ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง แกงมัสมั่นกล้วยไข่ กำแพงเพชร"
ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าด้วย "=='''ข้อมูลทั่วไป'''== ==='''ชื่อเรียกทางการ'''=== แกงมัสมั่น กล...") |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
=='''ข้อมูลทั่วไป'''== | =='''ข้อมูลทั่วไป'''== | ||
==='''ชื่อเรียกทางการ'''=== | ==='''ชื่อเรียกทางการ'''=== | ||
− | + | แกงมัสมั่นกล้วยไข่ กำแพงเพชร | |
==='''ชื่อเรียกอื่น ๆ'''=== | ==='''ชื่อเรียกอื่น ๆ'''=== | ||
แกงมัสมั่นกล้วยไข่ | แกงมัสมั่นกล้วยไข่ | ||
แถว 12: | แถว 12: | ||
=='''ข้อมูลจำเพาะ'''== | =='''ข้อมูลจำเพาะ'''== | ||
==='''ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น'''=== | ==='''ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น'''=== | ||
+ | แกงมัสมั่นตำรับดั้งเดิมนั้นเป็นของชาวอินเดียเจ้าแห่งเครื่องเทศ นิยมใช้เนื้อสัตว์ในการปรุง และใส่เครื่องเทศอย่างเต็มที่ แกงมัสมั่นของชาวอินเดียจึงมีรสชาติที่เผ็ดร้อน หวาน เค็ม และมัน แต่เมื่อชาวอินเดียย้ายไปตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเมืองต่าง ๆ ก็ไม่ลืมที่จะนำแกงมัสมั่นเข้าไปยังประเทศนั้น ๆ ด้วย แต่ก็ได้มีการปรับ เปลี่ยนสูตรให้ถูกกับลิ้นของประเทศนั้น ๆ เช่น การเปลี่ยนเนื้อสัตว์ และการเพิ่ม-ลดเครื่องเทศ เป็นต้น มัสมั่นในประเทศไทยนั้นมีมาตั้งแต่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช นำเข้ามาโดยแขกเปอร์เซีย หรือชาวอิหร่านสันนิษฐานว่าคำว่า “มัสมั่น” มาจากภาษาเปอร์เซียคำว่า “มุสลิมมาน” ซึ่งหมายถึง ชาวมุสลิม จึงถือได้ว่าเมนูมัสมั่นนี้เป็นการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมทางอาหารระหว่างไทยกับเปอร์เซีย และเข้ามาอยู่ในทำทำเนียบอาหารไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 2 หรือประมาณ 230 กว่าปีมาแล้ว จะเห็นได้ว่า ในบทประพันธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ราชกาลที่ 1 ว่า “มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา” ซึ่งเป็นหลังฐานได้ว่าแกงมัสมั่นได้เข้ามามีอิทธิพลในไทยมาอย่างช้านาน ซึ่งแกงมัสมั่นตำรับชาวไทยนั้นได้รับอิทธิพลมาจากอาหารมลายู มีหลายสูตรให้เลือกรับประทาน มีวิธีการทำที่ต่างกัน (ครัวโบราณ บ้านน้ำพริก, 2559) | ||
+ | จะสรุปจากข้อมูลข้องต้นได้ว่า แกงมัสมั่นเดิมที่เป็นอาหารของขาวอินเดียซึ้งเป็นอาหารที่ส่วนใหญ่เครื่องเทศและเป็นส่วนประกอบหลักของเครื่องแกงมัสมั่น ต่อมาไทยเราได้รับอิทธิพลมาจากชาวแขกเปอร์เชียที่ตอนนั้นไทยได้มีการค้าขายกับต่างประเทศทำให้ไทยได้รับอิทธิพลการกินเครื่องเทศด้วยทำให้ไทยเรารู้จากการทำแกงมัสมั่นมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน | ||
+ | '''ประเภทของแกงมัสมั่นในประเทศไทย''' | ||
+ | แกงมัสมั่นแบบชาวมุสลิมทางภาคใต้ คือ ใช้ผงเครื่องแกงที่ตำเตรียมไว้ (ตำผสมลูกผักชี ยี่หร่า พริกป่นอินเดีย และพริกไทยป่น) แล้วค่อยนำไปผัดกับน้ำมันที่เจียวหัวหอม | ||
+ | [[ไฟล์:1-1.jpg|300px|thumb|center]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:58, 28 มีนาคม 2567
เนื้อหา
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อเรียกทางการ
แกงมัสมั่นกล้วยไข่ กำแพงเพชร
ชื่อเรียกอื่น ๆ
แกงมัสมั่นกล้วยไข่
แหล่ง/ถิ่นอาหาร
จังหวัดกำแพงเพชร
ประเภทอาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม
ประเภทอาหาร
ผู้คิดค้น
อาจารย์รุ่งธรรม ศรีวรรธนศิลป์ จากวิทยาลัยเทคนิคกำแพงเพชร คณะคหกรรมศาสตร์ ผู้ดูแลศูนย์บริรักษ์ไทย
ข้อมูลจำเพาะ
ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น
แกงมัสมั่นตำรับดั้งเดิมนั้นเป็นของชาวอินเดียเจ้าแห่งเครื่องเทศ นิยมใช้เนื้อสัตว์ในการปรุง และใส่เครื่องเทศอย่างเต็มที่ แกงมัสมั่นของชาวอินเดียจึงมีรสชาติที่เผ็ดร้อน หวาน เค็ม และมัน แต่เมื่อชาวอินเดียย้ายไปตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเมืองต่าง ๆ ก็ไม่ลืมที่จะนำแกงมัสมั่นเข้าไปยังประเทศนั้น ๆ ด้วย แต่ก็ได้มีการปรับ เปลี่ยนสูตรให้ถูกกับลิ้นของประเทศนั้น ๆ เช่น การเปลี่ยนเนื้อสัตว์ และการเพิ่ม-ลดเครื่องเทศ เป็นต้น มัสมั่นในประเทศไทยนั้นมีมาตั้งแต่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช นำเข้ามาโดยแขกเปอร์เซีย หรือชาวอิหร่านสันนิษฐานว่าคำว่า “มัสมั่น” มาจากภาษาเปอร์เซียคำว่า “มุสลิมมาน” ซึ่งหมายถึง ชาวมุสลิม จึงถือได้ว่าเมนูมัสมั่นนี้เป็นการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมทางอาหารระหว่างไทยกับเปอร์เซีย และเข้ามาอยู่ในทำทำเนียบอาหารไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 2 หรือประมาณ 230 กว่าปีมาแล้ว จะเห็นได้ว่า ในบทประพันธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ราชกาลที่ 1 ว่า “มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา” ซึ่งเป็นหลังฐานได้ว่าแกงมัสมั่นได้เข้ามามีอิทธิพลในไทยมาอย่างช้านาน ซึ่งแกงมัสมั่นตำรับชาวไทยนั้นได้รับอิทธิพลมาจากอาหารมลายู มีหลายสูตรให้เลือกรับประทาน มีวิธีการทำที่ต่างกัน (ครัวโบราณ บ้านน้ำพริก, 2559) จะสรุปจากข้อมูลข้องต้นได้ว่า แกงมัสมั่นเดิมที่เป็นอาหารของขาวอินเดียซึ้งเป็นอาหารที่ส่วนใหญ่เครื่องเทศและเป็นส่วนประกอบหลักของเครื่องแกงมัสมั่น ต่อมาไทยเราได้รับอิทธิพลมาจากชาวแขกเปอร์เชียที่ตอนนั้นไทยได้มีการค้าขายกับต่างประเทศทำให้ไทยได้รับอิทธิพลการกินเครื่องเทศด้วยทำให้ไทยเรารู้จากการทำแกงมัสมั่นมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน ประเภทของแกงมัสมั่นในประเทศไทย แกงมัสมั่นแบบชาวมุสลิมทางภาคใต้ คือ ใช้ผงเครื่องแกงที่ตำเตรียมไว้ (ตำผสมลูกผักชี ยี่หร่า พริกป่นอินเดีย และพริกไทยป่น) แล้วค่อยนำไปผัดกับน้ำมันที่เจียวหัวหอม