ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(พระพุทธรูปที่เป็นศิลปะสุโขทัยที่ค้นพบภายในเขตจังหวัดกำแพงเพชร)
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
== ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร ==
+
== บทนำ ==
=== บทนำ ===
 
 
           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโบราณวัตถุ กรณีศึกษา ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร ภาคเหนือตอนล่าง ราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 เป็นจุดผ่านระหว่างเมืองเหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตะวันตก ทำให้มีการติดต่อกับโลกภายนอก อันมีผลให้เกิดความเจริญ จากหมู่บ้านกลายเป็นชุมชนใหญ่ พัฒนาจนเป็นชุมชนใหญ่ พัฒนาจนเป็นบ้านเมือง ผู้คนต่างพื้นที่ไปมาหาสู่ติดต่อค้าขายต่อกัน ทำให้เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมกับคนในพื้นที่ ช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 วัฒนธรรมขอม (ปัจจุบันคือเขมร) เป็นส่วนสำคัญในกลุ่มชนชั้นปกครองของสุโขทัย ดังหลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและประติมากรรมแบบขอม ปราสาทแบบขอมที่วัดเจ้าจันทร์ ศรีสัชนาลัย คือหลักฐานอีกแห่งหนึ่งที่บ่งบอกถึงการมีอยู่ของวัฒนธรรมขอม ศิลปกรรมเหล่านี้มีมาก่อนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสำคัญของสุโขทัย อิทธิพลจากวัฒนธรรมขอมในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยซึ่งแพร่หลายเข้ามาทางตะวันตก เริ่มเสื่อมถอยหลังจากพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สวรรคตในราว พ.ศ.1760 อาณาจักรสำคัญทางตะวันตกคือพุกาม ศูนย์กลางแห่งความเจริญรุ่งเรืองของประเทศพม่าก็เสื่อมโทรมเป็นลำดับมาจากการรุกรานของกองทัพมองโกลตั้งแต่ พ.ศ.1820 และล่มสลายลงหลังจากนั้นราว 10 ปี ท่ามกลางความถดถอยของศูนย์อำนาจภายนอก พ่อขุนผาเมืองกับพ่อขุนบางกลางหาวของไทย ผู้มีความเกี่ยวโยงบางอย่างกับเมืองบางยาง ได้ร่วมกันกำจัดอำนาจขอมสมาดโขลนลำพง ที่สุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้สำเร็จราว พ.ศ.1782 ต่อมาพ่อขุนรามคำแหง โอรสพระองค์หนึ่งของพ่อขุนบางกลางหาว (ศรีอินทราทิตย์) เสด็จขึ้นครองราชย์ ต่อจากพ่อขุนบาลเมือง สุโขทัยในรัชกาลของพระองค์เจริญรุ่งเรือง ดังระบุอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 1 หลังจากนั้นจึงเป็นการเสด็จขึ้นครองราชย์ของพญาเลอไท มาจนถึงพญาลิไท (พระมหาธรรมราชาที่ 1) เป็นลำดับ
 
           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโบราณวัตถุ กรณีศึกษา ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร ภาคเหนือตอนล่าง ราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 เป็นจุดผ่านระหว่างเมืองเหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตะวันตก ทำให้มีการติดต่อกับโลกภายนอก อันมีผลให้เกิดความเจริญ จากหมู่บ้านกลายเป็นชุมชนใหญ่ พัฒนาจนเป็นชุมชนใหญ่ พัฒนาจนเป็นบ้านเมือง ผู้คนต่างพื้นที่ไปมาหาสู่ติดต่อค้าขายต่อกัน ทำให้เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมกับคนในพื้นที่ ช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 วัฒนธรรมขอม (ปัจจุบันคือเขมร) เป็นส่วนสำคัญในกลุ่มชนชั้นปกครองของสุโขทัย ดังหลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและประติมากรรมแบบขอม ปราสาทแบบขอมที่วัดเจ้าจันทร์ ศรีสัชนาลัย คือหลักฐานอีกแห่งหนึ่งที่บ่งบอกถึงการมีอยู่ของวัฒนธรรมขอม ศิลปกรรมเหล่านี้มีมาก่อนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสำคัญของสุโขทัย อิทธิพลจากวัฒนธรรมขอมในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยซึ่งแพร่หลายเข้ามาทางตะวันตก เริ่มเสื่อมถอยหลังจากพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สวรรคตในราว พ.ศ.1760 อาณาจักรสำคัญทางตะวันตกคือพุกาม ศูนย์กลางแห่งความเจริญรุ่งเรืองของประเทศพม่าก็เสื่อมโทรมเป็นลำดับมาจากการรุกรานของกองทัพมองโกลตั้งแต่ พ.ศ.1820 และล่มสลายลงหลังจากนั้นราว 10 ปี ท่ามกลางความถดถอยของศูนย์อำนาจภายนอก พ่อขุนผาเมืองกับพ่อขุนบางกลางหาวของไทย ผู้มีความเกี่ยวโยงบางอย่างกับเมืองบางยาง ได้ร่วมกันกำจัดอำนาจขอมสมาดโขลนลำพง ที่สุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้สำเร็จราว พ.ศ.1782 ต่อมาพ่อขุนรามคำแหง โอรสพระองค์หนึ่งของพ่อขุนบางกลางหาว (ศรีอินทราทิตย์) เสด็จขึ้นครองราชย์ ต่อจากพ่อขุนบาลเมือง สุโขทัยในรัชกาลของพระองค์เจริญรุ่งเรือง ดังระบุอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 1 หลังจากนั้นจึงเป็นการเสด็จขึ้นครองราชย์ของพญาเลอไท มาจนถึงพญาลิไท (พระมหาธรรมราชาที่ 1) เป็นลำดับ
 
           พุทธศาสนาในสุโขทัยระยะนั้นจึงเจริญรุ่งเรืองดีแล้ว พญาลิไททรงฝักใฝ่ในทางศาสนา ทรงสร้างวัตถุธรรมทางศาสนา เช่น วัดวาอาราม พระพุทธรูป อันเป็นช่วงแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางด้านศิลปกรรมของสมัยสุโขทัย อย่างไรก็ตามอำนาจทางด้านการเมืองของสุโขทัยในรัชกาลของพระองค์คงถดถอยลง จึงต้องทรงพยายามขยายอาณาเขต โดยรวบรวมเมืองทางใต้คือ กำแพงเพชร นครสวรรค์ ทางตะวันออกคือ แพร่ น่าน พระองค์ต้องเสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลกระหว่าง พ.ศ.1905-1911 เพี่อจะสามารถคุมเมืองทางแม่น้ำป่าสักได้และประวิงการคุกคามของกรุงศรีอยุธยาซึ่งสถาปนาขึ้นแล้วเมื่อ พ.ศ.1893 แต่ในที่สุดกองทัพของกรุงศรีอยุธยาก็สามารถขึ้นมาลิดรอนอำนาจของสุโขทัยได้ และเสริมสร้างสุโขทัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจโดยสมบูรณ์ เริ่มขึ้นในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 หรือต้นพุทธศตวรรษที่ 19 ศิลาจารึกบางหลักของสุโขทัย เรียก ศรีสัชนาลัยควบคู่กับสุโขทัย (ศรีสัชนาลัย-สุโขทัย) หรือเรียกสลับว่า สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย อันเป็นที่มาของคำว่า ราชธานีแฝด สมัยสุโขทัยเป็นวัฒนธรรมที่เจริญขึ้นในบริเวณภาคเหนือตอนล่าง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19–21 โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสุโขทัย ทั้งนี้ในสมัยสุโขทัยราวพุทธศตวรรษที่ 19–20 พื้นที่ริมสองฝั่งแม่ปิงในเขตจังหวัดกำแพงเพชร ปรากฏร่องรอยเมืองโบราณที่สำคัญหลายแห่งที่มีหลักฐานอยู่ในสมัยสุโขทัย เช่น เมืองไตรตรึงษ์ เมืองคณฑี เมืองเทพนคร บ้านคลองเมือง เมืองนครชุม และเมืองกำแพงเพชร โดยเฉพาะเมืองนครชุม และเมืองกำแพงเพชร โดยเฉพาะเมืองนครชุมที่ตั้งอยู่ริมคลองสวนหมากทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิงอาจจะเกิดขึ้นก่อนเมืองกำแพงเพชร
 
           พุทธศาสนาในสุโขทัยระยะนั้นจึงเจริญรุ่งเรืองดีแล้ว พญาลิไททรงฝักใฝ่ในทางศาสนา ทรงสร้างวัตถุธรรมทางศาสนา เช่น วัดวาอาราม พระพุทธรูป อันเป็นช่วงแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางด้านศิลปกรรมของสมัยสุโขทัย อย่างไรก็ตามอำนาจทางด้านการเมืองของสุโขทัยในรัชกาลของพระองค์คงถดถอยลง จึงต้องทรงพยายามขยายอาณาเขต โดยรวบรวมเมืองทางใต้คือ กำแพงเพชร นครสวรรค์ ทางตะวันออกคือ แพร่ น่าน พระองค์ต้องเสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลกระหว่าง พ.ศ.1905-1911 เพี่อจะสามารถคุมเมืองทางแม่น้ำป่าสักได้และประวิงการคุกคามของกรุงศรีอยุธยาซึ่งสถาปนาขึ้นแล้วเมื่อ พ.ศ.1893 แต่ในที่สุดกองทัพของกรุงศรีอยุธยาก็สามารถขึ้นมาลิดรอนอำนาจของสุโขทัยได้ และเสริมสร้างสุโขทัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจโดยสมบูรณ์ เริ่มขึ้นในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 หรือต้นพุทธศตวรรษที่ 19 ศิลาจารึกบางหลักของสุโขทัย เรียก ศรีสัชนาลัยควบคู่กับสุโขทัย (ศรีสัชนาลัย-สุโขทัย) หรือเรียกสลับว่า สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย อันเป็นที่มาของคำว่า ราชธานีแฝด สมัยสุโขทัยเป็นวัฒนธรรมที่เจริญขึ้นในบริเวณภาคเหนือตอนล่าง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19–21 โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสุโขทัย ทั้งนี้ในสมัยสุโขทัยราวพุทธศตวรรษที่ 19–20 พื้นที่ริมสองฝั่งแม่ปิงในเขตจังหวัดกำแพงเพชร ปรากฏร่องรอยเมืองโบราณที่สำคัญหลายแห่งที่มีหลักฐานอยู่ในสมัยสุโขทัย เช่น เมืองไตรตรึงษ์ เมืองคณฑี เมืองเทพนคร บ้านคลองเมือง เมืองนครชุม และเมืองกำแพงเพชร โดยเฉพาะเมืองนครชุม และเมืองกำแพงเพชร โดยเฉพาะเมืองนครชุมที่ตั้งอยู่ริมคลองสวนหมากทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิงอาจจะเกิดขึ้นก่อนเมืองกำแพงเพชร
 
           เมืองโบราณสมัยสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชรที่สำคัญ คือ เมืองนครชุม ซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิงด้านตรงข้ามกับเมืองกำแพงเพชรในปัจจุบัน ลักษณะผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมนและวางตัวตามแนวการไหลของแม่น้ำปิง คูเมืองมีขนาดกว้าง 400 เมตร ยาว 2,900 เมตร เมืองนครชุมถือว่าเป็นเมืองสำคัญของอาณาจักรสุโขทัย โดยปรากฏเรื่องราวในศิลาจารึกหลักที่ 3 (จารึกนครชุม) ที่กล่าวถึงเหตุการณ์พระมหาธรรมราชา (ลิไท) กษัตริย์สุโขทัยโปรดฯ ให้นำพระศรีรัตนมหาธาตุ และต้นศรีมหาโพธิ์ ที่นำมาจากอาณาจักรลังกา มาประดิษฐานไว้กลางเมืองนครชุม เมื่อ พ.ศ.1900 สันนิษฐานว่า คือ เจดีย์วัดพระบรมธาตุซึ่งปัจจุบันเป็นเจดีย์ทรงพม่า สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า เจดีย์องค์เดิมคงเป็นเจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรือเรียกอีกอย่างว่าพุ่มข้าวบิณฑ์ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงอนุญาตให้พ่อค้าไม้ชาวพม่าชื่อ  พระยาตะก่า ซ่อมแซมปฏิสังขรณ์และก่อใหม่จนกลายเป็นรูปแบบพม่าดังเช่นปัจจุบัน หลักฐานทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของเมืองนครชุมในสมัยสุโขทัย ปัจจุบันเมืองเก่าสุโขทัย ศรีสัชนาลัย รวมทั้งกำแพงเพชรอีกหนึ่งในเมืองเครือข่ายของสุโขทัยได้รับยกย่องจากองค์การนานาชาติยูเนสโก (UNESCO) ว่า เป็นมรดกโลก ความหมายของ มรดกโลก จะสมบูรณ์ เมื่อการฟื้นฟูใดๆ ของเมืองหรือศาสนสถานร้างเป็นไปด้วยความเหมาะสมแก่บริบทของแต่ละแห่ง ด้วยความรู้และความเข้าใจเพียงพอ อันสะท้อนถึงการให้ความเคารพต่อภูมิปัญญาบรรพชน (สันติ เล็กสุขุม, 2549 หน้า 9-12)
 
           เมืองโบราณสมัยสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชรที่สำคัญ คือ เมืองนครชุม ซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิงด้านตรงข้ามกับเมืองกำแพงเพชรในปัจจุบัน ลักษณะผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมนและวางตัวตามแนวการไหลของแม่น้ำปิง คูเมืองมีขนาดกว้าง 400 เมตร ยาว 2,900 เมตร เมืองนครชุมถือว่าเป็นเมืองสำคัญของอาณาจักรสุโขทัย โดยปรากฏเรื่องราวในศิลาจารึกหลักที่ 3 (จารึกนครชุม) ที่กล่าวถึงเหตุการณ์พระมหาธรรมราชา (ลิไท) กษัตริย์สุโขทัยโปรดฯ ให้นำพระศรีรัตนมหาธาตุ และต้นศรีมหาโพธิ์ ที่นำมาจากอาณาจักรลังกา มาประดิษฐานไว้กลางเมืองนครชุม เมื่อ พ.ศ.1900 สันนิษฐานว่า คือ เจดีย์วัดพระบรมธาตุซึ่งปัจจุบันเป็นเจดีย์ทรงพม่า สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า เจดีย์องค์เดิมคงเป็นเจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรือเรียกอีกอย่างว่าพุ่มข้าวบิณฑ์ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงอนุญาตให้พ่อค้าไม้ชาวพม่าชื่อ  พระยาตะก่า ซ่อมแซมปฏิสังขรณ์และก่อใหม่จนกลายเป็นรูปแบบพม่าดังเช่นปัจจุบัน หลักฐานทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของเมืองนครชุมในสมัยสุโขทัย ปัจจุบันเมืองเก่าสุโขทัย ศรีสัชนาลัย รวมทั้งกำแพงเพชรอีกหนึ่งในเมืองเครือข่ายของสุโขทัยได้รับยกย่องจากองค์การนานาชาติยูเนสโก (UNESCO) ว่า เป็นมรดกโลก ความหมายของ มรดกโลก จะสมบูรณ์ เมื่อการฟื้นฟูใดๆ ของเมืองหรือศาสนสถานร้างเป็นไปด้วยความเหมาะสมแก่บริบทของแต่ละแห่ง ด้วยความรู้และความเข้าใจเพียงพอ อันสะท้อนถึงการให้ความเคารพต่อภูมิปัญญาบรรพชน (สันติ เล็กสุขุม, 2549 หน้า 9-12)
 
'''คำสำคัญ :''' ศิลปะสุโขทัย, โบราณวัตถุกำแพงเพชร, ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร  
 
'''คำสำคัญ :''' ศิลปะสุโขทัย, โบราณวัตถุกำแพงเพชร, ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร  
=== ศิลปะสุโขทัย ===
+
== ศิลปะสุโขทัย ==
 
           คุณค่าอันแท้จริงของศิลปะสุทัยอยู่ที่ภูมิปัญญาช่างในการปรับเปลี่ยนแรงบันดาลทางศาสนา และศิลปะจากแหล่งที่เจริญขึ้นก่อน เช่น พม่า กัมพูชา รวมทั้งแหล่งความเจริญร่วมสมัยคือ ล้านนา โดยนำมาผสมผสานสร้างสรรค์อย่างกลมกลืนในสภาพแวดล้อมของสุโขทัย จนเป็นแบบฉบับเฉพาะตัวได้อย่างน่าสนใจ อัตลักษณ์ของศิลปะสมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาจนถึงเวลาที่ราชสำนักสุโขทัยหมดความสำคัญลง งานช่างจึงขาดการเกื้อหนุนส่งเสริม แต่แบบฉบับความงามของศิลปะสุโขทัยก็ยังเป็นแรงบันดาลใจ และอิทธิพลแก่ช่างแคว้นล้านนา กรุงศรีอยุธยา รวมทั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งยังมีการสร้างพระพุทธรุปแบบสุโขทัยอยู่ในปัจจุบัน
 
           คุณค่าอันแท้จริงของศิลปะสุทัยอยู่ที่ภูมิปัญญาช่างในการปรับเปลี่ยนแรงบันดาลทางศาสนา และศิลปะจากแหล่งที่เจริญขึ้นก่อน เช่น พม่า กัมพูชา รวมทั้งแหล่งความเจริญร่วมสมัยคือ ล้านนา โดยนำมาผสมผสานสร้างสรรค์อย่างกลมกลืนในสภาพแวดล้อมของสุโขทัย จนเป็นแบบฉบับเฉพาะตัวได้อย่างน่าสนใจ อัตลักษณ์ของศิลปะสมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาจนถึงเวลาที่ราชสำนักสุโขทัยหมดความสำคัญลง งานช่างจึงขาดการเกื้อหนุนส่งเสริม แต่แบบฉบับความงามของศิลปะสุโขทัยก็ยังเป็นแรงบันดาลใจ และอิทธิพลแก่ช่างแคว้นล้านนา กรุงศรีอยุธยา รวมทั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งยังมีการสร้างพระพุทธรุปแบบสุโขทัยอยู่ในปัจจุบัน
=== พระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัย ===
+
== พระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัย ==
 
           พระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัยมีความแตกต่างจากพระพุทธรูปทรงเครื่องของฝ่ายมหายาน เพราะพระพุทธรูปในศิลปะสมัยสุโขทัยตามแบบแผนของชาวพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ถ่ายทอดผ่านรูปทรงอันเกิดจากสัดส่วน เส้นอก และปริมาตรซึ่งประสานกลมกลืนกันอย่างเรียบง่าย (สันติ เล็กสุขุม, 2549 หน้า 77-97) ได้แบ่งลักษณะของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยออกเป็น หมวดวัดตะกวน หมวดใหญ่ หมวดพระพุทธชินราช และหมวดกำแพงเพชร อนึ่งความเชื่อในศาสนาฮินดูมีอยู่ด้วยแต่เป็นส่วนน้อย ปะปนกับพุทธศาสนาได้ปรากฏอยู่ที่การสร้างเทวรูป เช่น พระนารายณ์ พระพรหม  พระอิศวร ด้วยสุนทรียภาพไม่แตกต่างจากพระพุทธรูป ทั้งนี้  มีช่วงพัฒนาการ ราว พ.ศ.2508 นักโบราณคดีได้พบพระพุทธรูปปูนปั้นซึ่งเปื่อยยุ่ยจนรักษาไว้ไม่ได้ พระอุระของพระพุทธรูปองค์นี้บรรจุชิ้นส่วนของพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดเล็ก เจ้าหน้าที่กรมศิลปากรประกอบชิ้นส่วนดังกล่าวได้เป็นพระพุทธรูปเพียงครึ่งท่อนบน ทรงเครื่องจีวรเฉียงเปิดพระอังสาขวา บนพระอังสาซ้ายมีชายจีวรสั้นพาดอยู่ ชายจีวรหยักแยกสองแฉกคล้ายเขี้ยวตะขาบหักหลุดไปบางส่วน เม็ดพระศกค่อนข้างเล็ก อุษณีษะหรือกะโหลกเศียรที่โป่งนูน อันเป็นหนึ่งในลักษณะมหาบุรุษ รัศมีที่หักหายคงเป็นทรงดอกบัวตูม พระพักตร์กลม พระนลาฏค่อนข้างกว้าง แนวเม็ดพระศกหย่อนเล็กน้อยที่กลางพระนลาฏ พระขนงโก่ง หัวพระขนงไม่ชิดกัน พระเนตรหรี่ลงต่ำ พระนาสิกโด่ง แต่ค่อนข้างสั้น พระโอษฐ์อิ่ม พระหนุ (คาง) เป็นปม ลักษณะดังกล่าว ควรเป็นพระพุทธรูประยะแรกของศิลปะสุโขทัย ในครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 19 สอดคล้องกับการกำหนดอายุจากหลักฐานการขุดแต่งอีกครั้งของกรมศิลปากรระหว่าง พ.ศ.2528-2529  
 
           พระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัยมีความแตกต่างจากพระพุทธรูปทรงเครื่องของฝ่ายมหายาน เพราะพระพุทธรูปในศิลปะสมัยสุโขทัยตามแบบแผนของชาวพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ถ่ายทอดผ่านรูปทรงอันเกิดจากสัดส่วน เส้นอก และปริมาตรซึ่งประสานกลมกลืนกันอย่างเรียบง่าย (สันติ เล็กสุขุม, 2549 หน้า 77-97) ได้แบ่งลักษณะของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยออกเป็น หมวดวัดตะกวน หมวดใหญ่ หมวดพระพุทธชินราช และหมวดกำแพงเพชร อนึ่งความเชื่อในศาสนาฮินดูมีอยู่ด้วยแต่เป็นส่วนน้อย ปะปนกับพุทธศาสนาได้ปรากฏอยู่ที่การสร้างเทวรูป เช่น พระนารายณ์ พระพรหม  พระอิศวร ด้วยสุนทรียภาพไม่แตกต่างจากพระพุทธรูป ทั้งนี้  มีช่วงพัฒนาการ ราว พ.ศ.2508 นักโบราณคดีได้พบพระพุทธรูปปูนปั้นซึ่งเปื่อยยุ่ยจนรักษาไว้ไม่ได้ พระอุระของพระพุทธรูปองค์นี้บรรจุชิ้นส่วนของพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดเล็ก เจ้าหน้าที่กรมศิลปากรประกอบชิ้นส่วนดังกล่าวได้เป็นพระพุทธรูปเพียงครึ่งท่อนบน ทรงเครื่องจีวรเฉียงเปิดพระอังสาขวา บนพระอังสาซ้ายมีชายจีวรสั้นพาดอยู่ ชายจีวรหยักแยกสองแฉกคล้ายเขี้ยวตะขาบหักหลุดไปบางส่วน เม็ดพระศกค่อนข้างเล็ก อุษณีษะหรือกะโหลกเศียรที่โป่งนูน อันเป็นหนึ่งในลักษณะมหาบุรุษ รัศมีที่หักหายคงเป็นทรงดอกบัวตูม พระพักตร์กลม พระนลาฏค่อนข้างกว้าง แนวเม็ดพระศกหย่อนเล็กน้อยที่กลางพระนลาฏ พระขนงโก่ง หัวพระขนงไม่ชิดกัน พระเนตรหรี่ลงต่ำ พระนาสิกโด่ง แต่ค่อนข้างสั้น พระโอษฐ์อิ่ม พระหนุ (คาง) เป็นปม ลักษณะดังกล่าว ควรเป็นพระพุทธรูประยะแรกของศิลปะสุโขทัย ในครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 19 สอดคล้องกับการกำหนดอายุจากหลักฐานการขุดแต่งอีกครั้งของกรมศิลปากรระหว่าง พ.ศ.2528-2529  
 
           '''หมวดวัดตะกวน''' ลักษณะของพระพุทธรูประยะแรกของสุโขทัย เรียกกันมาก่อนว่า หมวดวัดตะกวน เพราะพบที่คล้ายคลึงกันเป็นครั้งแรกที่ วัดตะกวน สุโขทัย การเปรียบเทียบพระพุทธรูปแบบนี้กับพระพุทธรูปแบบเชียงแสนรุ่นแรกของแคว้นล้านนา ราวครึ่งแรกของพระพุทธศตวรรษที่ 19 พบว่ามีส่วนคล้ายคลึงกัน แหล่งบันดาลใจจากเมืองมอญ-พม่า โดยเฉพาะในช่วงปลายสมัยเมืองพุกาม ย่อมเป็นต้นแบบระยะแรกทั้งศิลปะของเเคว้นล้านนาและสุโขทัย พระพุทธรูปรุ่นแรกของสุโขทัยเป็นงานปูนปั้น ทำให้ทราบได้ว่า งานหล่อสำริดของแคว้นล้านนาเจริญมาก่อน จนเมื่อล่วงเข้าสู่ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 19 งานหล่อสำริดในศิลปะสุโขทัยจึงเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการหล่อพระพุทธรูปสำริดจำนวนมาก และมีคุณภาพ ความสมบูรณ์ของรูปแบบ รวมถึงความงามอย่างอุดมคติของพระพุทธรูปหมวดใหญ่ในศิลปะสุโขทัย ก่อนจะพัฒนามาเป็นลักษณะของพระพุทธรุปหมวดใหญ่ แนวโน้มการคลี่คลายเชื่อว่าปรากฏอยู่ที่พระพุทธรูปที่เจดีย์วัดช้างล้อม ศรีสัชนาลัย บรรดาพระพุทธรูปปูนปั้นที่ชำรุดของเจดีย์องค์นี้ประดิษฐานอยู่ภายในจระนำห้าช่อง เรียงรายทีแต่ละด้านของฐานสี่เหลี่ยมเหนือลานประทักษิณ พระพุทธรูปเหล่านั้นประทับขัดสมาธิราบ พระหัตถ์ทั้งสองแสดงปางมารวิชัย ทรงครองจีวรห่มเฉียงเปิดพระอังสาขวา ชายจีวรยาวพาดเหนือพระอังสาซ้าย โดยจีบทบเป็นริ้ว พระพักตร์คลี่คลายจากลักษณะกลมไปบ้าง เม็ดพระศกเล็ก พระนลาฏยังค่อนข้างกว้าง อุษณีษะนูน รัศมีหักหายไป พระขนงวาดเป็นวงโค้ง หัวพระขนงจรดกันโดยต่อเนื่องลงมาเป็นสันโด่งของพระนาสิก ชายจีวรหรือสังฆาฏิที่จีบทบกันเป็นริ้วเป็นแบบอย่างพิเศษ ปรากฏในช่วงเวลาสั้นๆ โดยอาจมีต้นแบบจากพระพุทธรูปนาคปรกหล่อด้วยสำริด พบที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระพุทธรูปองค์นี้มีศักราชระบุว่าหล่อขึ้น ใน พ.ศ.1834 แบบอย่างพิเศษของชายจีวรได้พบที่พระพุทธรูปลีลาพระพักตร์รูปไข่ ปั้นด้วยปูนแบบนูนสูงที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง จัดอยู่ในพระพุทธรูปหมวดใหญ่ พระพุทธรูปนาคปรก ปั้นด้วยปูน พบน้อยมากในศิลปะสุโขทัย องค์หนึ่งมีอยู่ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง ได้รับการบูรณะแล้ว อีกองค์หนึ่งประดิษฐานในจระนำของเจดีย์ราย ด้านหลังของเจดีย์ประธานวัดเจดีย์เจ็ดแถว ศรีสัชนาลัย ดังภาพที่ 1
 
           '''หมวดวัดตะกวน''' ลักษณะของพระพุทธรูประยะแรกของสุโขทัย เรียกกันมาก่อนว่า หมวดวัดตะกวน เพราะพบที่คล้ายคลึงกันเป็นครั้งแรกที่ วัดตะกวน สุโขทัย การเปรียบเทียบพระพุทธรูปแบบนี้กับพระพุทธรูปแบบเชียงแสนรุ่นแรกของแคว้นล้านนา ราวครึ่งแรกของพระพุทธศตวรรษที่ 19 พบว่ามีส่วนคล้ายคลึงกัน แหล่งบันดาลใจจากเมืองมอญ-พม่า โดยเฉพาะในช่วงปลายสมัยเมืองพุกาม ย่อมเป็นต้นแบบระยะแรกทั้งศิลปะของเเคว้นล้านนาและสุโขทัย พระพุทธรูปรุ่นแรกของสุโขทัยเป็นงานปูนปั้น ทำให้ทราบได้ว่า งานหล่อสำริดของแคว้นล้านนาเจริญมาก่อน จนเมื่อล่วงเข้าสู่ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 19 งานหล่อสำริดในศิลปะสุโขทัยจึงเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการหล่อพระพุทธรูปสำริดจำนวนมาก และมีคุณภาพ ความสมบูรณ์ของรูปแบบ รวมถึงความงามอย่างอุดมคติของพระพุทธรูปหมวดใหญ่ในศิลปะสุโขทัย ก่อนจะพัฒนามาเป็นลักษณะของพระพุทธรุปหมวดใหญ่ แนวโน้มการคลี่คลายเชื่อว่าปรากฏอยู่ที่พระพุทธรูปที่เจดีย์วัดช้างล้อม ศรีสัชนาลัย บรรดาพระพุทธรูปปูนปั้นที่ชำรุดของเจดีย์องค์นี้ประดิษฐานอยู่ภายในจระนำห้าช่อง เรียงรายทีแต่ละด้านของฐานสี่เหลี่ยมเหนือลานประทักษิณ พระพุทธรูปเหล่านั้นประทับขัดสมาธิราบ พระหัตถ์ทั้งสองแสดงปางมารวิชัย ทรงครองจีวรห่มเฉียงเปิดพระอังสาขวา ชายจีวรยาวพาดเหนือพระอังสาซ้าย โดยจีบทบเป็นริ้ว พระพักตร์คลี่คลายจากลักษณะกลมไปบ้าง เม็ดพระศกเล็ก พระนลาฏยังค่อนข้างกว้าง อุษณีษะนูน รัศมีหักหายไป พระขนงวาดเป็นวงโค้ง หัวพระขนงจรดกันโดยต่อเนื่องลงมาเป็นสันโด่งของพระนาสิก ชายจีวรหรือสังฆาฏิที่จีบทบกันเป็นริ้วเป็นแบบอย่างพิเศษ ปรากฏในช่วงเวลาสั้นๆ โดยอาจมีต้นแบบจากพระพุทธรูปนาคปรกหล่อด้วยสำริด พบที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระพุทธรูปองค์นี้มีศักราชระบุว่าหล่อขึ้น ใน พ.ศ.1834 แบบอย่างพิเศษของชายจีวรได้พบที่พระพุทธรูปลีลาพระพักตร์รูปไข่ ปั้นด้วยปูนแบบนูนสูงที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง จัดอยู่ในพระพุทธรูปหมวดใหญ่ พระพุทธรูปนาคปรก ปั้นด้วยปูน พบน้อยมากในศิลปะสุโขทัย องค์หนึ่งมีอยู่ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง ได้รับการบูรณะแล้ว อีกองค์หนึ่งประดิษฐานในจระนำของเจดีย์ราย ด้านหลังของเจดีย์ประธานวัดเจดีย์เจ็ดแถว ศรีสัชนาลัย ดังภาพที่ 1
แถว 25: แถว 24:
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 4 พระพุทธรูปหมวดกำแพงเพชร ศิลปะสุโขทัย''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 4 พระพุทธรูปหมวดกำแพงเพชร ศิลปะสุโขทัย''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : ร้านบุราณศิลป์, ม.ป.ป.) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : ร้านบุราณศิลป์, ม.ป.ป.) </p>
=== พระพุทธรูปที่เป็นศิลปะสุโขทัยที่ค้นพบภายในเขตจังหวัดกำแพงเพชร ===
+
== พระพุทธรูปที่เป็นศิลปะสุโขทัยที่ค้นพบภายในเขตจังหวัดกำแพงเพชร ==
           พระพุทธรูปที่เป็นศิลปะสุโขทัยที่ค้นพบภายในเขตจังหวัดกำแพงเพชร (กรมศิลปากร, 2557 หน้า 103-115) พระพุทธรูปลีลา เศียรพระพุทธรูป พระพุทธรูปปางมารวิชัยโดย (1) พระพุทธรูปปางมารวิชัย (2) พระพุทธรูปปางมารวิชัย (3) และพระพุทธรูปปางมารวิชัย (4) ปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร <br>
+
           พระพุทธรูปที่เป็นศิลปะสุโขทัยที่ค้นพบภายในเขตจังหวัดกำแพงเพชร (กรมศิลปากร, 2557 หน้า 103-115) พระพุทธรูปลีลา เศียรพระพุทธรูป พระพุทธรูปปางมารวิชัยโดย (1) พระพุทธรูปปางมารวิชัย (2) พระพุทธรูปปางมารวิชัย (3) และพระพุทธรูปปางมารวิชัย (4) ปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร
           '''พระพุทธรูปลีลา''' (เลขทะเบียน 16/1/2543, สำริด, ขนาดสูง 93 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบจากการขุดแต่งโบราณสถานวัดกรุสี่ห้อง เขตอรัญญิก นอกเมืองกำแพงเพชร ด้านทิศเหนือ) ดังภาพที่ 5
+
           '''พระพุทธรูปลีลา''' (เลขทะเบียน 16/1/2543, สำริด, ขนาดสูง 93 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบจากการขุดแต่งโบราณสถานวัดกรุสี่ห้อง เขตอรัญญิก นอกเมืองกำแพงเพชร ด้านทิศเหนือ) พระพุทธรูปลีลาองค์นี้ได้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2542 บริเวณอาคารหมายเลข 1 (วิหาร) ขณะขุดโบราณสถานวัดกรุสี่ห้อง ในเขตอรัญญิก มีพุทธลักษณะตามแบบศิลปะสุโขทัย องค์พระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถเดินหรือกำลังเคลื่อนไหว พระชงฆ์ขวาเหลื่อมถอยหลังไปเล็กน้อย พระกรซ้ายชำรุด พระหัตถ์หักหายไป แต่สันนิษฐานว่าคงยกพระหัตถ์ซ้ายนี้ขึ้นหันฝ่าพระหัตถ์ไปข้างหน้า ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งปางแสดงธรรม (วิตรรกะมุทรา) หรือปางประทานอภัย (อภัยมุทรา) โดยอาจเทียบได้กับพระพุทธรูปลีลาลอยตัวจากวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพฯ และองค์ที่จัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง จังหวัดสุโขทัย
 +
          ทั้งนี้คติการสร้างพระพุทธรูปลีลา เชื่อกันว่าน่าจะมาจากพุทธประวัติตอนเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ภายหลังจากพระพุทธองค์เสด็จขึ้นไปเทศนาโปรดพุทธมารดาเป็นมารดาเป็นเวลา 3 เดือน แล้วจึงเสด็จกลับโลกมนุษย์ ณ เมืองสัวงกัสสะ พระอินทร์ได้เนรมิตรบันไดทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ บันไดแก้วอยู่ตรงกลางเป็นที่เสด็จลงของพระพุทธองค์ บันไดทองอยู่ด้านขวาของพระพุทธองค์ได้เป็นทางลงของพระอินทร์ และด้านซ้ายเป็นบันไดเงินทางลงของพระพรหม เหตุการณ์ในพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์นั้น เป้นตอนที่พระพุทธองค์อยู่ในอิริยาบถลีลา ได้ปรากฏหลักฐานเป็นภาพปูนปั้นที่มณฑปวัดตระพังทองหลาง และมณฑปวัดตึก จังหวัดสุโขทัย รวมทั้งภาพจารด้านหนึ่งของศิลาจารึกรูปใบเสมาที่ได้จากวัดสรศักดิ์ จังหวัดสุโขทัย โดยอีกด้านหนึ่งของศิลาจารึกมีข้อความกล่าวถึงการสร้าง “พระเจ้าหย่อนตีน” กับ พระเจ้าจงกลม” ซึ่งอาจมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธรูปลีลา ทั้งนี้การทำพระพุทธรูปลีลาในศิลปะสุโขทัยอาจได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปะลังกา สมัยโปลนนารุวะ เมื่อช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 18 ดังมีหลักฐานเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังแสงภาพพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ที่วิหารติวังกะเมืองโปลนนารุวะ ประเทศศรีลังกา ดังภาพที่ 5
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 พระพุทธรูปลีลา.jpg|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 พระพุทธรูปลีลา.jpg|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5 พระพุทธรูปลีลา ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5 พระพุทธรูปลีลา ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
          พระพุทธรูปลีลาองค์นี้ได้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2542 บริเวณอาคารหมายเลข 1 (วิหาร) ขณะขุดโบราณสถานวัดกรุสี่ห้อง ในเขตอรัญญิก มีพุทธลักษณะตามแบบศิลปะสุโขทัย องค์พระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถเดินหรือกำลังเคลื่อนไหว พระชงฆ์ขวาเหลื่อมถอยหลังไปเล็กน้อย พระกรซ้ายชำรุด พระหัตถ์หักหายไป แต่สันนิษฐานว่าคงยกพระหัตถ์ซ้ายนี้ขึ้นหันฝ่าพระหัตถ์ไปข้างหน้า ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งปางแสดงธรรม (วิตรรกะมุทรา) หรือปางประทานอภัย (อภัยมุทรา) โดยอาจเทียบได้กับพระพุทธรูปลีลาลอยตัวจากวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพฯ และองค์ที่จัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง จังหวัดสุโขทัย
+
           '''เศียรพระพุทธรูป''' (เลขทะเบียน 16/340/2513, สำริด, ขนาดสูง 67.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20 : รับมอบมาจากศาลากลางจังหวัดกำแพงเพชร) เศียรพระพุทธรูปนี้มีลักษณะเช่นเดียวกันพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยหมวดใหญ่ทั่วไป แต่ที่ต่างออกไปคือ การทำพระนลาฏกว้าง และพระหนุเสี้ยม ซึ่งจัดเป็นลักษณะเฉพาะของศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร ดังภาพที่ 6
          ทั้งนี้คติการสร้างพระพุทธรูปลีลา เชื่อกันว่าน่าจะมาจากพุทธประวัติตอนเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ภายหลังจากพระพุทธองค์เสด็จขึ้นไปเทศนาโปรดพุทธมารดาเป็นมารดาเป็นเวลา 3 เดือน แล้วจึงเสด็จกลับโลกมนุษย์ ณ เมืองสัวงกัสสะ พระอินทร์ได้เนรมิตรบันไดทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ บันไดแก้วอยู่ตรงกลางเป็นที่เสด็จลงของพระพุทธองค์ บันไดทองอยู่ด้านขวาของพระพุทธองค์ได้เป็นทางลงของพระอินทร์ และด้านซ้ายเป็นบันไดเงินทางลงของพระพรหม เหตุการณ์ในพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์นั้น เป้นตอนที่พระพุทธองค์อยู่ในอิริยาบถลีลา ได้ปรากฏหลักฐานเป็นภาพปูนปั้นที่มณฑปวัดตระพังทองหลาง และมณฑปวัดตึก จังหวัดสุโขทัย รวมทั้งภาพจารด้านหนึ่งของศิลาจารึกรูปใบเสมาที่ได้จากวัดสรศักดิ์ จังหวัดสุโขทัย โดยอีกด้านหนึ่งของศิลาจารึกมีข้อความกล่าวถึงการสร้าง “พระเจ้าหย่อนตีน” กับ พระเจ้าจงกลม” ซึ่งอาจมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธรูปลีลา ทั้งนี้การทำพระพุทธรูปลีลาในศิลปะสุโขทัยอาจได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปะลังกา สมัยโปลนนารุวะ เมื่อช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 18 ดังมีหลักฐานเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังแสงภาพพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ที่วิหารติวังกะเมืองโปลนนารุวะ ประเทศศรีลังกา<br>
 
           '''เศียรพระพุทธรูป''' (เลขทะเบียน 16/340/2513, สำริด, ขนาดสูง 67.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20 : รับมอบมาจากศาลากลางจังหวัดกำแพงเพชร) ดังภาพที่ 6
 
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 6 เศียรพระพุทธรูป.jpg|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 6 เศียรพระพุทธรูป.jpg|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 6 เศียรพระพุทธรูป ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 6 เศียรพระพุทธรูป ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
          เศียรพระพุทธรูปนี้มีลักษณะเช่นเดียวกันพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยหมวดใหญ่ทั่วไป แต่ที่ต่างออกไปคือ การทำพระนลาฏกว้าง และพระหนุเสี้ยม ซึ่งจัดเป็นลักษณะเฉพาะของศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร
+
           '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (1)''' (เลขทะเบียน 16/271/2513, สำริด, ขนาดสูง พร้อมฐาน 27.5  เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 20 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบจากการขุดแต่งโบราณสถานวัดพระแก้ว กลางเมืองกำแพงเพชร) พระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานหนเกระดานเรียบ ลักษณะพระพักตร์แสดงเอกลักษณ์ทางศิลปกรรมของฝีมือช่างกำแพงเพชร โดยเฉพาะมีพระหัตถ์ขวาวางคว่ำบนพระชงฆ์ ปลายนิ้วพระหัตถ์ชี้ลงเบื้องล่างเพื่อเรียกพระแม่ธรณีมาเป็นพยานว่าในชาติก่อนๆ พระองค์ได้สั่งสมบำเพ็ญบารมีมาเป็นพยานว่า ในชาติก่อนๆ พระองค์ได้สั่งสมบำเพ็ญบารมีมาเพียงพอที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาตินี้ แม่พระธรณีจึงบีบมวยผมหลั่งน้ำออกมาไหลท่วมเหล่ามาร ดังภาพที่ 7
           '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (1)''' (เลขทะเบียน 16/271/2513, สำริด, ขนาดสูง พร้อมฐาน 27.5  เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 20 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบจากการขุดแต่งโบราณสถานวัดพระแก้ว กลางเมืองกำแพงเพชร) ดังภาพที่ 7
 
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 1.jpg|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 1.jpg|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 7 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 1 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 7 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 1 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
          พระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานหนเกระดานเรียบ ลักษณะพระพักตร์แสดงเอกลักษณ์ทางศิลปกรรมของฝีมือช่างกำแพงเพชร โดยเฉพาะมีพระหัตถ์ขวาวางคว่ำบนพระชงฆ์ ปลายนิ้วพระหัตถ์ชี้ลงเบื้องล่างเพื่อเรียกพระแม่ธรณีมาเป็นพยานว่าในชาติก่อนๆ พระองค์ได้สั่งสมบำเพ็ญบารมีมาเป็นพยานว่า ในชาติก่อนๆ พระองค์ได้สั่งสมบำเพ็ญบารมีมาเพียงพอที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาตินี้ แม่พระธรณีจึงบีบมวยผมหลั่งน้ำออกมาไหลท่วมเหล่ามาร
+
           '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (2)''' (เลขทะเบียน 16/234/2534, สำริด, ขนาดสูง พร้อมฐาน 69 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 45 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : เดิมประดิษฐานอยู่ในห้องผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร รับมอบวันที่ 21 ตุลาคม 2534) พระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์นี้ ยังคงแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยหมวดใหญ่ แต่มีรายละเอียดบางประการที่อาจจัดได้ว่าเป็นฝีมือสกุลช่างกำแพงเพชร โดยเฉพาะได้แก่ พระนลาฏกว้าง พระหนุเสี้ยม ลักษณะพระพักตร์ค่อนข้างยาว รวมทั้งความนิยมในการทำวงแหวนคั่นกลางระหว่างพระอุษณีษะกับพระรัศมี นับว่าเป็นพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย สกุลช่างกำแพงเพชร ที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์มากที่สุด ดังภาพที่ 8
           '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (2)''' (เลขทะเบียน 16/234/2534, สำริด, ขนาดสูง พร้อมฐาน 69 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 45 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : เดิมประดิษฐานอยู่ในห้องผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร รับมอบวันที่ 21 ตุลาคม 2534) ดังภาพที่ 8
 
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 8 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 2.jpg|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 8 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 2.jpg|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 8 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 2 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 8 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 2 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
          พระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์นี้ ยังคงแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยหมวดใหญ่ แต่มีรายละเอียดบางประการที่อาจจัดได้ว่าเป็นฝีมือสกุลช่างกำแพงเพชร โดยเฉพาะได้แก่ พระนลาฏกว้าง พระหนุเสี้ยม ลักษณะพระพักตร์ค่อนข้างยาว รวมทั้งความนิยมในการทำวงแหวนคั่นกลางระหว่างพระอุษณีษะกับพระรัศมี นับว่าเป็นพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย สกุลช่างกำแพงเพชร ที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์มากที่สุด
+
           '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (3)''' (เลขทะเบียน 16/758/2518, สำริด, ขนาดสูงพร้อมฐาน 46.5 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 28.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบที่วัดพระธาตุ กลางเมืองกำแพงเพชร) พระพุทธรูปองค์นี้พระพักตร์รูปไข่ค่อนข้างยาว พระนลาฏกว้าง พระหนุเสี้ยม พระขนงโก่ง พระเนตรเรียวเล็กเหลือบต่ำ พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์อมยิ้ม ขมวดพระเกศาค่อนข้างเล็ก พระอุษณีษะเป็นต่อมนูนใหญ่ พระรัศมีรูปเปลวเพลิง พระกรรณยาว ระหว่างพระกรรณกับพระอังสามีตัวเชื่อมหรือยึดไว้ให้ติดกัน ซึ่งคงเกิดขึ้นจากเทคนิควิธีในการหล่อโลหะ พระอังสาใหญ่ บั้นพระองค์คอดเล็ก ครองจีวรห่มเฉียงเปิดพระอังสาด้านขวา ชายจีวรบนพระอังสาซ้ายยาวลงมาจรดพระนาภี ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนอาสนะฐานหน้ากระดาน ดังภาพที่ 9
           '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (3)''' (เลขทะเบียน 16/758/2518, สำริด, ขนาดสูงพร้อมฐาน 46.5 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 28.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบที่วัดพระธาตุ กลางเมืองกำแพงเพชร) ดังภาพที่ 9
 
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 9 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 3.jpg|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 9 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 3.jpg|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 9 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 3 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 9 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 3 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
          พระพุทธรูปองค์นี้พระพักตร์รูปไข่ค่อนข้างยาว พระนลาฏกว้าง พระหนุเสี้ยม พระขนงโก่ง พระเนตรเรียวเล็กเหลือบต่ำ พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์อมยิ้ม ขมวดพระเกศาค่อนข้างเล็ก พระอุษณีษะเป็นต่อมนูนใหญ่ พระรัศมีรูปเปลวเพลิง พระกรรณยาว ระหว่างพระกรรณกับพระอังสามีตัวเชื่อมหรือยึดไว้ให้ติดกัน ซึ่งคงเกิดขึ้นจากเทคนิควิธีในการหล่อโลหะ พระอังสาใหญ่ บั้นพระองค์คอดเล็ก ครองจีวรห่มเฉียงเปิดพระอังสาด้านขวา ชายจีวรบนพระอังสาซ้ายยาวลงมาจรดพระนาภี ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนอาสนะฐานหน้ากระดาน
+
         '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (4)''' (เลขทะเบียน 16/341/2513, สำริด, ขนาดสูงพร้อมฐาน 25 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 18.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 21 : พบที่วัดพระธาตุ กลางเมืองกำแพงเพชร) พระพุทธรูปองค์นี้มีพุทธลักษณะ แสดงถึงอิทธิพลศิลปะล้านนนา กำหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 21 ซึ่งที่เมืองกำแพงเพชรได้พบพระพุทธรูปลักษณะนี้อยู่หลายองค์ เป็นต้นว่า หลวงพ่อเพชร วัดบาง พระพุทธรูปสำริดที่มีจารึกที่ฐาน วัดคูยาง รวมทั้งพระพุทธรูปปูนปั้นภายในมณฑปวัดสว่างอารมณ์ ดังภาพที่ 10
         '''พระพุทธรูปปางมารวิชัย (4)''' (เลขทะเบียน 16/341/2513, สำริด, ขนาดสูงพร้อมฐาน 25 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 18.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 21 : พบที่วัดพระธาตุ กลางเมืองกำแพงเพชร) ดังภาพที่ 10
 
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 10 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 4.jpg|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 10 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 4.jpg|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 10 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 4 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 10 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 4 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : กรมศิลปากร, 2557) </p>
          พระพุทธรูปองค์นี้มีพุทธลักษณะ แสดงถึงอิทธิพลศิลปะล้านนนา กำหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 21 ซึ่งที่เมืองกำแพงเพชรได้พบพระพุทธรูปลักษณะนี้อยู่หลายองค์ เป็นต้นว่า หลวงพ่อเพชร วัดบาง พระพุทธรูปสำริดที่มีจารึกที่ฐาน วัดคูยาง รวมทั้งพระพุทธรูปปูนปั้นภายในมณฑปวัดสว่างอารมณ์
 
  
=== บทสรุป ===
+
== บทสรุป ==
 
           ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร เป็นภูมิปัญญาช่างในการปรับเปลี่ยนแรงบันดาลทางศาสนาการสร้างพระพุทธรูปที่ทำด้วยโลหะของชาวไทยนับตั้งแต่สมัยโบราณ ได้ใช้วิธีการหล่อโลหะแบบสูญขี้ผึ้ง โลหะที่ใช้เป็นวัตถุดิบหลัก คือ ทองแดงและดีบุก หรือที่เรียกว่ากันว่า สำริด นอกจากนี้อาจมีการผสมโลหะและให้น้ำโลหะไหลเข้าไปในแม่พิมพ์อย่างทั่วถึง การหล่อโลหะดังกล่าวสามารถสรุปวิธีการทำได้ดังนี้ ขั้นตอนแรกจะต้องทำหุ่นแกนดินให้เป็นเค้าโครงของประติมากรรม ตอกหมุดโลหะที่เรียกว่า ทอย ฝังลงในหุ่นแกนดินโดยรอบเพื่อยึดให้มีความมั่นคง แล้วนำน้ำผึ้งมาพอกทับ ตกแต่งรายละเอียดต่างๆ ตามต้องการ โดยต้องปั้นขี้ผึ้งให้มีความหนาของเนื้อโลหะ จากนั้นจึงนำดินผสมมูลวัวมาทาบนผิวขี้ผึ้งแล้วจึงนำดินมาพอกทับอีกครั้ง ติดสายกระบวน สายชนวน และรูล้น สำหรับเป็นทางไหลของขี้ผึ้ง และโลหะหลอมเหลว จึงนำชิ้นงานนี้ไปเผาไฟให้ความร้อน จะทำให้ขี้ผึ้งหลอมละลาย เมื่อขับหรือไล่ขี้ผึ้งออกหมดแล้วจะทำให้เกิดช่องว่างให้นำโลหะที่หลอมละลายแล้วเทกลับลงไปในแบบพิมพ์เพื่อแทนที่ขี้ผึ้ง จากนั้นจึงทิ้งแบบพิมพ์ไว้ให้เย็นแล้วทุบดินชั้นนอกออก จะได้ชิ้นงานรูปประติมากรรมที่ทำไว้ตามรูปหุ่นขี้ผึ้งซึ่งการพบศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร พระพุทธรูปลีลา เศียรพระพุทธรูป พระพุทธรูปปางมารวิชัย ปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร
 
           ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร เป็นภูมิปัญญาช่างในการปรับเปลี่ยนแรงบันดาลทางศาสนาการสร้างพระพุทธรูปที่ทำด้วยโลหะของชาวไทยนับตั้งแต่สมัยโบราณ ได้ใช้วิธีการหล่อโลหะแบบสูญขี้ผึ้ง โลหะที่ใช้เป็นวัตถุดิบหลัก คือ ทองแดงและดีบุก หรือที่เรียกว่ากันว่า สำริด นอกจากนี้อาจมีการผสมโลหะและให้น้ำโลหะไหลเข้าไปในแม่พิมพ์อย่างทั่วถึง การหล่อโลหะดังกล่าวสามารถสรุปวิธีการทำได้ดังนี้ ขั้นตอนแรกจะต้องทำหุ่นแกนดินให้เป็นเค้าโครงของประติมากรรม ตอกหมุดโลหะที่เรียกว่า ทอย ฝังลงในหุ่นแกนดินโดยรอบเพื่อยึดให้มีความมั่นคง แล้วนำน้ำผึ้งมาพอกทับ ตกแต่งรายละเอียดต่างๆ ตามต้องการ โดยต้องปั้นขี้ผึ้งให้มีความหนาของเนื้อโลหะ จากนั้นจึงนำดินผสมมูลวัวมาทาบนผิวขี้ผึ้งแล้วจึงนำดินมาพอกทับอีกครั้ง ติดสายกระบวน สายชนวน และรูล้น สำหรับเป็นทางไหลของขี้ผึ้ง และโลหะหลอมเหลว จึงนำชิ้นงานนี้ไปเผาไฟให้ความร้อน จะทำให้ขี้ผึ้งหลอมละลาย เมื่อขับหรือไล่ขี้ผึ้งออกหมดแล้วจะทำให้เกิดช่องว่างให้นำโลหะที่หลอมละลายแล้วเทกลับลงไปในแบบพิมพ์เพื่อแทนที่ขี้ผึ้ง จากนั้นจึงทิ้งแบบพิมพ์ไว้ให้เย็นแล้วทุบดินชั้นนอกออก จะได้ชิ้นงานรูปประติมากรรมที่ทำไว้ตามรูปหุ่นขี้ผึ้งซึ่งการพบศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร พระพุทธรูปลีลา เศียรพระพุทธรูป พระพุทธรูปปางมารวิชัย ปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:35, 22 ธันวาคม 2563

บทนำ[แก้ไข]

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโบราณวัตถุ กรณีศึกษา ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร ภาคเหนือตอนล่าง ราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 เป็นจุดผ่านระหว่างเมืองเหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตะวันตก ทำให้มีการติดต่อกับโลกภายนอก อันมีผลให้เกิดความเจริญ จากหมู่บ้านกลายเป็นชุมชนใหญ่ พัฒนาจนเป็นชุมชนใหญ่ พัฒนาจนเป็นบ้านเมือง ผู้คนต่างพื้นที่ไปมาหาสู่ติดต่อค้าขายต่อกัน ทำให้เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมกับคนในพื้นที่ ช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 วัฒนธรรมขอม (ปัจจุบันคือเขมร) เป็นส่วนสำคัญในกลุ่มชนชั้นปกครองของสุโขทัย ดังหลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและประติมากรรมแบบขอม ปราสาทแบบขอมที่วัดเจ้าจันทร์ ศรีสัชนาลัย คือหลักฐานอีกแห่งหนึ่งที่บ่งบอกถึงการมีอยู่ของวัฒนธรรมขอม ศิลปกรรมเหล่านี้มีมาก่อนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสำคัญของสุโขทัย อิทธิพลจากวัฒนธรรมขอมในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยซึ่งแพร่หลายเข้ามาทางตะวันตก เริ่มเสื่อมถอยหลังจากพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สวรรคตในราว พ.ศ.1760 อาณาจักรสำคัญทางตะวันตกคือพุกาม ศูนย์กลางแห่งความเจริญรุ่งเรืองของประเทศพม่าก็เสื่อมโทรมเป็นลำดับมาจากการรุกรานของกองทัพมองโกลตั้งแต่ พ.ศ.1820 และล่มสลายลงหลังจากนั้นราว 10 ปี ท่ามกลางความถดถอยของศูนย์อำนาจภายนอก พ่อขุนผาเมืองกับพ่อขุนบางกลางหาวของไทย ผู้มีความเกี่ยวโยงบางอย่างกับเมืองบางยาง ได้ร่วมกันกำจัดอำนาจขอมสมาดโขลนลำพง ที่สุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้สำเร็จราว พ.ศ.1782 ต่อมาพ่อขุนรามคำแหง โอรสพระองค์หนึ่งของพ่อขุนบางกลางหาว (ศรีอินทราทิตย์) เสด็จขึ้นครองราชย์ ต่อจากพ่อขุนบาลเมือง สุโขทัยในรัชกาลของพระองค์เจริญรุ่งเรือง ดังระบุอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 1 หลังจากนั้นจึงเป็นการเสด็จขึ้นครองราชย์ของพญาเลอไท มาจนถึงพญาลิไท (พระมหาธรรมราชาที่ 1) เป็นลำดับ
         พุทธศาสนาในสุโขทัยระยะนั้นจึงเจริญรุ่งเรืองดีแล้ว พญาลิไททรงฝักใฝ่ในทางศาสนา ทรงสร้างวัตถุธรรมทางศาสนา เช่น วัดวาอาราม พระพุทธรูป อันเป็นช่วงแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางด้านศิลปกรรมของสมัยสุโขทัย อย่างไรก็ตามอำนาจทางด้านการเมืองของสุโขทัยในรัชกาลของพระองค์คงถดถอยลง จึงต้องทรงพยายามขยายอาณาเขต โดยรวบรวมเมืองทางใต้คือ กำแพงเพชร นครสวรรค์ ทางตะวันออกคือ แพร่ น่าน พระองค์ต้องเสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลกระหว่าง พ.ศ.1905-1911 เพี่อจะสามารถคุมเมืองทางแม่น้ำป่าสักได้และประวิงการคุกคามของกรุงศรีอยุธยาซึ่งสถาปนาขึ้นแล้วเมื่อ พ.ศ.1893 แต่ในที่สุดกองทัพของกรุงศรีอยุธยาก็สามารถขึ้นมาลิดรอนอำนาจของสุโขทัยได้ และเสริมสร้างสุโขทัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจโดยสมบูรณ์ เริ่มขึ้นในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 หรือต้นพุทธศตวรรษที่ 19 ศิลาจารึกบางหลักของสุโขทัย เรียก ศรีสัชนาลัยควบคู่กับสุโขทัย (ศรีสัชนาลัย-สุโขทัย) หรือเรียกสลับว่า สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย อันเป็นที่มาของคำว่า ราชธานีแฝด สมัยสุโขทัยเป็นวัฒนธรรมที่เจริญขึ้นในบริเวณภาคเหนือตอนล่าง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19–21 โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสุโขทัย ทั้งนี้ในสมัยสุโขทัยราวพุทธศตวรรษที่ 19–20 พื้นที่ริมสองฝั่งแม่ปิงในเขตจังหวัดกำแพงเพชร ปรากฏร่องรอยเมืองโบราณที่สำคัญหลายแห่งที่มีหลักฐานอยู่ในสมัยสุโขทัย เช่น เมืองไตรตรึงษ์ เมืองคณฑี เมืองเทพนคร บ้านคลองเมือง เมืองนครชุม และเมืองกำแพงเพชร โดยเฉพาะเมืองนครชุม และเมืองกำแพงเพชร โดยเฉพาะเมืองนครชุมที่ตั้งอยู่ริมคลองสวนหมากทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิงอาจจะเกิดขึ้นก่อนเมืองกำแพงเพชร
         เมืองโบราณสมัยสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชรที่สำคัญ คือ เมืองนครชุม ซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิงด้านตรงข้ามกับเมืองกำแพงเพชรในปัจจุบัน ลักษณะผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมนและวางตัวตามแนวการไหลของแม่น้ำปิง คูเมืองมีขนาดกว้าง 400 เมตร ยาว 2,900 เมตร เมืองนครชุมถือว่าเป็นเมืองสำคัญของอาณาจักรสุโขทัย โดยปรากฏเรื่องราวในศิลาจารึกหลักที่ 3 (จารึกนครชุม) ที่กล่าวถึงเหตุการณ์พระมหาธรรมราชา (ลิไท) กษัตริย์สุโขทัยโปรดฯ ให้นำพระศรีรัตนมหาธาตุ และต้นศรีมหาโพธิ์ ที่นำมาจากอาณาจักรลังกา มาประดิษฐานไว้กลางเมืองนครชุม เมื่อ พ.ศ.1900 สันนิษฐานว่า คือ เจดีย์วัดพระบรมธาตุซึ่งปัจจุบันเป็นเจดีย์ทรงพม่า สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า เจดีย์องค์เดิมคงเป็นเจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรือเรียกอีกอย่างว่าพุ่มข้าวบิณฑ์ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงอนุญาตให้พ่อค้าไม้ชาวพม่าชื่อ  พระยาตะก่า ซ่อมแซมปฏิสังขรณ์และก่อใหม่จนกลายเป็นรูปแบบพม่าดังเช่นปัจจุบัน หลักฐานทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของเมืองนครชุมในสมัยสุโขทัย ปัจจุบันเมืองเก่าสุโขทัย ศรีสัชนาลัย รวมทั้งกำแพงเพชรอีกหนึ่งในเมืองเครือข่ายของสุโขทัยได้รับยกย่องจากองค์การนานาชาติยูเนสโก (UNESCO) ว่า เป็นมรดกโลก ความหมายของ มรดกโลก จะสมบูรณ์ เมื่อการฟื้นฟูใดๆ ของเมืองหรือศาสนสถานร้างเป็นไปด้วยความเหมาะสมแก่บริบทของแต่ละแห่ง ด้วยความรู้และความเข้าใจเพียงพอ อันสะท้อนถึงการให้ความเคารพต่อภูมิปัญญาบรรพชน (สันติ เล็กสุขุม, 2549 หน้า 9-12)

คำสำคัญ : ศิลปะสุโขทัย, โบราณวัตถุกำแพงเพชร, ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร

ศิลปะสุโขทัย[แก้ไข]

         คุณค่าอันแท้จริงของศิลปะสุทัยอยู่ที่ภูมิปัญญาช่างในการปรับเปลี่ยนแรงบันดาลทางศาสนา และศิลปะจากแหล่งที่เจริญขึ้นก่อน เช่น พม่า กัมพูชา รวมทั้งแหล่งความเจริญร่วมสมัยคือ ล้านนา โดยนำมาผสมผสานสร้างสรรค์อย่างกลมกลืนในสภาพแวดล้อมของสุโขทัย จนเป็นแบบฉบับเฉพาะตัวได้อย่างน่าสนใจ อัตลักษณ์ของศิลปะสมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาจนถึงเวลาที่ราชสำนักสุโขทัยหมดความสำคัญลง งานช่างจึงขาดการเกื้อหนุนส่งเสริม แต่แบบฉบับความงามของศิลปะสุโขทัยก็ยังเป็นแรงบันดาลใจ และอิทธิพลแก่ช่างแคว้นล้านนา กรุงศรีอยุธยา รวมทั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งยังมีการสร้างพระพุทธรุปแบบสุโขทัยอยู่ในปัจจุบัน

พระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัย[แก้ไข]

         พระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัยมีความแตกต่างจากพระพุทธรูปทรงเครื่องของฝ่ายมหายาน เพราะพระพุทธรูปในศิลปะสมัยสุโขทัยตามแบบแผนของชาวพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ถ่ายทอดผ่านรูปทรงอันเกิดจากสัดส่วน เส้นอก และปริมาตรซึ่งประสานกลมกลืนกันอย่างเรียบง่าย (สันติ เล็กสุขุม, 2549 หน้า 77-97) ได้แบ่งลักษณะของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยออกเป็น หมวดวัดตะกวน หมวดใหญ่ หมวดพระพุทธชินราช และหมวดกำแพงเพชร อนึ่งความเชื่อในศาสนาฮินดูมีอยู่ด้วยแต่เป็นส่วนน้อย ปะปนกับพุทธศาสนาได้ปรากฏอยู่ที่การสร้างเทวรูป เช่น พระนารายณ์ พระพรหม  พระอิศวร ด้วยสุนทรียภาพไม่แตกต่างจากพระพุทธรูป ทั้งนี้  มีช่วงพัฒนาการ ราว พ.ศ.2508 นักโบราณคดีได้พบพระพุทธรูปปูนปั้นซึ่งเปื่อยยุ่ยจนรักษาไว้ไม่ได้ พระอุระของพระพุทธรูปองค์นี้บรรจุชิ้นส่วนของพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดเล็ก เจ้าหน้าที่กรมศิลปากรประกอบชิ้นส่วนดังกล่าวได้เป็นพระพุทธรูปเพียงครึ่งท่อนบน ทรงเครื่องจีวรเฉียงเปิดพระอังสาขวา บนพระอังสาซ้ายมีชายจีวรสั้นพาดอยู่ ชายจีวรหยักแยกสองแฉกคล้ายเขี้ยวตะขาบหักหลุดไปบางส่วน เม็ดพระศกค่อนข้างเล็ก อุษณีษะหรือกะโหลกเศียรที่โป่งนูน อันเป็นหนึ่งในลักษณะมหาบุรุษ รัศมีที่หักหายคงเป็นทรงดอกบัวตูม พระพักตร์กลม พระนลาฏค่อนข้างกว้าง แนวเม็ดพระศกหย่อนเล็กน้อยที่กลางพระนลาฏ พระขนงโก่ง หัวพระขนงไม่ชิดกัน พระเนตรหรี่ลงต่ำ พระนาสิกโด่ง แต่ค่อนข้างสั้น พระโอษฐ์อิ่ม พระหนุ (คาง) เป็นปม ลักษณะดังกล่าว ควรเป็นพระพุทธรูประยะแรกของศิลปะสุโขทัย ในครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 19 สอดคล้องกับการกำหนดอายุจากหลักฐานการขุดแต่งอีกครั้งของกรมศิลปากรระหว่าง พ.ศ.2528-2529 
         หมวดวัดตะกวน ลักษณะของพระพุทธรูประยะแรกของสุโขทัย เรียกกันมาก่อนว่า หมวดวัดตะกวน เพราะพบที่คล้ายคลึงกันเป็นครั้งแรกที่ วัดตะกวน สุโขทัย การเปรียบเทียบพระพุทธรูปแบบนี้กับพระพุทธรูปแบบเชียงแสนรุ่นแรกของแคว้นล้านนา ราวครึ่งแรกของพระพุทธศตวรรษที่ 19 พบว่ามีส่วนคล้ายคลึงกัน แหล่งบันดาลใจจากเมืองมอญ-พม่า โดยเฉพาะในช่วงปลายสมัยเมืองพุกาม ย่อมเป็นต้นแบบระยะแรกทั้งศิลปะของเเคว้นล้านนาและสุโขทัย พระพุทธรูปรุ่นแรกของสุโขทัยเป็นงานปูนปั้น ทำให้ทราบได้ว่า งานหล่อสำริดของแคว้นล้านนาเจริญมาก่อน จนเมื่อล่วงเข้าสู่ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 19 งานหล่อสำริดในศิลปะสุโขทัยจึงเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการหล่อพระพุทธรูปสำริดจำนวนมาก และมีคุณภาพ ความสมบูรณ์ของรูปแบบ รวมถึงความงามอย่างอุดมคติของพระพุทธรูปหมวดใหญ่ในศิลปะสุโขทัย ก่อนจะพัฒนามาเป็นลักษณะของพระพุทธรุปหมวดใหญ่ แนวโน้มการคลี่คลายเชื่อว่าปรากฏอยู่ที่พระพุทธรูปที่เจดีย์วัดช้างล้อม ศรีสัชนาลัย บรรดาพระพุทธรูปปูนปั้นที่ชำรุดของเจดีย์องค์นี้ประดิษฐานอยู่ภายในจระนำห้าช่อง เรียงรายทีแต่ละด้านของฐานสี่เหลี่ยมเหนือลานประทักษิณ พระพุทธรูปเหล่านั้นประทับขัดสมาธิราบ พระหัตถ์ทั้งสองแสดงปางมารวิชัย ทรงครองจีวรห่มเฉียงเปิดพระอังสาขวา ชายจีวรยาวพาดเหนือพระอังสาซ้าย โดยจีบทบเป็นริ้ว พระพักตร์คลี่คลายจากลักษณะกลมไปบ้าง เม็ดพระศกเล็ก พระนลาฏยังค่อนข้างกว้าง อุษณีษะนูน รัศมีหักหายไป พระขนงวาดเป็นวงโค้ง หัวพระขนงจรดกันโดยต่อเนื่องลงมาเป็นสันโด่งของพระนาสิก ชายจีวรหรือสังฆาฏิที่จีบทบกันเป็นริ้วเป็นแบบอย่างพิเศษ ปรากฏในช่วงเวลาสั้นๆ โดยอาจมีต้นแบบจากพระพุทธรูปนาคปรกหล่อด้วยสำริด พบที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระพุทธรูปองค์นี้มีศักราชระบุว่าหล่อขึ้น ใน พ.ศ.1834 แบบอย่างพิเศษของชายจีวรได้พบที่พระพุทธรูปลีลาพระพักตร์รูปไข่ ปั้นด้วยปูนแบบนูนสูงที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง จัดอยู่ในพระพุทธรูปหมวดใหญ่ พระพุทธรูปนาคปรก ปั้นด้วยปูน พบน้อยมากในศิลปะสุโขทัย องค์หนึ่งมีอยู่ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง ได้รับการบูรณะแล้ว อีกองค์หนึ่งประดิษฐานในจระนำของเจดีย์ราย ด้านหลังของเจดีย์ประธานวัดเจดีย์เจ็ดแถว ศรีสัชนาลัย ดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1 พระพุทธรูปศิลปะ.jpg

ภาพที่ 1 พระพุทธรูปศิลปะหมวดวัดตะกวน

(ที่มา : Siamese (นามแฝง), 2554)

         พระพุทธรูปหมวดใหญ่ เป็นที่รู้จักกันดี โดยเฉพาะพระพุทธรูปประทับขัดสมาธิราบ พระหัตถ์แสดงปางมารวิชัย ทรงครองจีวรหรือชายสังฆาฏิยาว ปลายเป้นรูปเขี้ยวตะขาบอยู่ที่ระดับพระนาภี ขมวดพระเกศาใหญ่อย่างสมส่วน อุษณีษะนูนทรงมะนาวตัด รัศมีรูปเปลว แนวขมวดพระเกศาโค้งลงเป็นมุมแหลมที่กลาง พระนลาฏ พระขนงวาดโค้ง สันพระนาสิกต่อเนื่องจากแนวที่จรดกันของของหัวพระขนง พระเนตรหรี่ลงต่ำ พระนาสิกโด่ง (งุ้มเล็กน้อย) ลักษณะเช่นนี้คงสร้างขึ้นในปลายพุทธศตวรรษก่อน สืบเนื่องมาถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 20 อยู่ในช่วงรัชกาลพญาลิไท และแม้ผ่านเลยมาสู่รัชกาลต่อๆมา ก็ยังรักษาเค้าความงามตามอุดมคติดังกล่าว ในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศาสดาจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก ปัจจุบันในวิหารวัดบวรนิเวศฯ พระศรีศากยมุนี หล่อด้วยสำริด ในวิหารหลวงวัดสุทัศน์ฯ กรุงเทพฯ อัญเชิญมาในรัชกาลพรบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพักตร์ของพระศรีศากยมุนี ค่อนข้างเหลี่ยมหรือกลมเกินกว่าจะเป็นรูปไข่แบบพระพุทธรูปหมวดใหญ่ อนึ่งคำว่า หมวดใหญ่ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงขนาด แต่หมายถึงกลุ่มพระพุทธรูปที่พบจำนวนมาก ที่มีลักษณะอันเป็นแบบแผนชัดเจนในรัชกาลของพญาลิไท ซึ่งโดยทั่วไปของพระพุทธรูปหมวดใหญ่เท่าที่เคยพบขนาดใหญ่ราวหนึ่งหรือสองเท่าของสัดส่วนคน ขนาดของพระศรีศากยมุนีเกินกว่าสัดส่วนคนหลายเท่า หากเชื่อว่าสร้างขึ้นในรัชกาลของพญาลิไท ก็สามารถสันนิษฐานได้ว่าพระศรีศากยมุนี เป็นฝีมือช่างที่ถนัดงานสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ ซึ่งมีเงื่อนไขและกรรมวิธีพิเศษไปกว่าการสร้างพระพุทธรูปขนาดเล็ก เป็นผลให้พระพักตร์ของพระศรีศากยมุนีแตกต่างจากพระพักตร์รูปไข่ของพระพุทธรูปหมวดใหญ่ แม้สร้างในช่วงเวลาร่วมสมัยกัน เพราะงานสร้างพระพุทธรุปขนาดใหญ่ให้มีสัดส่วนสมบูรณ์งดงาม ย่อมต้องการช่างปั้นและช่างหล่อที่มีความสามารถขั้นสูงแล้วเท่านั้น ดังภาพที่ 2
ภาพที่ 2 พระพุทธรูปหมวดใหญ่.jpg

ภาพที่ 2 พระพุทธรูปหมวดใหญ่ ศิลปะสุโขทัย

(ที่มา : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง, ม.ป.ป.)

         หมวดพระพุทธชินราช พระพุทธชินราช ประดิษฐานในวิหารหลวง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก ลักษณะโดยรวมอยู่ในเค้าเดียวกับพระศรีศากยมุนี เพราะมีขนาดใหญ่ไล่เลี่ยกัน และต่างก็มีนิ้วพระหัตถ์ยาวเสมอกัน ด้วยเพราะพระพุทธชินราช นั้นมีความสำคัญในประวัติศาสตร์และมีชื่อเสียงในด้านความงดงามสมส่วน จึงใช้เป็นชื่อหมวดหนึ่งของพระพุทธรูปสุโขทัย โดยมีข้อสังเกตว่าพระพุทธชินราชมีลักษณะอ่อนช้อยกว่า พระศรีศากยมุนี พระพุทธชินราช จึงอาจสร้างขึ้นหลังกว่าเล็กน้อย คือ สมัยพญาไสลือไท พระพุทธรูปสุโขทัยหมวดใหญ่จำนวนมากหล่อด้วยสำริด มีตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เท่าคน หรือใหญ่กว่าเล็กน้อย คงเกิดจากการทำสืบทอด ทำซ้ำจำลองกันมานาน จนล่วงมาในครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 20 ก็ยังทำกันอยู่ อย่างไรก็ตาม โอกาสที่ลักษณะบางประการจะแตกต่างกันไปบ้าง ตามพื้นเพของช่างและฝีมือช่าง เช่น พระพักตร์แปลกจากกันไปบ้าง แต่ยังรักษาลักษณะโดยรวมของพระพุทธรูปหมวดใหญ่เอาไว้ ดังภาพที่ 3
ภาพที่ 3 พระพุทธชินราช.gif

ภาพที่ 3 พระพุทธรูปหมวดพระพุทธชินราช ศิลปะสุโขทัย

(ที่มา : ศักดิ์นิคม ขุนกำแหง, 2546)

         หมวดกำแพงเพชร ช่วงปลายสมัยสุโขทัย ยังคงมีเกี่ยวเนื่องที่พบได้ คือ ช่างปั้นพระพุทธรูปของเมืองต่างๆ ที่รับอิทธิพลของพระพุทธรูปหมวดใหญ่ของสุโขทัย เช่น ช่างกำแพงเพชร ได้สร้างพระพุทธรูป  หมวดกำแพงเพชร ของตน ที่มีพระนลาฏกว้างและพระหนุ (คาง) เสี้ยม พระพักตร์เช่นนี้พบได้น้อย อยู่ในช่วงกลางของพุทธศตวรรษที่ 20 พระพุทธรูปแบบอู่ทองรุ่นที่ 3 ของกรุงศรีอยุธยา ได้พบจำนวนมากในกรุของปรางค์ประธานวัดราชบูรณะพระนครศรีอยุธยา ซึ่งก่อสร้างขึ้นใน พ.ศ.1967 พระพักตร์ของพระพุทธรูปอู่ทองรุ่นนี้ กลายจากเหลี่ยมเป็นรูปไข่ คือหนึ่งในหลายลักษณะจากพระพุทธรูปหมวดใหญ่ ในส่วนของพระพุทธรูปหมวดใหญ่แบบสุโขทัย ทั้งแบบอิริยาบถนั่ง และพระพิมพ์ในพระอิริยาบถลีลาที่เรียกกันว่า กำแพงเขย่ง ได้พบภายในกรุนี้ด้วย ล่วงมาถึงพุทธศตวรรษ ที่ 21 แบบอย่างของพระพุทธรุปหมวดใหญ่ ยังคงป็นแรงบันดาลใจสำหรับช่างล้านนา โดยนำเข้ามาผสมผสานลักษณะกับพระพุทธรูปแบบเชียงแสนรุ่นแรก กลายเป็นแบบที่เรียกว่า พระพุทธรูปเชียงแสงรุ่นหลัง สุโขทัยเสื่อมความสำคัญมาเป็นลำดับ สิ้นสุดลงใน พ.ศ. 1981 ตรงกับรัชกาลของพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ดังภาพที่ 4
ภาพที่ 4 พระพุทธรูปหมวดกำแพงเพชร.jpg

ภาพที่ 4 พระพุทธรูปหมวดกำแพงเพชร ศิลปะสุโขทัย

(ที่มา : ร้านบุราณศิลป์, ม.ป.ป.)

พระพุทธรูปที่เป็นศิลปะสุโขทัยที่ค้นพบภายในเขตจังหวัดกำแพงเพชร[แก้ไข]

         พระพุทธรูปที่เป็นศิลปะสุโขทัยที่ค้นพบภายในเขตจังหวัดกำแพงเพชร (กรมศิลปากร, 2557 หน้า 103-115) พระพุทธรูปลีลา เศียรพระพุทธรูป พระพุทธรูปปางมารวิชัยโดย (1) พระพุทธรูปปางมารวิชัย (2) พระพุทธรูปปางมารวิชัย (3) และพระพุทธรูปปางมารวิชัย (4) ปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร
         พระพุทธรูปลีลา (เลขทะเบียน 16/1/2543, สำริด, ขนาดสูง 93 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบจากการขุดแต่งโบราณสถานวัดกรุสี่ห้อง เขตอรัญญิก นอกเมืองกำแพงเพชร ด้านทิศเหนือ) พระพุทธรูปลีลาองค์นี้ได้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2542 บริเวณอาคารหมายเลข 1 (วิหาร) ขณะขุดโบราณสถานวัดกรุสี่ห้อง ในเขตอรัญญิก มีพุทธลักษณะตามแบบศิลปะสุโขทัย องค์พระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถเดินหรือกำลังเคลื่อนไหว พระชงฆ์ขวาเหลื่อมถอยหลังไปเล็กน้อย พระกรซ้ายชำรุด พระหัตถ์หักหายไป แต่สันนิษฐานว่าคงยกพระหัตถ์ซ้ายนี้ขึ้นหันฝ่าพระหัตถ์ไปข้างหน้า ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งปางแสดงธรรม (วิตรรกะมุทรา) หรือปางประทานอภัย (อภัยมุทรา) โดยอาจเทียบได้กับพระพุทธรูปลีลาลอยตัวจากวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพฯ และองค์ที่จัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง จังหวัดสุโขทัย
         ทั้งนี้คติการสร้างพระพุทธรูปลีลา เชื่อกันว่าน่าจะมาจากพุทธประวัติตอนเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ภายหลังจากพระพุทธองค์เสด็จขึ้นไปเทศนาโปรดพุทธมารดาเป็นมารดาเป็นเวลา 3 เดือน แล้วจึงเสด็จกลับโลกมนุษย์ ณ เมืองสัวงกัสสะ พระอินทร์ได้เนรมิตรบันไดทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ บันไดแก้วอยู่ตรงกลางเป็นที่เสด็จลงของพระพุทธองค์ บันไดทองอยู่ด้านขวาของพระพุทธองค์ได้เป็นทางลงของพระอินทร์ และด้านซ้ายเป็นบันไดเงินทางลงของพระพรหม เหตุการณ์ในพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์นั้น เป้นตอนที่พระพุทธองค์อยู่ในอิริยาบถลีลา ได้ปรากฏหลักฐานเป็นภาพปูนปั้นที่มณฑปวัดตระพังทองหลาง และมณฑปวัดตึก จังหวัดสุโขทัย รวมทั้งภาพจารด้านหนึ่งของศิลาจารึกรูปใบเสมาที่ได้จากวัดสรศักดิ์ จังหวัดสุโขทัย โดยอีกด้านหนึ่งของศิลาจารึกมีข้อความกล่าวถึงการสร้าง “พระเจ้าหย่อนตีน” กับ พระเจ้าจงกลม” ซึ่งอาจมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธรูปลีลา ทั้งนี้การทำพระพุทธรูปลีลาในศิลปะสุโขทัยอาจได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปะลังกา สมัยโปลนนารุวะ เมื่อช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 18 ดังมีหลักฐานเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังแสงภาพพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ที่วิหารติวังกะเมืองโปลนนารุวะ ประเทศศรีลังกา ดังภาพที่ 5
ภาพที่ 5 พระพุทธรูปลีลา.jpg

ภาพที่ 5 พระพุทธรูปลีลา ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร

(ที่มา : กรมศิลปากร, 2557)

         เศียรพระพุทธรูป (เลขทะเบียน 16/340/2513, สำริด, ขนาดสูง 67.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20 : รับมอบมาจากศาลากลางจังหวัดกำแพงเพชร) เศียรพระพุทธรูปนี้มีลักษณะเช่นเดียวกันพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยหมวดใหญ่ทั่วไป แต่ที่ต่างออกไปคือ การทำพระนลาฏกว้าง และพระหนุเสี้ยม ซึ่งจัดเป็นลักษณะเฉพาะของศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6 เศียรพระพุทธรูป.jpg

ภาพที่ 6 เศียรพระพุทธรูป ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร

(ที่มา : กรมศิลปากร, 2557)

         พระพุทธรูปปางมารวิชัย (1) (เลขทะเบียน 16/271/2513, สำริด, ขนาดสูง พร้อมฐาน 27.5  เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 20 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบจากการขุดแต่งโบราณสถานวัดพระแก้ว กลางเมืองกำแพงเพชร) พระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานหนเกระดานเรียบ ลักษณะพระพักตร์แสดงเอกลักษณ์ทางศิลปกรรมของฝีมือช่างกำแพงเพชร โดยเฉพาะมีพระหัตถ์ขวาวางคว่ำบนพระชงฆ์ ปลายนิ้วพระหัตถ์ชี้ลงเบื้องล่างเพื่อเรียกพระแม่ธรณีมาเป็นพยานว่าในชาติก่อนๆ พระองค์ได้สั่งสมบำเพ็ญบารมีมาเป็นพยานว่า ในชาติก่อนๆ พระองค์ได้สั่งสมบำเพ็ญบารมีมาเพียงพอที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาตินี้ แม่พระธรณีจึงบีบมวยผมหลั่งน้ำออกมาไหลท่วมเหล่ามาร ดังภาพที่ 7
ภาพที่ 7 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 1.jpg

ภาพที่ 7 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 1 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร

(ที่มา : กรมศิลปากร, 2557)

         พระพุทธรูปปางมารวิชัย (2) (เลขทะเบียน 16/234/2534, สำริด, ขนาดสูง พร้อมฐาน 69 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 45 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : เดิมประดิษฐานอยู่ในห้องผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร รับมอบวันที่ 21 ตุลาคม 2534) พระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์นี้ ยังคงแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยหมวดใหญ่ แต่มีรายละเอียดบางประการที่อาจจัดได้ว่าเป็นฝีมือสกุลช่างกำแพงเพชร โดยเฉพาะได้แก่ พระนลาฏกว้าง พระหนุเสี้ยม ลักษณะพระพักตร์ค่อนข้างยาว รวมทั้งความนิยมในการทำวงแหวนคั่นกลางระหว่างพระอุษณีษะกับพระรัศมี นับว่าเป็นพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย สกุลช่างกำแพงเพชร ที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์มากที่สุด ดังภาพที่ 8
ภาพที่ 8 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 2.jpg

ภาพที่ 8 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 2 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร

(ที่มา : กรมศิลปากร, 2557)

         พระพุทธรูปปางมารวิชัย (3) (เลขทะเบียน 16/758/2518, สำริด, ขนาดสูงพร้อมฐาน 46.5 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 28.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 20-21 : พบที่วัดพระธาตุ กลางเมืองกำแพงเพชร)  พระพุทธรูปองค์นี้พระพักตร์รูปไข่ค่อนข้างยาว พระนลาฏกว้าง พระหนุเสี้ยม พระขนงโก่ง พระเนตรเรียวเล็กเหลือบต่ำ พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์อมยิ้ม ขมวดพระเกศาค่อนข้างเล็ก พระอุษณีษะเป็นต่อมนูนใหญ่ พระรัศมีรูปเปลวเพลิง พระกรรณยาว ระหว่างพระกรรณกับพระอังสามีตัวเชื่อมหรือยึดไว้ให้ติดกัน ซึ่งคงเกิดขึ้นจากเทคนิควิธีในการหล่อโลหะ พระอังสาใหญ่ บั้นพระองค์คอดเล็ก ครองจีวรห่มเฉียงเปิดพระอังสาด้านขวา ชายจีวรบนพระอังสาซ้ายยาวลงมาจรดพระนาภี ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนอาสนะฐานหน้ากระดาน ดังภาพที่ 9
ภาพที่ 9 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 3.jpg

ภาพที่ 9 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 3 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร

(ที่มา : กรมศิลปากร, 2557)

        พระพุทธรูปปางมารวิชัย (4) (เลขทะเบียน 16/341/2513, สำริด, ขนาดสูงพร้อมฐาน 25 เซนติเมตร, หน้าตักกว้าง 18.5 เซนติเมตร, ศิลปะสุโขทัย, พุทธศตวรรษที่ 21 : พบที่วัดพระธาตุ กลางเมืองกำแพงเพชร) พระพุทธรูปองค์นี้มีพุทธลักษณะ แสดงถึงอิทธิพลศิลปะล้านนนา กำหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 21 ซึ่งที่เมืองกำแพงเพชรได้พบพระพุทธรูปลักษณะนี้อยู่หลายองค์ เป็นต้นว่า หลวงพ่อเพชร วัดบาง พระพุทธรูปสำริดที่มีจารึกที่ฐาน วัดคูยาง รวมทั้งพระพุทธรูปปูนปั้นภายในมณฑปวัดสว่างอารมณ์ ดังภาพที่ 10
ภาพที่ 10 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 4.jpg

ภาพที่ 10 พระพุทธรูปปางมารวิชัย 4 ศิลปะสุโขทัยในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร

(ที่มา : กรมศิลปากร, 2557)

บทสรุป[แก้ไข]

         ศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร เป็นภูมิปัญญาช่างในการปรับเปลี่ยนแรงบันดาลทางศาสนาการสร้างพระพุทธรูปที่ทำด้วยโลหะของชาวไทยนับตั้งแต่สมัยโบราณ ได้ใช้วิธีการหล่อโลหะแบบสูญขี้ผึ้ง โลหะที่ใช้เป็นวัตถุดิบหลัก คือ ทองแดงและดีบุก หรือที่เรียกว่ากันว่า สำริด นอกจากนี้อาจมีการผสมโลหะและให้น้ำโลหะไหลเข้าไปในแม่พิมพ์อย่างทั่วถึง การหล่อโลหะดังกล่าวสามารถสรุปวิธีการทำได้ดังนี้ ขั้นตอนแรกจะต้องทำหุ่นแกนดินให้เป็นเค้าโครงของประติมากรรม ตอกหมุดโลหะที่เรียกว่า ทอย ฝังลงในหุ่นแกนดินโดยรอบเพื่อยึดให้มีความมั่นคง แล้วนำน้ำผึ้งมาพอกทับ ตกแต่งรายละเอียดต่างๆ ตามต้องการ โดยต้องปั้นขี้ผึ้งให้มีความหนาของเนื้อโลหะ จากนั้นจึงนำดินผสมมูลวัวมาทาบนผิวขี้ผึ้งแล้วจึงนำดินมาพอกทับอีกครั้ง ติดสายกระบวน สายชนวน และรูล้น สำหรับเป็นทางไหลของขี้ผึ้ง และโลหะหลอมเหลว จึงนำชิ้นงานนี้ไปเผาไฟให้ความร้อน จะทำให้ขี้ผึ้งหลอมละลาย เมื่อขับหรือไล่ขี้ผึ้งออกหมดแล้วจะทำให้เกิดช่องว่างให้นำโลหะที่หลอมละลายแล้วเทกลับลงไปในแบบพิมพ์เพื่อแทนที่ขี้ผึ้ง จากนั้นจึงทิ้งแบบพิมพ์ไว้ให้เย็นแล้วทุบดินชั้นนอกออก จะได้ชิ้นงานรูปประติมากรรมที่ทำไว้ตามรูปหุ่นขี้ผึ้งซึ่งการพบศิลปะแบบสุโขทัยในจังหวัดกำแพงเพชร พระพุทธรูปลีลา เศียรพระพุทธรูป พระพุทธรูปปางมารวิชัย ปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร