ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสด็จประพาสต้นเมืองกำแพงเพชร"
ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าด้วย "== บทนำ == เรื่องราวการบันทึกเหตุการณ์เสด็จประพาสต้น...") |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | == บทนำ == | + | == '''บทนำ''' == |
เรื่องราวการบันทึกเหตุการณ์เสด็จประพาสต้นเมืองกำแพงเพชรของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.5 ซึ่งจังหวัดกำแพงเพชรเป็นหัวเมืองที่สำคัญเมืองหนึ่งในประเทศไทย สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่ามีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี โดยพระองค์ทรงเสด็จประพาสต้นจังหวัดกำแพงเพชร เมื่อวันที่ 25-29 สิงหาคม 125 ตรงกับ พ.ศ. 2449 มีกิจกรรมที่พระองค์ทำระหว่างเสด็จประพาสในจังหวัดกำแพงเพชรได้แก่ การตรวจดูการปกครองการรับเสด็จ การถ่ายภาพในพื้นที่ต่าง ๆ ที่ท่านเสด็จ เที่ยวชมเมืองโบราณ รวมทั้งได้ฟังเรื่องราวตามตำนานของชาวบ้านที่พูดถึงเรื่องของ ฤษี 11 ตน ระหว่างเสด็จประพาสในจังหวัดกำแพงเพชร และมีบุคคลสำคัญที่ติดตามมาด้วยกัน 20 คน เป็นบันทึกเหตุการณ์สำคัญของจังหวัดกำแพงเพชรและประเทศไทย | เรื่องราวการบันทึกเหตุการณ์เสด็จประพาสต้นเมืองกำแพงเพชรของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.5 ซึ่งจังหวัดกำแพงเพชรเป็นหัวเมืองที่สำคัญเมืองหนึ่งในประเทศไทย สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่ามีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี โดยพระองค์ทรงเสด็จประพาสต้นจังหวัดกำแพงเพชร เมื่อวันที่ 25-29 สิงหาคม 125 ตรงกับ พ.ศ. 2449 มีกิจกรรมที่พระองค์ทำระหว่างเสด็จประพาสในจังหวัดกำแพงเพชรได้แก่ การตรวจดูการปกครองการรับเสด็จ การถ่ายภาพในพื้นที่ต่าง ๆ ที่ท่านเสด็จ เที่ยวชมเมืองโบราณ รวมทั้งได้ฟังเรื่องราวตามตำนานของชาวบ้านที่พูดถึงเรื่องของ ฤษี 11 ตน ระหว่างเสด็จประพาสในจังหวัดกำแพงเพชร และมีบุคคลสำคัญที่ติดตามมาด้วยกัน 20 คน เป็นบันทึกเหตุการณ์สำคัญของจังหวัดกำแพงเพชรและประเทศไทย | ||
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชร 2) ความเป็นมาของเหตุการณ์ 3) บันทึกเหตุการณ์การเสด็จประพาสต้น 4) ตำนานที่เกี่ยวข้องกับการเสด็จประพาสต้น 5) การเสด็จประพาสต้นในเมืองกำแพงเพชร และ 6) บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชร 2) ความเป็นมาของเหตุการณ์ 3) บันทึกเหตุการณ์การเสด็จประพาสต้น 4) ตำนานที่เกี่ยวข้องกับการเสด็จประพาสต้น 5) การเสด็จประพาสต้นในเมืองกำแพงเพชร และ 6) บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ | ||
'''คำสำคัญ :''' เสด็จประพาสต้น, กำแพงเพชร | '''คำสำคัญ :''' เสด็จประพาสต้น, กำแพงเพชร | ||
− | == สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชร == | + | == '''สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชร''' == |
สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่ามีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองสมัยสุโขทัยเป็นราชธานีเมื่อประมาณ 700 ปีมาแล้ว จากการศึกษาหลักศิลาจารึกโดยนักโบราณคดีทำให้ทราบว่าจังหวัดกำแพงเพชรเป็นที่ตั้งของเมืองโบราณที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายเมืองเช่นเมืองชากังราวเมืองนครชุมเมืองไตรตรึงษ์เมืองเทพนครและเมืองคณฑี ตามประวัติศาสตร์กล่าวว่ากำแพงเพชรเป็นเมืองหน้าด่านของสุโขทัยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงเดิมว่า “เมืองชากังราว” และมีเมืองบริวารรายล้อมอยู่เป็นจำนวนมาก การที่กำแพงเพชรเป็นเมืองถ้าท่านรับศึกสงครามในอดีตอยู่เสมอจึงเป็นเมืองยุทธศาสตร์มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากมายเช่นกำแพงเมืองคูเมืองป้อมปราการวัดโบราณมีหลักฐานให้สันนิษฐานว่า เดิมเคยเป็นที่ตั้งของเมือง 2 เมืองคือเมืองชากังราวและเมืองนครชุมโดยเมืองชากังราวสร้างขึ้นก่อนตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิงพระเจ้าเลอไทกษัตริย์องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์สุโขทัยเป็นผู้สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ. ศ. 1890 ต่อมาสมัยพระเจ้าลิไทกษัตริย์องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัยได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นทางฝั่งตะวันตกของลำน้ำปิงคือ “เมืองนครชุม” สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงบันทึกเรื่องกำแพงเมืองไว้ว่า “เป็นกำแพงเมืองที่เก่าแก่มั่นคงยังมีความสมบูรณ์มากและเชื่อว่าสวยงามที่สุดในประเทศไทย” ปัจจุบันจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งมีโบราณสถานเก่าแก่ซึ่งก่อสร้างด้วยศิลาแลงหลายแห่งรวมอยู่ใน “อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร” ซึ่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยและอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยจังหวัดสุโขทัยเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2534 นับเป็นความภาคภูมิใจของชาวจังหวัดกำแพงเพชรอย่างยิ่ง (พระเทพปริยัติ, พระราชสารโมลี และคณะ, 2549) | สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่ามีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองสมัยสุโขทัยเป็นราชธานีเมื่อประมาณ 700 ปีมาแล้ว จากการศึกษาหลักศิลาจารึกโดยนักโบราณคดีทำให้ทราบว่าจังหวัดกำแพงเพชรเป็นที่ตั้งของเมืองโบราณที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายเมืองเช่นเมืองชากังราวเมืองนครชุมเมืองไตรตรึงษ์เมืองเทพนครและเมืองคณฑี ตามประวัติศาสตร์กล่าวว่ากำแพงเพชรเป็นเมืองหน้าด่านของสุโขทัยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงเดิมว่า “เมืองชากังราว” และมีเมืองบริวารรายล้อมอยู่เป็นจำนวนมาก การที่กำแพงเพชรเป็นเมืองถ้าท่านรับศึกสงครามในอดีตอยู่เสมอจึงเป็นเมืองยุทธศาสตร์มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากมายเช่นกำแพงเมืองคูเมืองป้อมปราการวัดโบราณมีหลักฐานให้สันนิษฐานว่า เดิมเคยเป็นที่ตั้งของเมือง 2 เมืองคือเมืองชากังราวและเมืองนครชุมโดยเมืองชากังราวสร้างขึ้นก่อนตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิงพระเจ้าเลอไทกษัตริย์องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์สุโขทัยเป็นผู้สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ. ศ. 1890 ต่อมาสมัยพระเจ้าลิไทกษัตริย์องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัยได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นทางฝั่งตะวันตกของลำน้ำปิงคือ “เมืองนครชุม” สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงบันทึกเรื่องกำแพงเมืองไว้ว่า “เป็นกำแพงเมืองที่เก่าแก่มั่นคงยังมีความสมบูรณ์มากและเชื่อว่าสวยงามที่สุดในประเทศไทย” ปัจจุบันจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งมีโบราณสถานเก่าแก่ซึ่งก่อสร้างด้วยศิลาแลงหลายแห่งรวมอยู่ใน “อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร” ซึ่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยและอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยจังหวัดสุโขทัยเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2534 นับเป็นความภาคภูมิใจของชาวจังหวัดกำแพงเพชรอย่างยิ่ง (พระเทพปริยัติ, พระราชสารโมลี และคณะ, 2549) | ||
− | == ความเป็นมาของเหตุการณ์ == | + | == '''ความเป็นมาของเหตุการณ์''' == |
เสด็จประพาสต้นนี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์คำอธิบายไว้เมื่อการพิมพ์ครั้งก่อนมีความว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชอัธยาศัยโปรดในการเสด็จประพาสตั้งแต่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติมาเสด็จประพาสบ้านเมืองแทบทุกปีเสด็จไปตามหัวเมืองน้อยใหญ่ในพระราชอาณาเขตบ้านเสด็จไปถึงต่างประเทศบ้างได้เคยเสด็จตามพื้นที่หัวเมืองในพระราชอาณาเขตทั่วทุกพื้นที่ เมื่อในรัชกาลที่ 5 ทางคมนาคมถึงพื้นที่เหล่านั้นจะไปมายังกันดารนักเปลืองเวลาและลำบากแก่ผู้อื่นจึงรออยู่มิได้เสด็จจนตลอดรัชกาลในการเสด็จประพาสหัวเมืองใหญ่น้อยในพระราชอาณาเขตนั้นบางคราวก็เสด็จไปเพื่อทรงตรวจจัดการปกครองจัดการรับเสด็จเป็นทางราชการบางคราวก็เสด็จไปเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถไม่โปรดให้จัดการรับเสด็จเป็นทางราชการที่เรียกว่า “เสด็จประพาสต้น” อยู่ในการเสด็จเพื่อสำราญพระราช-อิริยาบถแต่โปรดให้จัดการที่เสด็จไปให้ง่ายยิ่งกว่าเสด็จไปประพาสเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถอย่างสามัญคือไม่ให้มีท้องตราสั่งหัวเมืองให้จัดทำที่ประทับแรม ณ ที่ใด ๆ สุดแต่พอพระราชหฤทัยที่จะประทับที่ไหนก็ประทับที่นั่นบางทีก็ทรงเรือเล็กหรือเสด็จโดยสารรถไฟไปมิให้ใครรู้จักพระองค์การเสด็จประพาสต้นเริ่มมีครั้งแรกเมื่อรัตนโกสินทร์ศก 123 (พ. ศ. 2547) รายการเสด็จประพาสต้นครั้งนี้นายทรงอานุภาพได้เขียนจดหมายเล่าเรื่องประพาสต้นไว้โดยพิสดารดังที่พิมพ์ไว้ในตอนต้นสมุดเล่มนี้เหตุที่จะเรียกว่าประพาสต้นนั้นเกิดแต่เมื่อเสด็จในคราวนี้เวลาจะประพาสมิให้ใครรู้ว่าเสด็จไปทรงเรือมาดเก๋ง 4 แจวลำ 1 เรือนั้นลำเดียวไม่พอบรรทุกเครื่องครัวจึงทรงซื้อเรือมาดประทุน 4 แจวที่แม่น้ำอ้อมแขวงจังหวัดราชบุรีลำ 1 โปรดให้เจ้าหมื่นเสมอใจราชเป็นผู้คุมเครื่องครัวไปในเรือนั้นเจ้าหมื่นเสมอใจราชชื่ออ้นจึงทรงดำรัสเรียกเรือลำนั้นว่า “เรือตาอ้น” เรียกเร็ว ๆ เสียงเป็น “เรือต้น” เหมือนในบทเห่ซึ่งว่า “พระเสด็จโดยแดนชลทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย” ฟังดูก็เพราะดีแต่เรือมาดประทุนลำนั้นใช้อยู่ได้หน่อยหนึ่งเปลี่ยนเป็นเรือมาดเก๋ง 4 แจวอีกลำ 1 จึงโปรดให้เอาชื่อเรือต้นมาใช้เรียกเรือมาดเก่ง 4 แจวที่ 14 สร้างด้วยสแกนเนอร์สำหรับฉันลำที่เป็นเรือพระที่นั่งทรงอาศัยเหตุนี้ถ้าเสด็จประพาสโดยกระบวนเรือพระที่นั่งมาดเก๋ง 4 แจวโดยพระราชประสงค์จะมิให้ผู้ใดทราบว่าเสด็จไปจึงเรียกการเสด็จประพาสเช่นนี้ว่า “ ประพาสต้น” คำว่า“ ต้น” ยังมีที่ใช้อนุโลมต่อมาจนถึงเครื่องแต่งพระองค์ในเวลาทรงเครื่องอย่างคนสามัญเสด็จไปประพาสมิให้ผู้ใดเห็นแปลกประหลาดผิดกับคนสามัญดำรัสเรียกว่า “ทรงเครื่องต้น” ต่อมาโปรดให้ปลูกเรือนฝากระดานอย่างไทยเช่นพลเรือนอยู่กันเป็นสามัญขึ้นในพระราชวังดุสิตก็พระราชทานนามเรือนนั้นว่า“ เรือนต้น” ดังนี้การเสด็จประพาสต้นเมื่อราว ร.ศ.123 เป็นการสนุกยิ่งกว่าเคยเสด็จไปสำราญพระราชอิริยาบถแต่ก่อนมาที่จริงอาจกล่าวว่าเป็นประโยชน์แก่ราชการบ้านเมืองได้อีกสถาน 1 เพราะเสด็จเที่ยวประพาสปะปนไปกับหมู่ราษฎรเช่นนั้นได้ทรงทราบคำราษฎรกราบทูลปรารภกิจสุขทุกข์ซึ่งไม่สามารถจะทรงทราบได้โดยทางอื่นก็มากด้วยเหตุทั้งปวงนี้ต่อมาอีก 2 ปีถึง ร.ศ.123 (พ.ศ.2445) จึงเสด็จประพาสต้นอีกคราว 1 เสด็จประพาสต้นคราวนี้หาปรากฏมาแต่ก่อนว่ามีผู้หนึ่งผู้ใดได้เขียนจดหมายเหตุไว้เหมือนเมื่อคราวเสด็จประพาสต้นครั้งแรกไม่จนถึง พ.ศ.2467 พระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฎทรงพระปรารภจะใคร่พิมพ์หนังสือประทานตอบแทนผู้ถวายรดน้ำสงกรานต์ตรัสปรึกษาสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้านิภานภดลกรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี-สมเด็จหญิงน้อยพระธิดาทรงค้นหนังสือเก่าซึ่งได้ทรงเก็บรวบรวมไว้พบสำเนาจดหมายเหตุเสด็จประพาสต้นครั้งที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์โดยดำรัสให้องค์หญิงน้อยทรงเขียนไว้ในเวลาสนองพระเดชพระคุณสมเด็จพระบรมชนกนาถเป็นตำแหน่งราชเลขาธิการฝ่ายในอยู่ในเวลาเมื่อเสด็จประพาสคราวนั้นจึงประทานสำเนามายังหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครและมีรับสั่งมาว่าหนังสือเรื่องสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ถึง 17 ปีแล้วผู้ซึ่งยังไม่ทราบเรื่องเสด็จครั้งนั้นมีมากด้วยกันถ้าแห่งใดควรจะทำคำอธิบายหมายเลขให้เข้าใจความยิ่งขึ้นได้ก็ให้กรรมการช่วยทำคำอธิบายหมายเลขด้วยจึงได้จัดการทำถวายตามพระประสงค์ทุกประการ | เสด็จประพาสต้นนี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์คำอธิบายไว้เมื่อการพิมพ์ครั้งก่อนมีความว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชอัธยาศัยโปรดในการเสด็จประพาสตั้งแต่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติมาเสด็จประพาสบ้านเมืองแทบทุกปีเสด็จไปตามหัวเมืองน้อยใหญ่ในพระราชอาณาเขตบ้านเสด็จไปถึงต่างประเทศบ้างได้เคยเสด็จตามพื้นที่หัวเมืองในพระราชอาณาเขตทั่วทุกพื้นที่ เมื่อในรัชกาลที่ 5 ทางคมนาคมถึงพื้นที่เหล่านั้นจะไปมายังกันดารนักเปลืองเวลาและลำบากแก่ผู้อื่นจึงรออยู่มิได้เสด็จจนตลอดรัชกาลในการเสด็จประพาสหัวเมืองใหญ่น้อยในพระราชอาณาเขตนั้นบางคราวก็เสด็จไปเพื่อทรงตรวจจัดการปกครองจัดการรับเสด็จเป็นทางราชการบางคราวก็เสด็จไปเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถไม่โปรดให้จัดการรับเสด็จเป็นทางราชการที่เรียกว่า “เสด็จประพาสต้น” อยู่ในการเสด็จเพื่อสำราญพระราช-อิริยาบถแต่โปรดให้จัดการที่เสด็จไปให้ง่ายยิ่งกว่าเสด็จไปประพาสเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถอย่างสามัญคือไม่ให้มีท้องตราสั่งหัวเมืองให้จัดทำที่ประทับแรม ณ ที่ใด ๆ สุดแต่พอพระราชหฤทัยที่จะประทับที่ไหนก็ประทับที่นั่นบางทีก็ทรงเรือเล็กหรือเสด็จโดยสารรถไฟไปมิให้ใครรู้จักพระองค์การเสด็จประพาสต้นเริ่มมีครั้งแรกเมื่อรัตนโกสินทร์ศก 123 (พ. ศ. 2547) รายการเสด็จประพาสต้นครั้งนี้นายทรงอานุภาพได้เขียนจดหมายเล่าเรื่องประพาสต้นไว้โดยพิสดารดังที่พิมพ์ไว้ในตอนต้นสมุดเล่มนี้เหตุที่จะเรียกว่าประพาสต้นนั้นเกิดแต่เมื่อเสด็จในคราวนี้เวลาจะประพาสมิให้ใครรู้ว่าเสด็จไปทรงเรือมาดเก๋ง 4 แจวลำ 1 เรือนั้นลำเดียวไม่พอบรรทุกเครื่องครัวจึงทรงซื้อเรือมาดประทุน 4 แจวที่แม่น้ำอ้อมแขวงจังหวัดราชบุรีลำ 1 โปรดให้เจ้าหมื่นเสมอใจราชเป็นผู้คุมเครื่องครัวไปในเรือนั้นเจ้าหมื่นเสมอใจราชชื่ออ้นจึงทรงดำรัสเรียกเรือลำนั้นว่า “เรือตาอ้น” เรียกเร็ว ๆ เสียงเป็น “เรือต้น” เหมือนในบทเห่ซึ่งว่า “พระเสด็จโดยแดนชลทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย” ฟังดูก็เพราะดีแต่เรือมาดประทุนลำนั้นใช้อยู่ได้หน่อยหนึ่งเปลี่ยนเป็นเรือมาดเก๋ง 4 แจวอีกลำ 1 จึงโปรดให้เอาชื่อเรือต้นมาใช้เรียกเรือมาดเก่ง 4 แจวที่ 14 สร้างด้วยสแกนเนอร์สำหรับฉันลำที่เป็นเรือพระที่นั่งทรงอาศัยเหตุนี้ถ้าเสด็จประพาสโดยกระบวนเรือพระที่นั่งมาดเก๋ง 4 แจวโดยพระราชประสงค์จะมิให้ผู้ใดทราบว่าเสด็จไปจึงเรียกการเสด็จประพาสเช่นนี้ว่า “ ประพาสต้น” คำว่า“ ต้น” ยังมีที่ใช้อนุโลมต่อมาจนถึงเครื่องแต่งพระองค์ในเวลาทรงเครื่องอย่างคนสามัญเสด็จไปประพาสมิให้ผู้ใดเห็นแปลกประหลาดผิดกับคนสามัญดำรัสเรียกว่า “ทรงเครื่องต้น” ต่อมาโปรดให้ปลูกเรือนฝากระดานอย่างไทยเช่นพลเรือนอยู่กันเป็นสามัญขึ้นในพระราชวังดุสิตก็พระราชทานนามเรือนนั้นว่า“ เรือนต้น” ดังนี้การเสด็จประพาสต้นเมื่อราว ร.ศ.123 เป็นการสนุกยิ่งกว่าเคยเสด็จไปสำราญพระราชอิริยาบถแต่ก่อนมาที่จริงอาจกล่าวว่าเป็นประโยชน์แก่ราชการบ้านเมืองได้อีกสถาน 1 เพราะเสด็จเที่ยวประพาสปะปนไปกับหมู่ราษฎรเช่นนั้นได้ทรงทราบคำราษฎรกราบทูลปรารภกิจสุขทุกข์ซึ่งไม่สามารถจะทรงทราบได้โดยทางอื่นก็มากด้วยเหตุทั้งปวงนี้ต่อมาอีก 2 ปีถึง ร.ศ.123 (พ.ศ.2445) จึงเสด็จประพาสต้นอีกคราว 1 เสด็จประพาสต้นคราวนี้หาปรากฏมาแต่ก่อนว่ามีผู้หนึ่งผู้ใดได้เขียนจดหมายเหตุไว้เหมือนเมื่อคราวเสด็จประพาสต้นครั้งแรกไม่จนถึง พ.ศ.2467 พระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฎทรงพระปรารภจะใคร่พิมพ์หนังสือประทานตอบแทนผู้ถวายรดน้ำสงกรานต์ตรัสปรึกษาสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้านิภานภดลกรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี-สมเด็จหญิงน้อยพระธิดาทรงค้นหนังสือเก่าซึ่งได้ทรงเก็บรวบรวมไว้พบสำเนาจดหมายเหตุเสด็จประพาสต้นครั้งที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์โดยดำรัสให้องค์หญิงน้อยทรงเขียนไว้ในเวลาสนองพระเดชพระคุณสมเด็จพระบรมชนกนาถเป็นตำแหน่งราชเลขาธิการฝ่ายในอยู่ในเวลาเมื่อเสด็จประพาสคราวนั้นจึงประทานสำเนามายังหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครและมีรับสั่งมาว่าหนังสือเรื่องสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ถึง 17 ปีแล้วผู้ซึ่งยังไม่ทราบเรื่องเสด็จครั้งนั้นมีมากด้วยกันถ้าแห่งใดควรจะทำคำอธิบายหมายเลขให้เข้าใจความยิ่งขึ้นได้ก็ให้กรรมการช่วยทำคำอธิบายหมายเลขด้วยจึงได้จัดการทำถวายตามพระประสงค์ทุกประการ | ||
เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระปรีชาสามารถและรอบรู้ในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครองเศรษฐกิจและสังคม ตลอดรัชสมัยได้ทรงพยายามฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ ที่บังเกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่าเพื่อให้ประเทศดำรงความเป็นเอกราชไว้ได้ได้ทรงพยายามพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญรุดหน้าทัดเทียมกับนานาอารยประเทศอีกทั้งเอาพระราชหฤทัย ใส่ในทุกข์สุขของราษฎรอย่างใกล้ชิดประดุจดังบิดาพึงมีต่อบุตรพระราชกรณียกิจและพระราชจริยาวัตรอันงดงามเป็นที่ประทับใจอย่างยิ่งแก่ประชาชนชาวไทยจึงทรงเป็นที่รักและบูชาของชนทุกชั้นและทุกยุคทุกสมัยสมดังพระสมัญญาภิไธยว่า “สมเด็จพระปิยมหาราชเจ้า” มีพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วและหนังสือหลายเรื่องที่สะท้อนให้เห็นถึงพระราชกรณียกิจและพระราชจริยวัตรในด้านต่าง ๆ อย่างเด่นชัดเช่นบทพระราชนิพนธ์ “เสด็จประพาสต้น” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เมื่อคราวเสด็จประพาสต้นเป็นครั้งที่ 2 ใน ร.ศ.125 (พ.ศ.2554) และครั้งที่ 3 ใน ร.ศ.127 (พ.ศ.2551) และพระนิพนธ์จดหมายเหตุเรื่อง “เสด็จประพาสต้น” ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพที่ทรงนิพนธ์ไว้เมื่อครั้งเสด็จประพาสต้นครั้งแรกใน ร.ศ.123 (พ.ศ.2547) | เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระปรีชาสามารถและรอบรู้ในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครองเศรษฐกิจและสังคม ตลอดรัชสมัยได้ทรงพยายามฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ ที่บังเกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่าเพื่อให้ประเทศดำรงความเป็นเอกราชไว้ได้ได้ทรงพยายามพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญรุดหน้าทัดเทียมกับนานาอารยประเทศอีกทั้งเอาพระราชหฤทัย ใส่ในทุกข์สุขของราษฎรอย่างใกล้ชิดประดุจดังบิดาพึงมีต่อบุตรพระราชกรณียกิจและพระราชจริยาวัตรอันงดงามเป็นที่ประทับใจอย่างยิ่งแก่ประชาชนชาวไทยจึงทรงเป็นที่รักและบูชาของชนทุกชั้นและทุกยุคทุกสมัยสมดังพระสมัญญาภิไธยว่า “สมเด็จพระปิยมหาราชเจ้า” มีพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วและหนังสือหลายเรื่องที่สะท้อนให้เห็นถึงพระราชกรณียกิจและพระราชจริยวัตรในด้านต่าง ๆ อย่างเด่นชัดเช่นบทพระราชนิพนธ์ “เสด็จประพาสต้น” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เมื่อคราวเสด็จประพาสต้นเป็นครั้งที่ 2 ใน ร.ศ.125 (พ.ศ.2554) และครั้งที่ 3 ใน ร.ศ.127 (พ.ศ.2551) และพระนิพนธ์จดหมายเหตุเรื่อง “เสด็จประพาสต้น” ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพที่ทรงนิพนธ์ไว้เมื่อครั้งเสด็จประพาสต้นครั้งแรกใน ร.ศ.123 (พ.ศ.2547) | ||
− | == บันทึกเหตุการณ์การเสด็จประพาสต้น == | + | == '''บันทึกเหตุการณ์การเสด็จประพาสต้น''' == |
เมืองกำแพงเพชร วันที่ 25 สิงหาคมรัตนโกสินทร์ศก 125 ข้าพระพุทธเจ้านายชัดมหาดเล็กเวรเดชหลานพระยาประธานนคโรทัยจางวางเมืองอุทัยธานีเดิมระบราชการในกระทรวงมหาดไทยเป็นตำแหน่งนายอำเภออยู่มณฑลนครชัยศรีข้าพระพุทธเจ้าป่วยเจ็บจึงกราบถวายบังคมลาออกจากหน้าที่ราชการขึ้นมารักษาตัวอยู่บ้านภรรยาที่เมืองกำแพงเพชร ข้าพระพุทธเจ้าได้สืบเสาะหาพระพิมพ์ของโบราณซึ่งมีผู้ขุดค้นได้ในเมืองกำแพงเพชรนี้ได้ไว้หลายอย่างพร้อมกันพิมพ์แบบทำพระ 9 แบบขอพระราชทานทูลเกล้าฯถวายงานข้าพระพุทธเจ้าได้สืบถามผู้เฒ่าผู้แก่ถึงตำนานพระพิมพ์เหล่านี้อันเป็นที่เชื่อถือกันในแขวงเมืองกำแพงเพชรสืบมา แต่ก่อนได้ความว่าพระพิมพ์เมืองกำแพงเพชรนี้มีมหาชนเป็นอันมากนิยมนับถือลือชามาช้านานว่ามีคุณานิสงส์แก่ผู้สักการบูชาในปัจจุบันหรือมีอานุภาพทำให้สำเร็จผลความปรารถนาแห่งผู้สักการบูชาด้วยอเนกประการสัณฐานของพระพุทธรูปพิมพ์นี้ตามที่มีผู้ได้พบเห็นแล้วมี 3 อย่างคือ พระลีลาศ (ที่เรียกว่าพระเดิน) อย่าง 1 พระยืนอย่าง 1 พระนั่งสมาธิอย่าง 1 วัตถุที่ทำเป็นองค์พระต่างกันเป็น 4 อย่างคือดีบุก (หรือตะกั่ว) อย่าง 1 ว่านอย่าง 1 หลวงอย่าง 1 ดินอย่าง 1 พระพิมพ์นี้ครั้งแรกที่มหาชนจะได้พบเห็นนั้นได้ในเจดีย์วัดพระธาตุฝั่งตะวันตกเป็นเดิมและการที่สร้างพระพิมพ์นี้ขึ้นนั้นตามสามัญนิยมว่า ณ กาลครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วมีพระบรมกษัตริย์พระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า พระยาศรีธรรมาโศกราชเป็นพระเจ้าแผ่นดินใหญ่ทรงมหิทธิเดชานุภาพแผ่ไปในทิศานุทิศตลอดจนถึงทวีปลังกาทรงอนุสรคำนึงในการสถาปนูปถัมภพระพุทธศาสนาจึงเสด็จสู่ลังกาทวีปรวบรวมพระบรมธาตุสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านำมาสร้างเจดีย์บรรจุไว้ในคำกล่าวว่าแควน้ำปิงและน้ำยมเป็นต้นเป็นจำนวนพระเจดีย์ 84,000 องค์ครั้งนั้นพระฤษีจึงได้กระทำพิธีสร้างพระพิมพ์เหล่านี้ถวายแก่พระยาศรีธรรมาโศกราชเป็นการอุปการะในพระพุทธศาสนาครั้งแรกที่จะได้พบพระเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุและพระพิมพ์เหล่านี้เดิม ณ ประกาเอกศกจุลศักราช 1211 (นับโดยลำดับปีมาถึงศกนี้ 58 ปี) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) วัดระฆังกรุงเทพฯขึ้นมาเยี่ยมญาติ ณ เมืองกำแพงเพชรนี้ได้อ่านแผ่นศิลาจารึกอักษรไทยโบราณที่ประดิษฐานอยู่ ณ พระอุโบสถวัดเสด็จได้ความว่ามีเจดีย์โบราณบรรจุพระบรมธาตุอยู่น้ำปิงตะวันตกตรงหน้าเมืองเก่าข้าม 3 ขณะนั้นพระยากำแพง (น้อย) ผู้ว่าราชการเมืองได้จัดการค้นคว้าพบวัดและเจดีย์สมตามอักษรในแผ่นศิลาจึงป่าวร้องบอกบุญราษฎรช่วยกันแผ้วถางและปฏิสังขรณ์ขึ้นเจดีย์ที่ค้นพบเดิมมี 3 องค์องค์ใหญ่ซึ่งบรรจุพระบรมธาตุอยู่กลางชำรุดบ้างทั้ง 3 องค์ภายหลังพระยากำแพง (อ่อง) เป็นผู้ว่าราชการเมืองแซงพอกะเหรี่ยง (ที่ราษฎรเรียกว่าพญาตะก่าได้ขออนุญาตรื้อพระเจดีย์สามองค์นี้ทำใหม่รวมเป็นองค์เดียว | เมืองกำแพงเพชร วันที่ 25 สิงหาคมรัตนโกสินทร์ศก 125 ข้าพระพุทธเจ้านายชัดมหาดเล็กเวรเดชหลานพระยาประธานนคโรทัยจางวางเมืองอุทัยธานีเดิมระบราชการในกระทรวงมหาดไทยเป็นตำแหน่งนายอำเภออยู่มณฑลนครชัยศรีข้าพระพุทธเจ้าป่วยเจ็บจึงกราบถวายบังคมลาออกจากหน้าที่ราชการขึ้นมารักษาตัวอยู่บ้านภรรยาที่เมืองกำแพงเพชร ข้าพระพุทธเจ้าได้สืบเสาะหาพระพิมพ์ของโบราณซึ่งมีผู้ขุดค้นได้ในเมืองกำแพงเพชรนี้ได้ไว้หลายอย่างพร้อมกันพิมพ์แบบทำพระ 9 แบบขอพระราชทานทูลเกล้าฯถวายงานข้าพระพุทธเจ้าได้สืบถามผู้เฒ่าผู้แก่ถึงตำนานพระพิมพ์เหล่านี้อันเป็นที่เชื่อถือกันในแขวงเมืองกำแพงเพชรสืบมา แต่ก่อนได้ความว่าพระพิมพ์เมืองกำแพงเพชรนี้มีมหาชนเป็นอันมากนิยมนับถือลือชามาช้านานว่ามีคุณานิสงส์แก่ผู้สักการบูชาในปัจจุบันหรือมีอานุภาพทำให้สำเร็จผลความปรารถนาแห่งผู้สักการบูชาด้วยอเนกประการสัณฐานของพระพุทธรูปพิมพ์นี้ตามที่มีผู้ได้พบเห็นแล้วมี 3 อย่างคือ พระลีลาศ (ที่เรียกว่าพระเดิน) อย่าง 1 พระยืนอย่าง 1 พระนั่งสมาธิอย่าง 1 วัตถุที่ทำเป็นองค์พระต่างกันเป็น 4 อย่างคือดีบุก (หรือตะกั่ว) อย่าง 1 ว่านอย่าง 1 หลวงอย่าง 1 ดินอย่าง 1 พระพิมพ์นี้ครั้งแรกที่มหาชนจะได้พบเห็นนั้นได้ในเจดีย์วัดพระธาตุฝั่งตะวันตกเป็นเดิมและการที่สร้างพระพิมพ์นี้ขึ้นนั้นตามสามัญนิยมว่า ณ กาลครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วมีพระบรมกษัตริย์พระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า พระยาศรีธรรมาโศกราชเป็นพระเจ้าแผ่นดินใหญ่ทรงมหิทธิเดชานุภาพแผ่ไปในทิศานุทิศตลอดจนถึงทวีปลังกาทรงอนุสรคำนึงในการสถาปนูปถัมภพระพุทธศาสนาจึงเสด็จสู่ลังกาทวีปรวบรวมพระบรมธาตุสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านำมาสร้างเจดีย์บรรจุไว้ในคำกล่าวว่าแควน้ำปิงและน้ำยมเป็นต้นเป็นจำนวนพระเจดีย์ 84,000 องค์ครั้งนั้นพระฤษีจึงได้กระทำพิธีสร้างพระพิมพ์เหล่านี้ถวายแก่พระยาศรีธรรมาโศกราชเป็นการอุปการะในพระพุทธศาสนาครั้งแรกที่จะได้พบพระเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุและพระพิมพ์เหล่านี้เดิม ณ ประกาเอกศกจุลศักราช 1211 (นับโดยลำดับปีมาถึงศกนี้ 58 ปี) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) วัดระฆังกรุงเทพฯขึ้นมาเยี่ยมญาติ ณ เมืองกำแพงเพชรนี้ได้อ่านแผ่นศิลาจารึกอักษรไทยโบราณที่ประดิษฐานอยู่ ณ พระอุโบสถวัดเสด็จได้ความว่ามีเจดีย์โบราณบรรจุพระบรมธาตุอยู่น้ำปิงตะวันตกตรงหน้าเมืองเก่าข้าม 3 ขณะนั้นพระยากำแพง (น้อย) ผู้ว่าราชการเมืองได้จัดการค้นคว้าพบวัดและเจดีย์สมตามอักษรในแผ่นศิลาจึงป่าวร้องบอกบุญราษฎรช่วยกันแผ้วถางและปฏิสังขรณ์ขึ้นเจดีย์ที่ค้นพบเดิมมี 3 องค์องค์ใหญ่ซึ่งบรรจุพระบรมธาตุอยู่กลางชำรุดบ้างทั้ง 3 องค์ภายหลังพระยากำแพง (อ่อง) เป็นผู้ว่าราชการเมืองแซงพอกะเหรี่ยง (ที่ราษฎรเรียกว่าพญาตะก่าได้ขออนุญาตรื้อพระเจดีย์สามองค์นี้ทำใหม่รวมเป็นองค์เดียว | ||
ขณะที่เรือพระเจดีย์ 3 องค์นั้นได้พบตรุพระพุทธรูปพิมพ์และลานเงินจารึกอักษรขอมกล่าวตำนานการสร้างพระพิมพ์และลักษณะการสักการบูชาด้วยประการต่าง ๆ พระพิมพ์ชนิดนี้มีผู้ขุดค้นได้มีเมืองสรรคบุรี ครั้งหนึ่งแต่หามีแผ่นลานเงินไม่แผ่นลานเงินตำนานนี้กล่าวว่ามีเฉพาะแต่ในพระเจดีย์วัดพระธาตุฝั่งน้ำปิงตะวันตกแห่งเดียวมีสำเนาที่ผู้อื่นเขียนไว้ดังนี้ | ขณะที่เรือพระเจดีย์ 3 องค์นั้นได้พบตรุพระพุทธรูปพิมพ์และลานเงินจารึกอักษรขอมกล่าวตำนานการสร้างพระพิมพ์และลักษณะการสักการบูชาด้วยประการต่าง ๆ พระพิมพ์ชนิดนี้มีผู้ขุดค้นได้มีเมืองสรรคบุรี ครั้งหนึ่งแต่หามีแผ่นลานเงินไม่แผ่นลานเงินตำนานนี้กล่าวว่ามีเฉพาะแต่ในพระเจดีย์วัดพระธาตุฝั่งน้ำปิงตะวันตกแห่งเดียวมีสำเนาที่ผู้อื่นเขียนไว้ดังนี้ | ||
+ | ==='''ตำนานที่เกี่ยวข้องกับการเสด็จประพาสต้น'''=== |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:13, 30 พฤศจิกายน 2564
เนื้อหา
บทนำ
เรื่องราวการบันทึกเหตุการณ์เสด็จประพาสต้นเมืองกำแพงเพชรของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.5 ซึ่งจังหวัดกำแพงเพชรเป็นหัวเมืองที่สำคัญเมืองหนึ่งในประเทศไทย สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่ามีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี โดยพระองค์ทรงเสด็จประพาสต้นจังหวัดกำแพงเพชร เมื่อวันที่ 25-29 สิงหาคม 125 ตรงกับ พ.ศ. 2449 มีกิจกรรมที่พระองค์ทำระหว่างเสด็จประพาสในจังหวัดกำแพงเพชรได้แก่ การตรวจดูการปกครองการรับเสด็จ การถ่ายภาพในพื้นที่ต่าง ๆ ที่ท่านเสด็จ เที่ยวชมเมืองโบราณ รวมทั้งได้ฟังเรื่องราวตามตำนานของชาวบ้านที่พูดถึงเรื่องของ ฤษี 11 ตน ระหว่างเสด็จประพาสในจังหวัดกำแพงเพชร และมีบุคคลสำคัญที่ติดตามมาด้วยกัน 20 คน เป็นบันทึกเหตุการณ์สำคัญของจังหวัดกำแพงเพชรและประเทศไทย บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชร 2) ความเป็นมาของเหตุการณ์ 3) บันทึกเหตุการณ์การเสด็จประพาสต้น 4) ตำนานที่เกี่ยวข้องกับการเสด็จประพาสต้น 5) การเสด็จประพาสต้นในเมืองกำแพงเพชร และ 6) บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
คำสำคัญ : เสด็จประพาสต้น, กำแพงเพชร
สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชร
สภาพทั่วไปของจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่ามีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองสมัยสุโขทัยเป็นราชธานีเมื่อประมาณ 700 ปีมาแล้ว จากการศึกษาหลักศิลาจารึกโดยนักโบราณคดีทำให้ทราบว่าจังหวัดกำแพงเพชรเป็นที่ตั้งของเมืองโบราณที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายเมืองเช่นเมืองชากังราวเมืองนครชุมเมืองไตรตรึงษ์เมืองเทพนครและเมืองคณฑี ตามประวัติศาสตร์กล่าวว่ากำแพงเพชรเป็นเมืองหน้าด่านของสุโขทัยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงเดิมว่า “เมืองชากังราว” และมีเมืองบริวารรายล้อมอยู่เป็นจำนวนมาก การที่กำแพงเพชรเป็นเมืองถ้าท่านรับศึกสงครามในอดีตอยู่เสมอจึงเป็นเมืองยุทธศาสตร์มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากมายเช่นกำแพงเมืองคูเมืองป้อมปราการวัดโบราณมีหลักฐานให้สันนิษฐานว่า เดิมเคยเป็นที่ตั้งของเมือง 2 เมืองคือเมืองชากังราวและเมืองนครชุมโดยเมืองชากังราวสร้างขึ้นก่อนตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิงพระเจ้าเลอไทกษัตริย์องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์สุโขทัยเป็นผู้สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ. ศ. 1890 ต่อมาสมัยพระเจ้าลิไทกษัตริย์องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัยได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นทางฝั่งตะวันตกของลำน้ำปิงคือ “เมืองนครชุม” สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงบันทึกเรื่องกำแพงเมืองไว้ว่า “เป็นกำแพงเมืองที่เก่าแก่มั่นคงยังมีความสมบูรณ์มากและเชื่อว่าสวยงามที่สุดในประเทศไทย” ปัจจุบันจังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งมีโบราณสถานเก่าแก่ซึ่งก่อสร้างด้วยศิลาแลงหลายแห่งรวมอยู่ใน “อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร” ซึ่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยและอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยจังหวัดสุโขทัยเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2534 นับเป็นความภาคภูมิใจของชาวจังหวัดกำแพงเพชรอย่างยิ่ง (พระเทพปริยัติ, พระราชสารโมลี และคณะ, 2549)
ความเป็นมาของเหตุการณ์
เสด็จประพาสต้นนี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์คำอธิบายไว้เมื่อการพิมพ์ครั้งก่อนมีความว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชอัธยาศัยโปรดในการเสด็จประพาสตั้งแต่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติมาเสด็จประพาสบ้านเมืองแทบทุกปีเสด็จไปตามหัวเมืองน้อยใหญ่ในพระราชอาณาเขตบ้านเสด็จไปถึงต่างประเทศบ้างได้เคยเสด็จตามพื้นที่หัวเมืองในพระราชอาณาเขตทั่วทุกพื้นที่ เมื่อในรัชกาลที่ 5 ทางคมนาคมถึงพื้นที่เหล่านั้นจะไปมายังกันดารนักเปลืองเวลาและลำบากแก่ผู้อื่นจึงรออยู่มิได้เสด็จจนตลอดรัชกาลในการเสด็จประพาสหัวเมืองใหญ่น้อยในพระราชอาณาเขตนั้นบางคราวก็เสด็จไปเพื่อทรงตรวจจัดการปกครองจัดการรับเสด็จเป็นทางราชการบางคราวก็เสด็จไปเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถไม่โปรดให้จัดการรับเสด็จเป็นทางราชการที่เรียกว่า “เสด็จประพาสต้น” อยู่ในการเสด็จเพื่อสำราญพระราช-อิริยาบถแต่โปรดให้จัดการที่เสด็จไปให้ง่ายยิ่งกว่าเสด็จไปประพาสเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถอย่างสามัญคือไม่ให้มีท้องตราสั่งหัวเมืองให้จัดทำที่ประทับแรม ณ ที่ใด ๆ สุดแต่พอพระราชหฤทัยที่จะประทับที่ไหนก็ประทับที่นั่นบางทีก็ทรงเรือเล็กหรือเสด็จโดยสารรถไฟไปมิให้ใครรู้จักพระองค์การเสด็จประพาสต้นเริ่มมีครั้งแรกเมื่อรัตนโกสินทร์ศก 123 (พ. ศ. 2547) รายการเสด็จประพาสต้นครั้งนี้นายทรงอานุภาพได้เขียนจดหมายเล่าเรื่องประพาสต้นไว้โดยพิสดารดังที่พิมพ์ไว้ในตอนต้นสมุดเล่มนี้เหตุที่จะเรียกว่าประพาสต้นนั้นเกิดแต่เมื่อเสด็จในคราวนี้เวลาจะประพาสมิให้ใครรู้ว่าเสด็จไปทรงเรือมาดเก๋ง 4 แจวลำ 1 เรือนั้นลำเดียวไม่พอบรรทุกเครื่องครัวจึงทรงซื้อเรือมาดประทุน 4 แจวที่แม่น้ำอ้อมแขวงจังหวัดราชบุรีลำ 1 โปรดให้เจ้าหมื่นเสมอใจราชเป็นผู้คุมเครื่องครัวไปในเรือนั้นเจ้าหมื่นเสมอใจราชชื่ออ้นจึงทรงดำรัสเรียกเรือลำนั้นว่า “เรือตาอ้น” เรียกเร็ว ๆ เสียงเป็น “เรือต้น” เหมือนในบทเห่ซึ่งว่า “พระเสด็จโดยแดนชลทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย” ฟังดูก็เพราะดีแต่เรือมาดประทุนลำนั้นใช้อยู่ได้หน่อยหนึ่งเปลี่ยนเป็นเรือมาดเก๋ง 4 แจวอีกลำ 1 จึงโปรดให้เอาชื่อเรือต้นมาใช้เรียกเรือมาดเก่ง 4 แจวที่ 14 สร้างด้วยสแกนเนอร์สำหรับฉันลำที่เป็นเรือพระที่นั่งทรงอาศัยเหตุนี้ถ้าเสด็จประพาสโดยกระบวนเรือพระที่นั่งมาดเก๋ง 4 แจวโดยพระราชประสงค์จะมิให้ผู้ใดทราบว่าเสด็จไปจึงเรียกการเสด็จประพาสเช่นนี้ว่า “ ประพาสต้น” คำว่า“ ต้น” ยังมีที่ใช้อนุโลมต่อมาจนถึงเครื่องแต่งพระองค์ในเวลาทรงเครื่องอย่างคนสามัญเสด็จไปประพาสมิให้ผู้ใดเห็นแปลกประหลาดผิดกับคนสามัญดำรัสเรียกว่า “ทรงเครื่องต้น” ต่อมาโปรดให้ปลูกเรือนฝากระดานอย่างไทยเช่นพลเรือนอยู่กันเป็นสามัญขึ้นในพระราชวังดุสิตก็พระราชทานนามเรือนนั้นว่า“ เรือนต้น” ดังนี้การเสด็จประพาสต้นเมื่อราว ร.ศ.123 เป็นการสนุกยิ่งกว่าเคยเสด็จไปสำราญพระราชอิริยาบถแต่ก่อนมาที่จริงอาจกล่าวว่าเป็นประโยชน์แก่ราชการบ้านเมืองได้อีกสถาน 1 เพราะเสด็จเที่ยวประพาสปะปนไปกับหมู่ราษฎรเช่นนั้นได้ทรงทราบคำราษฎรกราบทูลปรารภกิจสุขทุกข์ซึ่งไม่สามารถจะทรงทราบได้โดยทางอื่นก็มากด้วยเหตุทั้งปวงนี้ต่อมาอีก 2 ปีถึง ร.ศ.123 (พ.ศ.2445) จึงเสด็จประพาสต้นอีกคราว 1 เสด็จประพาสต้นคราวนี้หาปรากฏมาแต่ก่อนว่ามีผู้หนึ่งผู้ใดได้เขียนจดหมายเหตุไว้เหมือนเมื่อคราวเสด็จประพาสต้นครั้งแรกไม่จนถึง พ.ศ.2467 พระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฎทรงพระปรารภจะใคร่พิมพ์หนังสือประทานตอบแทนผู้ถวายรดน้ำสงกรานต์ตรัสปรึกษาสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้านิภานภดลกรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี-สมเด็จหญิงน้อยพระธิดาทรงค้นหนังสือเก่าซึ่งได้ทรงเก็บรวบรวมไว้พบสำเนาจดหมายเหตุเสด็จประพาสต้นครั้งที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์โดยดำรัสให้องค์หญิงน้อยทรงเขียนไว้ในเวลาสนองพระเดชพระคุณสมเด็จพระบรมชนกนาถเป็นตำแหน่งราชเลขาธิการฝ่ายในอยู่ในเวลาเมื่อเสด็จประพาสคราวนั้นจึงประทานสำเนามายังหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครและมีรับสั่งมาว่าหนังสือเรื่องสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ถึง 17 ปีแล้วผู้ซึ่งยังไม่ทราบเรื่องเสด็จครั้งนั้นมีมากด้วยกันถ้าแห่งใดควรจะทำคำอธิบายหมายเลขให้เข้าใจความยิ่งขึ้นได้ก็ให้กรรมการช่วยทำคำอธิบายหมายเลขด้วยจึงได้จัดการทำถวายตามพระประสงค์ทุกประการ เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระปรีชาสามารถและรอบรู้ในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครองเศรษฐกิจและสังคม ตลอดรัชสมัยได้ทรงพยายามฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ ที่บังเกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่าเพื่อให้ประเทศดำรงความเป็นเอกราชไว้ได้ได้ทรงพยายามพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญรุดหน้าทัดเทียมกับนานาอารยประเทศอีกทั้งเอาพระราชหฤทัย ใส่ในทุกข์สุขของราษฎรอย่างใกล้ชิดประดุจดังบิดาพึงมีต่อบุตรพระราชกรณียกิจและพระราชจริยาวัตรอันงดงามเป็นที่ประทับใจอย่างยิ่งแก่ประชาชนชาวไทยจึงทรงเป็นที่รักและบูชาของชนทุกชั้นและทุกยุคทุกสมัยสมดังพระสมัญญาภิไธยว่า “สมเด็จพระปิยมหาราชเจ้า” มีพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วและหนังสือหลายเรื่องที่สะท้อนให้เห็นถึงพระราชกรณียกิจและพระราชจริยวัตรในด้านต่าง ๆ อย่างเด่นชัดเช่นบทพระราชนิพนธ์ “เสด็จประพาสต้น” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เมื่อคราวเสด็จประพาสต้นเป็นครั้งที่ 2 ใน ร.ศ.125 (พ.ศ.2554) และครั้งที่ 3 ใน ร.ศ.127 (พ.ศ.2551) และพระนิพนธ์จดหมายเหตุเรื่อง “เสด็จประพาสต้น” ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพที่ทรงนิพนธ์ไว้เมื่อครั้งเสด็จประพาสต้นครั้งแรกใน ร.ศ.123 (พ.ศ.2547)
บันทึกเหตุการณ์การเสด็จประพาสต้น
เมืองกำแพงเพชร วันที่ 25 สิงหาคมรัตนโกสินทร์ศก 125 ข้าพระพุทธเจ้านายชัดมหาดเล็กเวรเดชหลานพระยาประธานนคโรทัยจางวางเมืองอุทัยธานีเดิมระบราชการในกระทรวงมหาดไทยเป็นตำแหน่งนายอำเภออยู่มณฑลนครชัยศรีข้าพระพุทธเจ้าป่วยเจ็บจึงกราบถวายบังคมลาออกจากหน้าที่ราชการขึ้นมารักษาตัวอยู่บ้านภรรยาที่เมืองกำแพงเพชร ข้าพระพุทธเจ้าได้สืบเสาะหาพระพิมพ์ของโบราณซึ่งมีผู้ขุดค้นได้ในเมืองกำแพงเพชรนี้ได้ไว้หลายอย่างพร้อมกันพิมพ์แบบทำพระ 9 แบบขอพระราชทานทูลเกล้าฯถวายงานข้าพระพุทธเจ้าได้สืบถามผู้เฒ่าผู้แก่ถึงตำนานพระพิมพ์เหล่านี้อันเป็นที่เชื่อถือกันในแขวงเมืองกำแพงเพชรสืบมา แต่ก่อนได้ความว่าพระพิมพ์เมืองกำแพงเพชรนี้มีมหาชนเป็นอันมากนิยมนับถือลือชามาช้านานว่ามีคุณานิสงส์แก่ผู้สักการบูชาในปัจจุบันหรือมีอานุภาพทำให้สำเร็จผลความปรารถนาแห่งผู้สักการบูชาด้วยอเนกประการสัณฐานของพระพุทธรูปพิมพ์นี้ตามที่มีผู้ได้พบเห็นแล้วมี 3 อย่างคือ พระลีลาศ (ที่เรียกว่าพระเดิน) อย่าง 1 พระยืนอย่าง 1 พระนั่งสมาธิอย่าง 1 วัตถุที่ทำเป็นองค์พระต่างกันเป็น 4 อย่างคือดีบุก (หรือตะกั่ว) อย่าง 1 ว่านอย่าง 1 หลวงอย่าง 1 ดินอย่าง 1 พระพิมพ์นี้ครั้งแรกที่มหาชนจะได้พบเห็นนั้นได้ในเจดีย์วัดพระธาตุฝั่งตะวันตกเป็นเดิมและการที่สร้างพระพิมพ์นี้ขึ้นนั้นตามสามัญนิยมว่า ณ กาลครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วมีพระบรมกษัตริย์พระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า พระยาศรีธรรมาโศกราชเป็นพระเจ้าแผ่นดินใหญ่ทรงมหิทธิเดชานุภาพแผ่ไปในทิศานุทิศตลอดจนถึงทวีปลังกาทรงอนุสรคำนึงในการสถาปนูปถัมภพระพุทธศาสนาจึงเสด็จสู่ลังกาทวีปรวบรวมพระบรมธาตุสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านำมาสร้างเจดีย์บรรจุไว้ในคำกล่าวว่าแควน้ำปิงและน้ำยมเป็นต้นเป็นจำนวนพระเจดีย์ 84,000 องค์ครั้งนั้นพระฤษีจึงได้กระทำพิธีสร้างพระพิมพ์เหล่านี้ถวายแก่พระยาศรีธรรมาโศกราชเป็นการอุปการะในพระพุทธศาสนาครั้งแรกที่จะได้พบพระเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุและพระพิมพ์เหล่านี้เดิม ณ ประกาเอกศกจุลศักราช 1211 (นับโดยลำดับปีมาถึงศกนี้ 58 ปี) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) วัดระฆังกรุงเทพฯขึ้นมาเยี่ยมญาติ ณ เมืองกำแพงเพชรนี้ได้อ่านแผ่นศิลาจารึกอักษรไทยโบราณที่ประดิษฐานอยู่ ณ พระอุโบสถวัดเสด็จได้ความว่ามีเจดีย์โบราณบรรจุพระบรมธาตุอยู่น้ำปิงตะวันตกตรงหน้าเมืองเก่าข้าม 3 ขณะนั้นพระยากำแพง (น้อย) ผู้ว่าราชการเมืองได้จัดการค้นคว้าพบวัดและเจดีย์สมตามอักษรในแผ่นศิลาจึงป่าวร้องบอกบุญราษฎรช่วยกันแผ้วถางและปฏิสังขรณ์ขึ้นเจดีย์ที่ค้นพบเดิมมี 3 องค์องค์ใหญ่ซึ่งบรรจุพระบรมธาตุอยู่กลางชำรุดบ้างทั้ง 3 องค์ภายหลังพระยากำแพง (อ่อง) เป็นผู้ว่าราชการเมืองแซงพอกะเหรี่ยง (ที่ราษฎรเรียกว่าพญาตะก่าได้ขออนุญาตรื้อพระเจดีย์สามองค์นี้ทำใหม่รวมเป็นองค์เดียว ขณะที่เรือพระเจดีย์ 3 องค์นั้นได้พบตรุพระพุทธรูปพิมพ์และลานเงินจารึกอักษรขอมกล่าวตำนานการสร้างพระพิมพ์และลักษณะการสักการบูชาด้วยประการต่าง ๆ พระพิมพ์ชนิดนี้มีผู้ขุดค้นได้มีเมืองสรรคบุรี ครั้งหนึ่งแต่หามีแผ่นลานเงินไม่แผ่นลานเงินตำนานนี้กล่าวว่ามีเฉพาะแต่ในพระเจดีย์วัดพระธาตุฝั่งน้ำปิงตะวันตกแห่งเดียวมีสำเนาที่ผู้อื่นเขียนไว้ดังนี้