ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "=='''บทนำ'''== บะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชร เป็นร้านก๋...")
 
(บทสรุป)
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 2: แถว 2:
 
           บะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชร เป็นร้านก๋วยเตี๋ยวชื่อดังในจังหวัดกำแพงเพชร สืบทอดสูตรก๋วยเตี๋ยวกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ยึดอาชีพขายก๋วยเตี๋ยวมาตลอด สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สืบทอดกันมานับ 70 ปี ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชรจึงเป็นอีกหนึ่งร้านดังและอยู่กับจังหวัดกำแพงเพชรมานาน บทความนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ 1) ประวัติความเป็นมาบะหมี่เซี้ยงชากังราว 2) เครื่องปรุง ขั้นตอนการปรุงและการจัดเสิร์ฟ  
 
           บะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชร เป็นร้านก๋วยเตี๋ยวชื่อดังในจังหวัดกำแพงเพชร สืบทอดสูตรก๋วยเตี๋ยวกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ยึดอาชีพขายก๋วยเตี๋ยวมาตลอด สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สืบทอดกันมานับ 70 ปี ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชรจึงเป็นอีกหนึ่งร้านดังและอยู่กับจังหวัดกำแพงเพชรมานาน บทความนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ 1) ประวัติความเป็นมาบะหมี่เซี้ยงชากังราว 2) เครื่องปรุง ขั้นตอนการปรุงและการจัดเสิร์ฟ  
 
'''คำสำคัญ:''' บะหมี่เซี้ยงชากังราว, บะหมี่กำแพงเพชร
 
'''คำสำคัญ:''' บะหมี่เซี้ยงชากังราว, บะหมี่กำแพงเพชร
 +
=='''ประวัติความเป็นมาบะหมี่เซี้ยงชากังราว'''==
 +
          ก๋วยเตี๋ยวเป็นอาหารที่ได้รับความนิยม บริโภคได้ตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ สามารถเลือกใช้ของดีมีประโยชน์ทั้งเครื่องเคียงรูปแบบหลากหลาย อาทิ ผัก เครื่องเทศ สมุนไพร เนื้อสัตว์ จะมาในรูปแบบต้ม ตุ๋น หรือของสดๆ ลวกให้สุกพอดี ก็ได้รับความอร่อยแตกต่างกันไปตามความชอบ ได้คุณค่าทางสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ แถมด้วยน้ำซุปร้อน ๆ เคี่ยวด้วยน้ำต้มกระดูกกับสมุนไพรหลากหลายชนิด จนได้รสที่หอมหวานกลมกล่อม ซดคล่องคอ จากนั้นก็เลือกปรุงรสได้ตามใจ จะให้รสจัดหรือสําหรับผู้ที่รักสุขภาพ เลือกปรุงรสชาติอ่อน ๆ รับประทานแล้วสบายท้อง ดีต่อสุขภาพไม่น้อย ก๋วยเตี๋ยวจึงเป็นเมนูที่เหมาะสําหรับคนทุกเพศทุกวัยเป็นอย่างดี
 +
          ก๋วยเตี๋ยวมากับคนจีนที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย แต่จะเริ่มมีครั้งแรกสมัยไหนนั้น เป็นเรื่องยากที่จะบอกชัด คนจีนเริ่มอพยพเข้ามาจริงจังตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางถึงสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่จํานวนผู้อพยพจะมากเป็นพิเศษในช่วงสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ซึ่ง สัมพันธ์กับการเติบโตของย่านคนจีนที่สําเพ็ง และเยาวราชในสมัยนี้ก็มีรายงานว่ามีเรือเจ็กขาย ก๋วยเตี๋ยวให้เห็นแล้วแม้ก๋วยเตี๋ยวจะมากับคนจีน แต่เมื่อกาลเวลาหมุนผ่านไปคนไทยได้หันมา รับประทานก๋วยเตี๋ยวและทําก๋วยเตี๋ยวขายมากขึ้นเรื่อย ๆ ก๋วยเตี๋ยวรสชาติไทยจึงพัฒนาขึ้น ประจักษ์พยานที่ดีที่สุด คือ ผัดไทย ซึ่งถือเป็นก๋วยเตี๋ยวผัดแบบไทย (ศิริลักษณ์ รอตยันต์, 2550, หน้า 91)
 +
          สมัยสุโขทัย มีหลักฐานว่ามีการค้าขายกับประเทศจีน การเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างพระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้ กับพ่อขุนรามคำแหง อิทธิพลของจีนเข้าสู่ทุกประเทศในแหลมทอง ก๋วยเตี๋ยวอาจเข้ามาในสมัยนั้น แต่ไม่มีหลักฐานที่จะสืบคนได้ และอาหารหลักของไทยคือ ข้าว ดังนั้นก๋วยเตี๋ยวน่าจะเป็นอาหารยุคหลังสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งคนจีนที่เข้ามาทำมาหากินในไทย ได้ทำก๋วยเตี๋ยวขายด้วยการหาบ หรือพายเรือขายก่อนจะมาตั้งร้าน (มาลี เพชรพิพัฒน์, 2552)
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 รูปบะหมี่แห้งเซี้ยงชากังราว.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1''' รูปบะหมี่แห้งเซี้ยงชากังราว (มติชนออนไลน์, 2562)</p>
 +
          บะหมี่เซี้ยงชากังราวจังหวัดกำแพงเพชรได้พัฒนามาจากสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เพราะว่ามีการสนับสนุนให้คนไทยกินก๋วยเตี๋ยวโดยร้านที่มีชื่อเสียงในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 มีร้านที่มีชื่อเสียง คือ ร้านเจ็กเท่ง ร้านเจ็กฮ้อ ร้านเจ็กเซี้ยง จากคำบอกเล่าของ อาจารย์สุมาลี หรั่งประเสริฐ บุตรนายตั้งหยงเซี้ยง (ร้านเจ๊กเซี้ยง) มาจากเมืองซัวเถาตั้งแต่ปี 2475 ได้ยึดอาชีพขายก๋วยเตี๋ยวมาตลอด สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 กิจการขายก๋วยเตี๋ยวร่ำรวยมากเพราะขายให้ทหารญี่ปุ่นที่เข้ามาในกำแพงเพชร ต่อมาบรรดาลูก ๆ ได้สืบทอดขายก๋วยเตี๋ยวบะหมี่ถึง 4 ร้านคือ ร้านบะหมี่ชากังราว, ร้านบะหมี่เซี้ยง, ร้านเซี้ยงบะหมี่, ร้านอู๊ด รสเด็ด ซึ่งทั้ง 4 ร้านได้ทำกิจการขายก๋วยเตี๋ยวสืบกันมานับ 70 ปี (มาลี เพชรพิพัฒน์, 2552)
 +
          จากบทสัมภาษณ์ มติชนออนไลน์ เรื่องถวิลหา ‘บะหมี่ชากังราว’ บะหมี่ชั้นหนึ่งคู่เมืองกำแพง ได้กล่าวไว้ว่า ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราวมีการบริหารกิจการร่วมกันระหว่าง มณฑา รักษ์ชน และ อำนาจ รักษ์ชน ซึ่งเป็นต้นตำรับบะหมี่ชากังราวมาจาก นายเซี๊ยง ที่อพยพมาจากเมืองจีน ทำบะหมี่เข็นรถขาย ถือเป็นเจ้าแรก ๆ ในจังหวัดกำแพงเพชร ต่อมาพ่อของสามี คือ นายคิดคะเน รักษ์ชน ซึ่งเป็นลูกชายคนโตของนายเซี๊ยงได้แตกออก มาเปิดร้านของตัวเอง ตั้งชื่อว่าบะหมี่ชากังราวที่ลานโพธิ์ตั้งแต่ปี 2503 ขายตั้งแต่ชามละ 2 บาท จนถึงปัจจุบันชามละ 30 บาท ด้วยความอร่อยและพิถีพิถัน ทำให้ลูกค้าพูดกันปากต่อปากจนเป็นที่รู้จักโด่งดัง
 +
          สูตรลับการทำบะหมี่ที่ตกทอดกันมาถึง 3 ชั่วอายุคน ไม่ทำให้รสชาติความอร่อยตกหล่นไปกับกาลเวลาแม้แต่น้อย ด้วยฝีมือการทำบะหมี่ไข่เส้นสด และการปรุงรสชาติที่คงเส้นคงวา ทำให้ร้าน “บะหมี่ชากังราว” (เจ้าเก่า) ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ได้รับความนิยมจากคนเมืองกำแพงไม่เสื่อมคลาย
 +
          บะหมี่ชากังราว เดิมเรียกว่าบะหมี่เซี้ยง เล่ากันว่านายเซี้ยง รักชนม์ (แซ่แต้) เป็นผู้ริเริ่มปรุงสูตรขึ้น นายเซี้ยงเป็นชาวจีนที่อพยพมาอาศัยอยู่ในกำแพงเพชรโดยยึดอาชีพทำก๋วยเตี๋ยวขาย ด้วยการปรุงน้ำก๋วยเตี๋ยวได้อร่อยเข้มข้น ทั้งเส้นบะหมี่ก็ทำเอง ต่อมาจึงแพร่หลายกลายเป็นที่นิยมของชาวกำแพงเพชร เส้นบะหมี่นั้น  ใช้แป้งสาลีนวดกับไข่แดง น้ำเปล่า และเชื้อทำบะหมี่ จนเหนียวนุ่มเข้ากันดี หลังจากนั้นก็นำแป้งมาคลี่เป็นแผ่นบาง ๆ แล้วหั่นเป็นเส้น ร้านไหนที่อร่อย ๆ จะทำเส้นเองวันต่อวัน เส้นจะสดใหม่ เอกลักษณ์ของเส้นทำเองแบบนี้คือค่อนข้างแข็งกว่าเส้นโรงงาน จึงเคี้ยวเพลินกว่า ยิ่งสั่งแบบแห้งมายิ่งอร่อย ส่วนน้ำก๋วยเตี๋ยวเป็นน้ำต้มกระดูกหมูที่เคี่ยวจนได้รสหวาน แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาลปี๊บ ส่วนเครื่องที่ใส่ในก๋วยเตี๋ยวมีหลายอย่างได้แก่ หมูสับ หมูแดง หนังหมู ตับหมูต้ม หอมเจียว กระเทียมเจียว พริกป่น ถั่วงอก และถั่วฝักยาว ที่ต่างกับก๋วยเตี๋ยวสุโขทัย ชัด ๆ คงจะเป็นการไม่ใส่ถั่วลิสงคั่ว ทั้ง 4 ร้านเป็นสูตรเดียวกันหมด เพราะทุกร้านเป็นพี่น้องกัน ต่างกันแค่ร้านนึงมีหมูสะเต๊ะ แต่อีกร้านนึงไม่มีแต่มีติ่มซำ (อำนาจ รักษ์ชน, การสัมภาษณ์, 15 ตุลาคม 2564) ผู้เขียนได้มีการสำรวจพื้นที่ ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว และได้สัมภาษณ์ เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2564 แล้วสรุปเมนูและภาพร้านของบะหมี่เซี้ยงชากังราว ดังภาพที่ 2-6
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 2 สถานที่ตั้งร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2''' สถานที่ตั้งร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว</p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 3 ป้ายหน้าร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3''' ป้ายหน้าร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว</p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 4 หมูสะเต๊ะ อาหารเรียกน้ำย่อยของทางร้าน.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 4''' หมูสะเต๊ะ อาหารเรียกน้ำย่อยของทางร้าน</p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 บะหมี่แห้ง ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5''' บะหมี่แห้ง ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว</p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 6 บะหมี่ต้มยำ ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 6''' บะหมี่ต้มยำ ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว</p>
 +
          จากการสัมภาษณ์อำนาจ รักศ์ชน เจ้าของร้าน เครื่องปรุงของทางร้านจะมีเยอะแยะมากมายแต่บางอย่างไม่สามารถบอกได้ เครื่องปรุงหลัก ๆ คือดังนี้
 +
 +
=='''เครื่องปรุง'''==
 +
          บะหมี่ เกี๊ยว หมูสับ หมูแดง ตั้งฉ่าย ผักชีฝรั่งหั่นฝอย แผ่นเกี๊ยว เนื้อหมูสับบด (ปรุงรสด้วยสามเกลอ พริกไทยป่น และซอสปรุงรส) ผักกวางตุ้งกระเทียมเจียว ตั้งฉ่าย ถั่วฝักยาวลวก
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 เส้นบะหมี่เซี้ยง.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 7''' เส้นบะหมี่เซี้ยง (มติชนออนไลน์, 2562) </p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 2 หมูสับ.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 8''' หมูสับ (มติชนออนไลน์, 2562) </p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 3 หมูแดง.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 9''' หมูแดง (มติชนออนไลน์, 2562) </p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 4 ผักชีฝรั่ง.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 10''' ผักชีฝรั่ง (มติชนออนไลน์, 2562) </p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 ถั่วฝักยาวลวก.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 11''' ถั่วฝักยาวลวก (มติชนออนไลน์, 2562) </p>
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 6 ตั้งฉ่าย.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 12''' ตั้งฉ่าย (มติชนออนไลน์, 2562) </p>
 +
          จากการสัมภาษณ์อำนาจ รักษ์ชน ถึงขึ้นตอนการปรุงหรือวิธีการทำของบะหมี่เซี้ยงชากังราว ขั้นตอนตอนปรุงไม่ได้ซับซ้อนมากแต่จะมีสูตรของทางร้านที่สือทอดกันมารุ่นสู่รุ่น มีดังนี้
 +
=='''ขั้นตอนการปรุง'''==
 +
          1. หมักหมูแดง : นำสันนอกหมูมาทำการหมักด้วยเกลือ พริกไทย น้ำตาลทราย ซอสหอยนางรม ซอสพริก และสีผสมอาหารเล็กน้อยค่ะ คลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 1-2 ชั่วโมง ทำน้ำซุปบะหมี่เกี๊ยว
 +
          2. ตั้งน้ำให้เดือด : จากนั้นใส่รากผักชีและกระดูกเล้งลงไป ตามด้วยกระเทียม หอมใหญ่ แล้วต้มจนเดือด เคี่ยวไฟอ่อน ๆ ไปเรื่อย ๆ
 +
          3. ห่อเกี๊ยว นำแผ่นเกี๊ยวมาห่อหมูบดปรุงรสที่เตรียมไว้ 
 +
          4. ต้มและอบ หมูแดง นำหมูที่หมักได้ที่แล้ว ต้มลงในน้ำเดือดใส่น้ำให้ท่วมชิ้นหมูนะคะ ปิดฝาทิ้งไว้  จนหมูสุกดี หลังจากนั้นนำขึ้น แล้วไปอบต่อด้วยอุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที เมื่อได้หมูแดงแล้วนำมาหั่นเฉียง ๆ ให้ได้ชิ้นที่พอคำ
 +
          5. ลวกส่วนผสม ตั้งน้ำโดยใช้ไฟกลาง นำผักกวางตุ้ง เกี๊ยว เส้นบะหมี่ ลงลวกได้เลยค่ะ ใช้เวลาประมาณ 10-30 วินาที
 +
=='''จัดเสิร์ฟ'''==
 +
          นำผักกวางตุ้ง เกี๊ยว และเส้นบะหมี่จัดใส่ชาม วางด้วยหมูแดงหั่นชิ้น โรยต้นหอมผักชี กระเทียมเจียว แล้วเติมน้ำซุป นำบะหมี่เกี๊ยวที่ได้ตกแต่งด้วยผักชี และกระเทียมเจียว ปรุงรสชาติตามชอบ ก็จัดขึ้นเสิร์ฟได้
 +
=='''บทสรุป'''==
 +
          จากการศึกษาบะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชร วัตถุประสงค์ที่ 1) ประวัติความเป็นมาบะหมี่เซี้ยงชากังราว พบว่า มีมาตั้งแต่สมัยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และคนที่คิดค้นและปรุงสูตรคือ นายเซี้ยง รักษ์ชน (แซ่แต้) เป็นผู้เริ่มปรุงสูตร นายเซี้ยงเป็นคนจีนที่เข้ามาอยู่ในจังหวัดกำแพงเพชร และได้ยึดอาชีพทำก๋วยเตี๋ยวมาหลายปี และกิจการก๋วยเตี๋ยวก็ร่ำรวยมากขึ้นเพราะขายให้กับทหารญี่ปุ่นที่เข้ามาในกำแพงเพชรต่อมาก็ได้สืบทอดกันมากหลายต่อหลายรุ่น จึงทำให้คนสมัยก่อนและสมัยนี่รู้จักและเรียกติดปากกันว่า บะหมี่เซี้ยงวัตถุประสงค์ที่ 2) ขั้นตอนการปรุงและการจัดเสิร์ฟ พบว่า เป็นขั้นตอนที่สำคัญมีความพิถีพิถันกันออกไปกัน แต่ละร้าน ดูภายนอกอาจจะเหมือนธรรมดาแต่ถ้าเรามาศึกษาลงไปในแต่ละขั้นตอนทางร้านจะใส่ใจทุกรายละเอียด เพราะทำทุกอย่างตามสูตรที่สืบทอดกันมาหลายต่อหลายรุ่นเพื่อจะให้รสชาติคงเดิม การใช้เครื่องปรุงมีมากมายหลายชนิดเช่น บะหมี่ เกี๊ยว หมูสับ และยังมีผักกวางตุ้งกระเทียมเจียว ตั้งฉ่าย ถั่วฝักยาวลวก และยังมีอีกหลายขั้นตอน คือ ขั้นตอนการปรุงมีดังนี้ การหมักหมูแดง นำสันนอกหมูเอาไปหมักพอหมักเสร็จแล้วทิ้งไว้ 1-2 ชั่วโมง หลังจากนั้น นำไปต้มในน้ำที่เดือดและต่อไปให้นำไปอบด้วยอุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที เมื่อเสร็จแล้วนำหมูแดงมาหั่นเป็นชิ้นเฉียง ๆ การทำน้ำซุปต้องใช้เวลาหน่อยถ้าไฟแรงมากรสชาติน้ำซุปก็จะเปลี่ยนต้องไม่รีบ ขั้นตอนการทำน้ำซุป ตั้งน้ำให้เดือด หลังจากนั้นใส่รากผักชีและกระดูกเล้งลงไปในหม้อ ตามด้วยกระเทียม หอมใหญ่ แล้วต้มจนเดือด เคี่ยวไฟอ่อน ๆ ขั้นตอนห่อเกี๊ยว นำแผ่นเกี๊ยวออกมาแล้วนำมาห่อหมูบดที่ปรุงรสจากทางร้าน การลวกส่วนผสม โดยต้องตั้งน้ำให้ใช้ไฟกลาง นำผักกวางตุ้ง เกี๊ยว เส้นบะหมี่เอาลงเข้าไปลวกพร้อมกัน ใช้เวลาประมาณ 10-30 วินาที หลังจากนั้นนำของที่ลวกเสร็จแล้ว ลงใส่ในชาม และตกแต่งด้วยหมูแดงที่หั่นเป็นชิ้นและโรยด้วยต้นหอมผักชีและกระเทียมเจียมแล้วเติบน้ำซุปลงในชาม หลังจากนั้นก็นำไปเสิร์ฟและปรุงรสได้ตามชอบรับรองอร่อย
 +
 +
=='''บรรณานุกรม'''==
 +
มติชน. 2562. ''ถวิลหา ‘บะหมี่ชากังราว’ บะหมี่ชั้นหนึ่งคู่เมืองกำแพง.'' เข้าถึงได้จาก  https://www.matichon.co.th/lifestyle/food-travel/news_1389513
 +
มาลี เพชรพิพัฒน์. (2552). ''บะหมีเซี้ยงชากังราว.'' เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/233110
 +
ศิริลักษณ์ รอตยันต์. 2550. ''อาหารเส้นนานาชาติ.'' กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แสงแดด.

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:26, 3 กุมภาพันธ์ 2565

บทนำ[แก้ไข]

         บะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชร เป็นร้านก๋วยเตี๋ยวชื่อดังในจังหวัดกำแพงเพชร สืบทอดสูตรก๋วยเตี๋ยวกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ยึดอาชีพขายก๋วยเตี๋ยวมาตลอด สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สืบทอดกันมานับ 70 ปี ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชรจึงเป็นอีกหนึ่งร้านดังและอยู่กับจังหวัดกำแพงเพชรมานาน บทความนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ 1) ประวัติความเป็นมาบะหมี่เซี้ยงชากังราว 2) เครื่องปรุง ขั้นตอนการปรุงและการจัดเสิร์ฟ 

คำสำคัญ: บะหมี่เซี้ยงชากังราว, บะหมี่กำแพงเพชร

ประวัติความเป็นมาบะหมี่เซี้ยงชากังราว[แก้ไข]

         ก๋วยเตี๋ยวเป็นอาหารที่ได้รับความนิยม บริโภคได้ตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ สามารถเลือกใช้ของดีมีประโยชน์ทั้งเครื่องเคียงรูปแบบหลากหลาย อาทิ ผัก เครื่องเทศ สมุนไพร เนื้อสัตว์ จะมาในรูปแบบต้ม ตุ๋น หรือของสดๆ ลวกให้สุกพอดี ก็ได้รับความอร่อยแตกต่างกันไปตามความชอบ ได้คุณค่าทางสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ แถมด้วยน้ำซุปร้อน ๆ เคี่ยวด้วยน้ำต้มกระดูกกับสมุนไพรหลากหลายชนิด จนได้รสที่หอมหวานกลมกล่อม ซดคล่องคอ จากนั้นก็เลือกปรุงรสได้ตามใจ จะให้รสจัดหรือสําหรับผู้ที่รักสุขภาพ เลือกปรุงรสชาติอ่อน ๆ รับประทานแล้วสบายท้อง ดีต่อสุขภาพไม่น้อย ก๋วยเตี๋ยวจึงเป็นเมนูที่เหมาะสําหรับคนทุกเพศทุกวัยเป็นอย่างดี
         ก๋วยเตี๋ยวมากับคนจีนที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย แต่จะเริ่มมีครั้งแรกสมัยไหนนั้น เป็นเรื่องยากที่จะบอกชัด คนจีนเริ่มอพยพเข้ามาจริงจังตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางถึงสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่จํานวนผู้อพยพจะมากเป็นพิเศษในช่วงสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ซึ่ง สัมพันธ์กับการเติบโตของย่านคนจีนที่สําเพ็ง และเยาวราชในสมัยนี้ก็มีรายงานว่ามีเรือเจ็กขาย ก๋วยเตี๋ยวให้เห็นแล้วแม้ก๋วยเตี๋ยวจะมากับคนจีน แต่เมื่อกาลเวลาหมุนผ่านไปคนไทยได้หันมา รับประทานก๋วยเตี๋ยวและทําก๋วยเตี๋ยวขายมากขึ้นเรื่อย ๆ ก๋วยเตี๋ยวรสชาติไทยจึงพัฒนาขึ้น ประจักษ์พยานที่ดีที่สุด คือ ผัดไทย ซึ่งถือเป็นก๋วยเตี๋ยวผัดแบบไทย (ศิริลักษณ์ รอตยันต์, 2550, หน้า 91)
         สมัยสุโขทัย มีหลักฐานว่ามีการค้าขายกับประเทศจีน การเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างพระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้ กับพ่อขุนรามคำแหง อิทธิพลของจีนเข้าสู่ทุกประเทศในแหลมทอง ก๋วยเตี๋ยวอาจเข้ามาในสมัยนั้น แต่ไม่มีหลักฐานที่จะสืบคนได้ และอาหารหลักของไทยคือ ข้าว ดังนั้นก๋วยเตี๋ยวน่าจะเป็นอาหารยุคหลังสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งคนจีนที่เข้ามาทำมาหากินในไทย ได้ทำก๋วยเตี๋ยวขายด้วยการหาบ หรือพายเรือขายก่อนจะมาตั้งร้าน (มาลี เพชรพิพัฒน์, 2552)
ภาพที่ 7 รูปบะหมี่แห้งเซี้ยงชากังราว.jpg

ภาพที่ 1 รูปบะหมี่แห้งเซี้ยงชากังราว (มติชนออนไลน์, 2562)

         บะหมี่เซี้ยงชากังราวจังหวัดกำแพงเพชรได้พัฒนามาจากสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เพราะว่ามีการสนับสนุนให้คนไทยกินก๋วยเตี๋ยวโดยร้านที่มีชื่อเสียงในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 มีร้านที่มีชื่อเสียง คือ ร้านเจ็กเท่ง ร้านเจ็กฮ้อ ร้านเจ็กเซี้ยง จากคำบอกเล่าของ อาจารย์สุมาลี หรั่งประเสริฐ บุตรนายตั้งหยงเซี้ยง (ร้านเจ๊กเซี้ยง) มาจากเมืองซัวเถาตั้งแต่ปี 2475 ได้ยึดอาชีพขายก๋วยเตี๋ยวมาตลอด สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 กิจการขายก๋วยเตี๋ยวร่ำรวยมากเพราะขายให้ทหารญี่ปุ่นที่เข้ามาในกำแพงเพชร ต่อมาบรรดาลูก ๆ ได้สืบทอดขายก๋วยเตี๋ยวบะหมี่ถึง 4 ร้านคือ ร้านบะหมี่ชากังราว, ร้านบะหมี่เซี้ยง, ร้านเซี้ยงบะหมี่, ร้านอู๊ด รสเด็ด ซึ่งทั้ง 4 ร้านได้ทำกิจการขายก๋วยเตี๋ยวสืบกันมานับ 70 ปี (มาลี เพชรพิพัฒน์, 2552) 
         จากบทสัมภาษณ์ มติชนออนไลน์ เรื่องถวิลหา ‘บะหมี่ชากังราว’ บะหมี่ชั้นหนึ่งคู่เมืองกำแพง ได้กล่าวไว้ว่า ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราวมีการบริหารกิจการร่วมกันระหว่าง มณฑา รักษ์ชน และ อำนาจ รักษ์ชน ซึ่งเป็นต้นตำรับบะหมี่ชากังราวมาจาก นายเซี๊ยง ที่อพยพมาจากเมืองจีน ทำบะหมี่เข็นรถขาย ถือเป็นเจ้าแรก ๆ ในจังหวัดกำแพงเพชร ต่อมาพ่อของสามี คือ นายคิดคะเน รักษ์ชน ซึ่งเป็นลูกชายคนโตของนายเซี๊ยงได้แตกออก มาเปิดร้านของตัวเอง ตั้งชื่อว่าบะหมี่ชากังราวที่ลานโพธิ์ตั้งแต่ปี 2503 ขายตั้งแต่ชามละ 2 บาท จนถึงปัจจุบันชามละ 30 บาท ด้วยความอร่อยและพิถีพิถัน ทำให้ลูกค้าพูดกันปากต่อปากจนเป็นที่รู้จักโด่งดัง
         สูตรลับการทำบะหมี่ที่ตกทอดกันมาถึง 3 ชั่วอายุคน ไม่ทำให้รสชาติความอร่อยตกหล่นไปกับกาลเวลาแม้แต่น้อย ด้วยฝีมือการทำบะหมี่ไข่เส้นสด และการปรุงรสชาติที่คงเส้นคงวา ทำให้ร้าน “บะหมี่ชากังราว” (เจ้าเก่า) ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ได้รับความนิยมจากคนเมืองกำแพงไม่เสื่อมคลาย 
         บะหมี่ชากังราว เดิมเรียกว่าบะหมี่เซี้ยง เล่ากันว่านายเซี้ยง รักชนม์ (แซ่แต้) เป็นผู้ริเริ่มปรุงสูตรขึ้น นายเซี้ยงเป็นชาวจีนที่อพยพมาอาศัยอยู่ในกำแพงเพชรโดยยึดอาชีพทำก๋วยเตี๋ยวขาย ด้วยการปรุงน้ำก๋วยเตี๋ยวได้อร่อยเข้มข้น ทั้งเส้นบะหมี่ก็ทำเอง ต่อมาจึงแพร่หลายกลายเป็นที่นิยมของชาวกำแพงเพชร เส้นบะหมี่นั้น  ใช้แป้งสาลีนวดกับไข่แดง น้ำเปล่า และเชื้อทำบะหมี่ จนเหนียวนุ่มเข้ากันดี หลังจากนั้นก็นำแป้งมาคลี่เป็นแผ่นบาง ๆ แล้วหั่นเป็นเส้น ร้านไหนที่อร่อย ๆ จะทำเส้นเองวันต่อวัน เส้นจะสดใหม่ เอกลักษณ์ของเส้นทำเองแบบนี้คือค่อนข้างแข็งกว่าเส้นโรงงาน จึงเคี้ยวเพลินกว่า ยิ่งสั่งแบบแห้งมายิ่งอร่อย ส่วนน้ำก๋วยเตี๋ยวเป็นน้ำต้มกระดูกหมูที่เคี่ยวจนได้รสหวาน แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาลปี๊บ ส่วนเครื่องที่ใส่ในก๋วยเตี๋ยวมีหลายอย่างได้แก่ หมูสับ หมูแดง หนังหมู ตับหมูต้ม หอมเจียว กระเทียมเจียว พริกป่น ถั่วงอก และถั่วฝักยาว ที่ต่างกับก๋วยเตี๋ยวสุโขทัย ชัด ๆ คงจะเป็นการไม่ใส่ถั่วลิสงคั่ว ทั้ง 4 ร้านเป็นสูตรเดียวกันหมด เพราะทุกร้านเป็นพี่น้องกัน ต่างกันแค่ร้านนึงมีหมูสะเต๊ะ แต่อีกร้านนึงไม่มีแต่มีติ่มซำ (อำนาจ รักษ์ชน, การสัมภาษณ์, 15 ตุลาคม 2564) ผู้เขียนได้มีการสำรวจพื้นที่ ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว และได้สัมภาษณ์ เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2564 แล้วสรุปเมนูและภาพร้านของบะหมี่เซี้ยงชากังราว ดังภาพที่ 2-6
ภาพที่ 2 สถานที่ตั้งร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg

ภาพที่ 2 สถานที่ตั้งร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว

ภาพที่ 3 ป้ายหน้าร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg

ภาพที่ 3 ป้ายหน้าร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว

ภาพที่ 4 หมูสะเต๊ะ อาหารเรียกน้ำย่อยของทางร้าน.jpg

ภาพที่ 4 หมูสะเต๊ะ อาหารเรียกน้ำย่อยของทางร้าน

ภาพที่ 5 บะหมี่แห้ง ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg

ภาพที่ 5 บะหมี่แห้ง ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว

ภาพที่ 6 บะหมี่ต้มยำ ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว.jpg

ภาพที่ 6 บะหมี่ต้มยำ ร้านบะหมี่เซี้ยงชากังราว

         จากการสัมภาษณ์อำนาจ รักศ์ชน เจ้าของร้าน เครื่องปรุงของทางร้านจะมีเยอะแยะมากมายแต่บางอย่างไม่สามารถบอกได้ เครื่องปรุงหลัก ๆ คือดังนี้

เครื่องปรุง[แก้ไข]

         บะหมี่ เกี๊ยว หมูสับ หมูแดง ตั้งฉ่าย ผักชีฝรั่งหั่นฝอย แผ่นเกี๊ยว เนื้อหมูสับบด (ปรุงรสด้วยสามเกลอ พริกไทยป่น และซอสปรุงรส) ผักกวางตุ้งกระเทียมเจียว ตั้งฉ่าย ถั่วฝักยาวลวก
ภาพที่ 1 เส้นบะหมี่เซี้ยง.jpg

ภาพที่ 7 เส้นบะหมี่เซี้ยง (มติชนออนไลน์, 2562)

ภาพที่ 2 หมูสับ.jpg

ภาพที่ 8 หมูสับ (มติชนออนไลน์, 2562)

ภาพที่ 3 หมูแดง.jpg

ภาพที่ 9 หมูแดง (มติชนออนไลน์, 2562)

ภาพที่ 4 ผักชีฝรั่ง.jpg

ภาพที่ 10 ผักชีฝรั่ง (มติชนออนไลน์, 2562)

ภาพที่ 5 ถั่วฝักยาวลวก.jpg

ภาพที่ 11 ถั่วฝักยาวลวก (มติชนออนไลน์, 2562)

ภาพที่ 6 ตั้งฉ่าย.jpg

ภาพที่ 12 ตั้งฉ่าย (มติชนออนไลน์, 2562)

         จากการสัมภาษณ์อำนาจ รักษ์ชน ถึงขึ้นตอนการปรุงหรือวิธีการทำของบะหมี่เซี้ยงชากังราว ขั้นตอนตอนปรุงไม่ได้ซับซ้อนมากแต่จะมีสูตรของทางร้านที่สือทอดกันมารุ่นสู่รุ่น มีดังนี้

ขั้นตอนการปรุง[แก้ไข]

         1. หมักหมูแดง : นำสันนอกหมูมาทำการหมักด้วยเกลือ พริกไทย น้ำตาลทราย ซอสหอยนางรม ซอสพริก และสีผสมอาหารเล็กน้อยค่ะ คลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 1-2 ชั่วโมง ทำน้ำซุปบะหมี่เกี๊ยว
         2. ตั้งน้ำให้เดือด : จากนั้นใส่รากผักชีและกระดูกเล้งลงไป ตามด้วยกระเทียม หอมใหญ่ แล้วต้มจนเดือด เคี่ยวไฟอ่อน ๆ ไปเรื่อย ๆ
         3. ห่อเกี๊ยว นำแผ่นเกี๊ยวมาห่อหมูบดปรุงรสที่เตรียมไว้  
         4. ต้มและอบ หมูแดง นำหมูที่หมักได้ที่แล้ว ต้มลงในน้ำเดือดใส่น้ำให้ท่วมชิ้นหมูนะคะ ปิดฝาทิ้งไว้  จนหมูสุกดี หลังจากนั้นนำขึ้น แล้วไปอบต่อด้วยอุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที เมื่อได้หมูแดงแล้วนำมาหั่นเฉียง ๆ ให้ได้ชิ้นที่พอคำ 
         5. ลวกส่วนผสม ตั้งน้ำโดยใช้ไฟกลาง นำผักกวางตุ้ง เกี๊ยว เส้นบะหมี่ ลงลวกได้เลยค่ะ ใช้เวลาประมาณ 10-30 วินาที 

จัดเสิร์ฟ[แก้ไข]

         นำผักกวางตุ้ง เกี๊ยว และเส้นบะหมี่จัดใส่ชาม วางด้วยหมูแดงหั่นชิ้น โรยต้นหอมผักชี กระเทียมเจียว แล้วเติมน้ำซุป นำบะหมี่เกี๊ยวที่ได้ตกแต่งด้วยผักชี และกระเทียมเจียว ปรุงรสชาติตามชอบ ก็จัดขึ้นเสิร์ฟได้

บทสรุป[แก้ไข]

         จากการศึกษาบะหมี่เซี้ยงชากังราวกำแพงเพชร วัตถุประสงค์ที่ 1) ประวัติความเป็นมาบะหมี่เซี้ยงชากังราว พบว่า มีมาตั้งแต่สมัยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และคนที่คิดค้นและปรุงสูตรคือ นายเซี้ยง รักษ์ชน (แซ่แต้) เป็นผู้เริ่มปรุงสูตร นายเซี้ยงเป็นคนจีนที่เข้ามาอยู่ในจังหวัดกำแพงเพชร และได้ยึดอาชีพทำก๋วยเตี๋ยวมาหลายปี และกิจการก๋วยเตี๋ยวก็ร่ำรวยมากขึ้นเพราะขายให้กับทหารญี่ปุ่นที่เข้ามาในกำแพงเพชรต่อมาก็ได้สืบทอดกันมากหลายต่อหลายรุ่น จึงทำให้คนสมัยก่อนและสมัยนี่รู้จักและเรียกติดปากกันว่า บะหมี่เซี้ยงวัตถุประสงค์ที่ 2) ขั้นตอนการปรุงและการจัดเสิร์ฟ พบว่า เป็นขั้นตอนที่สำคัญมีความพิถีพิถันกันออกไปกัน แต่ละร้าน ดูภายนอกอาจจะเหมือนธรรมดาแต่ถ้าเรามาศึกษาลงไปในแต่ละขั้นตอนทางร้านจะใส่ใจทุกรายละเอียด เพราะทำทุกอย่างตามสูตรที่สืบทอดกันมาหลายต่อหลายรุ่นเพื่อจะให้รสชาติคงเดิม การใช้เครื่องปรุงมีมากมายหลายชนิดเช่น บะหมี่ เกี๊ยว หมูสับ และยังมีผักกวางตุ้งกระเทียมเจียว ตั้งฉ่าย ถั่วฝักยาวลวก และยังมีอีกหลายขั้นตอน คือ ขั้นตอนการปรุงมีดังนี้ การหมักหมูแดง นำสันนอกหมูเอาไปหมักพอหมักเสร็จแล้วทิ้งไว้ 1-2 ชั่วโมง หลังจากนั้น นำไปต้มในน้ำที่เดือดและต่อไปให้นำไปอบด้วยอุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที เมื่อเสร็จแล้วนำหมูแดงมาหั่นเป็นชิ้นเฉียง ๆ การทำน้ำซุปต้องใช้เวลาหน่อยถ้าไฟแรงมากรสชาติน้ำซุปก็จะเปลี่ยนต้องไม่รีบ ขั้นตอนการทำน้ำซุป ตั้งน้ำให้เดือด หลังจากนั้นใส่รากผักชีและกระดูกเล้งลงไปในหม้อ ตามด้วยกระเทียม หอมใหญ่ แล้วต้มจนเดือด เคี่ยวไฟอ่อน ๆ ขั้นตอนห่อเกี๊ยว นำแผ่นเกี๊ยวออกมาแล้วนำมาห่อหมูบดที่ปรุงรสจากทางร้าน การลวกส่วนผสม โดยต้องตั้งน้ำให้ใช้ไฟกลาง นำผักกวางตุ้ง เกี๊ยว เส้นบะหมี่เอาลงเข้าไปลวกพร้อมกัน ใช้เวลาประมาณ 10-30 วินาที หลังจากนั้นนำของที่ลวกเสร็จแล้ว ลงใส่ในชาม และตกแต่งด้วยหมูแดงที่หั่นเป็นชิ้นและโรยด้วยต้นหอมผักชีและกระเทียมเจียมแล้วเติบน้ำซุปลงในชาม หลังจากนั้นก็นำไปเสิร์ฟและปรุงรสได้ตามชอบรับรองอร่อย

บรรณานุกรม[แก้ไข]

มติชน. 2562. ถวิลหา ‘บะหมี่ชากังราว’ บะหมี่ชั้นหนึ่งคู่เมืองกำแพง. เข้าถึงได้จาก  https://www.matichon.co.th/lifestyle/food-travel/news_1389513 
มาลี เพชรพิพัฒน์. (2552). บะหมีเซี้ยงชากังราว. เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/233110
ศิริลักษณ์ รอตยันต์. 2550. อาหารเส้นนานาชาติ. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แสงแดด.