ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระบวนการทำพระเครื่องพิมพ์ดิน ของ แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 4: แถว 4:
 
== ความเป็นมาของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม ==
 
== ความเป็นมาของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม ==
 
           แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร หรือที่คนในท้องที่รู้จักกันในนาม “บ้านลุงโป้ย” มีนายสมหมาย พยอม หรือ ลุงโป้ย เป็นปราชญ์ชาวบ้าน มีความรู้ความสามารถเชี่ยวชาญในการทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผาที่มีชื่อเสียงของจังหวัดกำแพงเพชรได้ทำการเปิดบ้านพักของตนเองและใช้พื้นที่บริเวณบ้านเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้การทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผาด้วยวิธีการโบราณดั้งเดิม ซึ่งเป็นองค์ความรู้ท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนนครชุม แต่ปัจจุบัน นายสมหมาย พยอม ได้เสียชีวิตไปแล้วแต่ก็ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับภรรยาของตน คือนางดวงรัตน์ พยอม ในการดำเนินงานของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่อง พิมพ์ดินเผาในนครชุมสืบต่อไป ซึ่งแหล่งเรียนรู้นี้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญมากแห่งหนึ่งในการทำพระพิมพ์ดิน ซึ่งเป็นองค์ความรู้และทุนทางศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอดอยู่ในชุมชน และควรอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการสนับสนุนส่งเสริม และให้ความสำคัญกับแหล่งเรียนรู้นี้ เพื่อให้คนรุ่นหลังที่สนใจศึกษาเรียนรู้ (ดวงรัตน์ พยอม. สัมภาษณ์. 25 มิถุนายน 2561)  
 
           แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร หรือที่คนในท้องที่รู้จักกันในนาม “บ้านลุงโป้ย” มีนายสมหมาย พยอม หรือ ลุงโป้ย เป็นปราชญ์ชาวบ้าน มีความรู้ความสามารถเชี่ยวชาญในการทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผาที่มีชื่อเสียงของจังหวัดกำแพงเพชรได้ทำการเปิดบ้านพักของตนเองและใช้พื้นที่บริเวณบ้านเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้การทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผาด้วยวิธีการโบราณดั้งเดิม ซึ่งเป็นองค์ความรู้ท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนนครชุม แต่ปัจจุบัน นายสมหมาย พยอม ได้เสียชีวิตไปแล้วแต่ก็ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับภรรยาของตน คือนางดวงรัตน์ พยอม ในการดำเนินงานของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่อง พิมพ์ดินเผาในนครชุมสืบต่อไป ซึ่งแหล่งเรียนรู้นี้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญมากแห่งหนึ่งในการทำพระพิมพ์ดิน ซึ่งเป็นองค์ความรู้และทุนทางศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอดอยู่ในชุมชน และควรอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการสนับสนุนส่งเสริม และให้ความสำคัญกับแหล่งเรียนรู้นี้ เพื่อให้คนรุ่นหลังที่สนใจศึกษาเรียนรู้ (ดวงรัตน์ พยอม. สัมภาษณ์. 25 มิถุนายน 2561)  
           แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม เป็นแหล่งเรียนรู้ที่คอยถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผา ด้วยกรรมวิธีโบราณแบบดั่งเดิมที่สืบทอดต่อกันมาของช่างทำพระเครื่องในสมัยอดีต ให้กับผู้ที่สนใจ ทั้งคนในชุมชน นักท่องเที่ยว ทั้งไทยและชาวต่างชาติ ปัจจุบันการจะหาชมพระเครื่องของเมืองนครชุมเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากเสียหน่อย แต่หากว่ามาที่ แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุมแห่งนี้ก็จะได้เห็นพระเครื่องรวมถึงกระบวนการทำพระเครื่องจากตัวเจ้าของแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง แหล่งเรียนรู้การทำ พระเครื่องนครชุมแห่งนี้ เริ่มต้นมาจาก นาย สมหมาย พยอม ผู้มีถิ่นฐานอยู่ในนครชุมและได้มีโอกาสคลุกคลีอยู่กับช่างทำพระเครื่องหรือผู้ที่อยู่ในวงการพระเครื่องบ่อยครั้งด้วยความที่มีใจรัก จึงศึกษาและจดจำวิธีการทำพระเครื่องจากช่างทำพระเครื่องในกำแพงเพชร แล้วนำมาทดลองทำพระซุ้มกอได้เป็นองค์แรก ในปี พ.ศ.2551 ก็ได้จัดตั้งแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุมขึ้น ในพื้นที่บริเวณบ้านพักของตนเองเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจในเรื่องวิธีการทำพระเครื่อง ซึ่งภายในแหล่งเรียนรู้ก็จะมีสมาชิกที่คอยสาธิตกระบวนการทำพระเครื่องในขั้นตอนต่างๆ ให้ได้ชม ได้ฝึกปฏิบัติการการทำพระเครื่องด้วยมือตนเอง และยังสามารถนำพระเครื่องที่ตนได้ทำเองนั้นกลับไปได้อีกด้วย
+
           แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม เป็นแหล่งเรียนรู้ที่คอยถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผา ด้วยกรรมวิธีโบราณแบบดั่งเดิมที่สืบทอดต่อกันมาของช่างทำพระเครื่องในสมัยอดีต ให้กับผู้ที่สนใจ ทั้งคนในชุมชน นักท่องเที่ยว ทั้งไทยและชาวต่างชาติ ปัจจุบันการจะหาชมพระเครื่องของเมืองนครชุมเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากเสียหน่อย แต่หากว่ามาที่ แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุมแห่งนี้ก็จะได้เห็นพระเครื่องรวมถึงกระบวนการทำพระเครื่องจากตัวเจ้าของแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง แหล่งเรียนรู้การทำ พระเครื่องนครชุมแห่งนี้ เริ่มต้นมาจาก นาย สมหมาย พยอม ผู้มีถิ่นฐานอยู่ในนครชุมและได้มีโอกาสคลุกคลีอยู่กับช่างทำพระเครื่องหรือผู้ที่อยู่ในวงการพระเครื่องบ่อยครั้งด้วยความที่มีใจรัก จึงศึกษาและจดจำวิธีการทำพระเครื่องจากช่างทำพระเครื่องในกำแพงเพชร แล้วนำมาทดลองทำพระซุ้มกอได้เป็นองค์แรก ในปี พ.ศ.2551 ก็ได้จัดตั้งแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุมขึ้น ในพื้นที่บริเวณบ้านพักของตนเองเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจในเรื่องวิธีการทำพระเครื่อง ซึ่งภายในแหล่งเรียนรู้ก็จะมีสมาชิกที่คอยสาธิตกระบวนการทำพระเครื่องในขั้นตอนต่างๆ ให้ได้ชม ได้ฝึกปฏิบัติการการทำพระเครื่องด้วยมือตนเอง และยังสามารถนำพระเครื่องที่ตนได้ทำเองนั้นกลับไปได้อีกด้วย
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม.jpg|500px|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม.jpg|500px|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม''' </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : ธนกิจ โคกทอง, 2561) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : ธนกิจ โคกทอง, 2561) </p>
 +
== ขั้นตอนการพิมพ์พระเครื่องของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม ==
 +
          สำหรับการทำพระเครื่อง หรือพระพิมพ์ดินนั้น เริ่มจากการนำดินที่ได้มาทุบ แล้วหมักไว้ 1 คืน จากนั้นก็นำดินมานวดให้นิ่มพอดี ไม่แข็งหรือเหลวเกินไป ถัดมา ให้นำแป้งมาโดยที่แม่พิมพ์พระเพื่อที่เวลากดดินลง กับแม่พิมพ์แล้วดินจะได้ไม่ติดกับแม่พิมพ์ และสามารถนำดินออกมาได้ง่ายโดยแม่พิมพ์พระที่ใช้ก็ได้มาจากการจำลองจากพระเครื่องนครชุมของแท้ ที่เป็นของเก่าของแก่จึงทำให้พระพิมพ์ที่ทำออกมานั้นมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับของเก่ามากทีเดียว เมื่อกดดินลงกับแม่พิมพ์จนดินขึ้นเป็นรูปแล้ว ก็นำออกมาใส่ถาดพึ่งลมไว้ในร่มประมาณจนแห้ง และนำออกตากแดดให้แห้งสนิทต่อด้วยการนำพระไปเผาที่เตาประมาณ ๒๔ ชั่วโมง ซึ่งจะต้องคอยเติมถ่าน และควบคุมไม่ให้ไฟแรงเกินไป ครบกำหนดเวลาแล้วก็นำพระออกจากเตา นำมาวางเรียงเพื่อใส่รา ใส่คราบพระ สุดท้ายให้นำใบตองแห้งของกล้วยน้ำว้ามาขัด ก็จะได้พระเครื่องนครชุมที่ดูคล้ายของเก่าแก่ พระเครื่องหรือพระพิมพ์ ที่ได้มานั้น ทำให้คนรุ่นปัจจุบันได้ศึกษาตั้งแต่ความเป็นมาตั้งแต่สมัยก่อน จนมาถึงกระบวนการทำพระในสมัยนี้ ที่ยังคงความงามตามภูมิปัญญาดั้งเดิมของชนชาวไทย และยังเป็นการสืบสานพุทธศิลป์ที่สวยงามนี้ไว้ต่อไป โดยในปัจจุบันมีคุณดวงรัตน์ พะยอม เป็นผู้สอนและถ่ายทอดกระบวนการทำพระเครื่องพิมพ์ดินให้กับที่แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 2 คุณดวงรัตน์ พะยอม.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2 คุณดวงรัตน์ พะยอม ผู้ดูแลและถ่ายทอดองค์ความรู้การทำพระเครื่องในแหล่งเรียนรู้''' </p>
 +
<p align = "center"> (ที่มา : ธนกิจ โคกทอง, 2562) </p>
 +
          แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม จังหวัดกำแพงเพชร ได้มีขั้นตอนการพิมพ์พระได้แก่การทำพระพิมพ์เล็ก และพิมพ์ใหญ่ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ (ดวงรัตน์ พยอม. สัมภาษณ์. 25 มิถุนายน 2561) ในกระบวนการทำพระเครื่องนั้นจะแบ่งขึ้นตอนการทำเอาไว้อยู่ 5 กระบวนการหลักๆ ดังนี้
 +
              1. กระบวนการเตรียมดิน
 +
      2. กระบวนการพิมพ์พระ
 +
      3. กระบวนการผึ่งและตากพระ
 +
      4. กระบวนการเผา
 +
      5. กระบวนการใส่รายละเอียดพระ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:52, 30 ธันวาคม 2563

บทนำ

         พระเครื่องเป็นหนึ่งในพุทธศิลป์ที่มีคุณค่าทางจิตใจต่อผู้ที่บูชาและยังมีคุณค่าในเชิงศิลปะ และสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและวิถีชีวิตของคนไทยในแต่ละยุคสมัยพระเครื่องหลายองค์สามารถบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ได้อีกด้วย และจังหวัดกำแพงเพชรก็เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในฐานะของการเป็นเมืองมรดกโลกที่มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานร่วมกับจังหวัดสุโขทัย และศรีสัชนาลัย จังหวัดกำแพงเพชรขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองกรุพระเครื่องที่มีความสำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย ดังคำขวัญประจำจังหวัดที่ว่า “กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ เลื่องลือมรดกโลก” เนื่องด้วยมาจากการที่จังหวัดกำแพงเพชรมีพระเครื่องที่สำคัญและมีพระเครื่องที่เป็นหนึ่งในห้าของ “พระเครื่องเบญจภาคี” นั้นคือ “พระซุ้มกอ”  โดยเฉพาะพระซุ้มกอจากกรุทุ่งเศรษฐีที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ต้องการสูงของคนในวงการพระเครื่อง จัดว่าเป็นพระเครื่องที่มีมูลค่ามาก มีความต้องการนิยมบูชาเป็นอันดับสองรองจาก พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่ เลยก็ว่าได้

คำสำคัญ : แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม, พระเครื่อง, นครชุม

ความเป็นมาของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม

         แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร หรือที่คนในท้องที่รู้จักกันในนาม “บ้านลุงโป้ย” มีนายสมหมาย พยอม หรือ ลุงโป้ย เป็นปราชญ์ชาวบ้าน มีความรู้ความสามารถเชี่ยวชาญในการทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผาที่มีชื่อเสียงของจังหวัดกำแพงเพชรได้ทำการเปิดบ้านพักของตนเองและใช้พื้นที่บริเวณบ้านเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้การทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผาด้วยวิธีการโบราณดั้งเดิม ซึ่งเป็นองค์ความรู้ท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนนครชุม แต่ปัจจุบัน นายสมหมาย พยอม ได้เสียชีวิตไปแล้วแต่ก็ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับภรรยาของตน คือนางดวงรัตน์ พยอม ในการดำเนินงานของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่อง พิมพ์ดินเผาในนครชุมสืบต่อไป ซึ่งแหล่งเรียนรู้นี้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญมากแห่งหนึ่งในการทำพระพิมพ์ดิน ซึ่งเป็นองค์ความรู้และทุนทางศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอดอยู่ในชุมชน และควรอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการสนับสนุนส่งเสริม และให้ความสำคัญกับแหล่งเรียนรู้นี้ เพื่อให้คนรุ่นหลังที่สนใจศึกษาเรียนรู้ (ดวงรัตน์ พยอม. สัมภาษณ์. 25 มิถุนายน 2561) 
         แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม เป็นแหล่งเรียนรู้ที่คอยถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการทำพระเครื่องพิมพ์ดินเผา ด้วยกรรมวิธีโบราณแบบดั่งเดิมที่สืบทอดต่อกันมาของช่างทำพระเครื่องในสมัยอดีต ให้กับผู้ที่สนใจ ทั้งคนในชุมชน นักท่องเที่ยว ทั้งไทยและชาวต่างชาติ ปัจจุบันการจะหาชมพระเครื่องของเมืองนครชุมเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากเสียหน่อย แต่หากว่ามาที่ แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุมแห่งนี้ก็จะได้เห็นพระเครื่องรวมถึงกระบวนการทำพระเครื่องจากตัวเจ้าของแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง แหล่งเรียนรู้การทำ พระเครื่องนครชุมแห่งนี้ เริ่มต้นมาจาก นาย สมหมาย พยอม ผู้มีถิ่นฐานอยู่ในนครชุมและได้มีโอกาสคลุกคลีอยู่กับช่างทำพระเครื่องหรือผู้ที่อยู่ในวงการพระเครื่องบ่อยครั้งด้วยความที่มีใจรัก จึงศึกษาและจดจำวิธีการทำพระเครื่องจากช่างทำพระเครื่องในกำแพงเพชร แล้วนำมาทดลองทำพระซุ้มกอได้เป็นองค์แรก ในปี พ.ศ.2551 ก็ได้จัดตั้งแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุมขึ้น ในพื้นที่บริเวณบ้านพักของตนเองเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจในเรื่องวิธีการทำพระเครื่อง ซึ่งภายในแหล่งเรียนรู้ก็จะมีสมาชิกที่คอยสาธิตกระบวนการทำพระเครื่องในขั้นตอนต่างๆ ให้ได้ชม ได้ฝึกปฏิบัติการการทำพระเครื่องด้วยมือตนเอง และยังสามารถนำพระเครื่องที่ตนได้ทำเองนั้นกลับไปได้อีกด้วย
ภาพที่ 1 แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม.jpg

ภาพที่ 1 แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม

(ที่มา : ธนกิจ โคกทอง, 2561)

ขั้นตอนการพิมพ์พระเครื่องของแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม

         สำหรับการทำพระเครื่อง หรือพระพิมพ์ดินนั้น เริ่มจากการนำดินที่ได้มาทุบ แล้วหมักไว้ 1 คืน จากนั้นก็นำดินมานวดให้นิ่มพอดี ไม่แข็งหรือเหลวเกินไป ถัดมา ให้นำแป้งมาโดยที่แม่พิมพ์พระเพื่อที่เวลากดดินลง กับแม่พิมพ์แล้วดินจะได้ไม่ติดกับแม่พิมพ์ และสามารถนำดินออกมาได้ง่ายโดยแม่พิมพ์พระที่ใช้ก็ได้มาจากการจำลองจากพระเครื่องนครชุมของแท้ ที่เป็นของเก่าของแก่จึงทำให้พระพิมพ์ที่ทำออกมานั้นมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับของเก่ามากทีเดียว เมื่อกดดินลงกับแม่พิมพ์จนดินขึ้นเป็นรูปแล้ว ก็นำออกมาใส่ถาดพึ่งลมไว้ในร่มประมาณจนแห้ง และนำออกตากแดดให้แห้งสนิทต่อด้วยการนำพระไปเผาที่เตาประมาณ ๒๔ ชั่วโมง ซึ่งจะต้องคอยเติมถ่าน และควบคุมไม่ให้ไฟแรงเกินไป ครบกำหนดเวลาแล้วก็นำพระออกจากเตา นำมาวางเรียงเพื่อใส่รา ใส่คราบพระ สุดท้ายให้นำใบตองแห้งของกล้วยน้ำว้ามาขัด ก็จะได้พระเครื่องนครชุมที่ดูคล้ายของเก่าแก่ พระเครื่องหรือพระพิมพ์ ที่ได้มานั้น ทำให้คนรุ่นปัจจุบันได้ศึกษาตั้งแต่ความเป็นมาตั้งแต่สมัยก่อน จนมาถึงกระบวนการทำพระในสมัยนี้ ที่ยังคงความงามตามภูมิปัญญาดั้งเดิมของชนชาวไทย และยังเป็นการสืบสานพุทธศิลป์ที่สวยงามนี้ไว้ต่อไป โดยในปัจจุบันมีคุณดวงรัตน์ พะยอม เป็นผู้สอนและถ่ายทอดกระบวนการทำพระเครื่องพิมพ์ดินให้กับที่แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม
ภาพที่ 2 คุณดวงรัตน์ พะยอม.jpg

ภาพที่ 2 คุณดวงรัตน์ พะยอม ผู้ดูแลและถ่ายทอดองค์ความรู้การทำพระเครื่องในแหล่งเรียนรู้

(ที่มา : ธนกิจ โคกทอง, 2562)

         แหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม จังหวัดกำแพงเพชร ได้มีขั้นตอนการพิมพ์พระได้แก่การทำพระพิมพ์เล็ก และพิมพ์ใหญ่ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ (ดวงรัตน์ พยอม. สัมภาษณ์. 25 มิถุนายน 2561) ในกระบวนการทำพระเครื่องนั้นจะแบ่งขึ้นตอนการทำเอาไว้อยู่ 5 กระบวนการหลักๆ ดังนี้
             1. กระบวนการเตรียมดิน

2. กระบวนการพิมพ์พระ 3. กระบวนการผึ่งและตากพระ 4. กระบวนการเผา 5. กระบวนการใส่รายละเอียดพระ