเครื่องยำและปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าต้มสุก

         จุ๊บผักมีความเชื่อว่า เป็นตัวแทนของอาหารทุกอย่าง อาหารในการเซ่นบรรพบุรุษแต่ละคน จะเป็นจุ๊บที่ทำจากหมูเป็นชิ้น แต่คนร่วมงานกินจุ๊บที่เป็นหมูสับ

การเสิร์ฟ/การรับประทาน[แก้ไข]

         อาหารที่ใช้จะเสิร์ฟให้กับแขกที่มาร่วมพิธีการกินเสนเรือนของชาวไทยดำหลังจากประกอบพิธีกรรมแล้ว จะรับประทานพร้อมกับข้าวสายและบางครั้งก็จะใส่ห่อให้แขกกลับไปทานที่บ้านด้วย

ข้อมูลการสำรวจ[แก้ไข]

แหล่งอ้างอิง[แก้ไข]

         บ้านโป่งน้ำร้อน หมู่ 2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร

วันเดือนปีที่สำรวจ[แก้ไข]

         2 มีนาคม พ.ศ.2562 

วันปรับปรุงข้อมูล[แก้ไข]

         10 มีนาคม 2562 

ผู้สำรวจข้อมูล[แก้ไข]

         จิรัฎฐ์  เพ็งแดง /นายอธิวัตร  พวงแต้ม/ นายสุรวุธ  วาจูอิน

ผู้ให้ข้อมูล[แก้ไข]

         1. นางสมัย  พวงแต้ม    330/3  ม.2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
         2. นางค่ำ  แปงเสียง   78 ม.2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร
         3. นางจำปี  เหี้ยมหาญ   203 ม. 2 ต.โป่งน้ำร้อน อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร

คำสำคัญ (tag)[แก้ไข]

         อาหารในพิธีกรรมเสนเรือน