ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง ประเพณีทอดผ้าป่าแถว วัดพระแก้ว อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "=='''ข้อมูลทั่วไป'''== ==='''ชื่อเรียก'''=== ประเพณีทอดผ้าป่าแถ...")
 
 
แถว 16: แถว 16:
 
           ประเพณีการทอดผ้าป่าแถวของจังหวัดกำแพงเพชร มีประวัติย้อนไปถึงสมัยพุทธกาล เมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ยังไม่ได้มีพุทธานุญาตให้ภิกษุรับจีวรจากชาวบ้านได้ ภิกษุทั้งหลาย จึงต้องเที่ยวไปเก็บผ้าที่เจ้าของเขาทิ้งแล้ว เช่น ผ้าเปรอะเปื้อน ผ้าบังสุกุล (ผ้าเปื้อนฝุ่น) หรือผ้าห่อศพ ตามป่าช้า หรือตามป่า ทั่วไป แล้วนำผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อยเหล่านั้น มาซักเย็บปะติดปะต่อกัน แล้วย้อมเป็นสบงจีวรสังฆาฏิตามต้องการ
 
           ประเพณีการทอดผ้าป่าแถวของจังหวัดกำแพงเพชร มีประวัติย้อนไปถึงสมัยพุทธกาล เมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ยังไม่ได้มีพุทธานุญาตให้ภิกษุรับจีวรจากชาวบ้านได้ ภิกษุทั้งหลาย จึงต้องเที่ยวไปเก็บผ้าที่เจ้าของเขาทิ้งแล้ว เช่น ผ้าเปรอะเปื้อน ผ้าบังสุกุล (ผ้าเปื้อนฝุ่น) หรือผ้าห่อศพ ตามป่าช้า หรือตามป่า ทั่วไป แล้วนำผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อยเหล่านั้น มาซักเย็บปะติดปะต่อกัน แล้วย้อมเป็นสบงจีวรสังฆาฏิตามต้องการ
 
           ด้วยเหตุนี้การทำจีวรของพระภิกษุในครั้งนั้น จึงต้องช่วยกันทำหลายรูป และการที่มีพุทธานุญาตให้คนตัดเย็บจีวรเป็นขันธ์ อย่างกระทงนาของชาวมคธ ก็เพื่ออำนวยความสะดวกในการนำผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อยมาปะติดปะต่อกันนั่นเอง เวลาต่อมาชาวบ้านเห็นความยากลำบากของพระสงฆ์ แต่จะนำผ้าไปถวายโดยตรงไม่ได้เพราะยังมิได้มีพุทธานุญาต ผู้มีศรัทธาจึงนำผ้าไปทิ้งไว้ในป่าช้า และตามที่ต่างๆ ที่ไม่ไกลจากกุฏิพระภิกษุ เพื่อให้พระภิกษุไปพบเล้วนำเอาไปทำจีวรได้ตามประสงค์
 
           ด้วยเหตุนี้การทำจีวรของพระภิกษุในครั้งนั้น จึงต้องช่วยกันทำหลายรูป และการที่มีพุทธานุญาตให้คนตัดเย็บจีวรเป็นขันธ์ อย่างกระทงนาของชาวมคธ ก็เพื่ออำนวยความสะดวกในการนำผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อยมาปะติดปะต่อกันนั่นเอง เวลาต่อมาชาวบ้านเห็นความยากลำบากของพระสงฆ์ แต่จะนำผ้าไปถวายโดยตรงไม่ได้เพราะยังมิได้มีพุทธานุญาต ผู้มีศรัทธาจึงนำผ้าไปทิ้งไว้ในป่าช้า และตามที่ต่างๆ ที่ไม่ไกลจากกุฏิพระภิกษุ เพื่อให้พระภิกษุไปพบเล้วนำเอาไปทำจีวรได้ตามประสงค์
           อนึ่ง ก่อนจะเกิดการ “ทิ้งผ้าตามป่า” มีตำนานพุทธศาสนาในพระธรรมบทขุททกนิกายสคถาวรรค เรื่อง นาคเพทธิดาถวายผ้าป่าแก่พระอนุรุทธเถระว่า คราวหนึ่งพระอนุรุทธเถระผู้เป็นอรหันต์เที่ยวหาบังสุกุลจีวรตามแนวป่า เดินเข้าไปในป่าด้วยใจหวังว่าจะได้พบผ้าสักผืนหนึ่ง ขณะที่พระอนุรุทธรำพึงเช่นนั้น เทพธิดานางหนึ่งซึ่งชาติก่อนเคยเป็นภรรยาของพระอนุรุทธมีศรัทธาปรารถนาจะถวายผ้าบังสุกุลแก่ท่าน จึงนำผ้าทิพย์ลงมาพาดไว้ที่ต้นไม้เตี้ยๆ ต้นหนึ่ง ระหว่างทางที่พระเถระจะเดินผ่าน เมื่อพบเหตุเช่นนั้น พระอนุรุทธแสดงความประหลาดใจ และเมื่อปรารภความถึงเจ้าของไม่มีแล้ว ท่านจึงอธิษฐานเป็นผ้าบังสุกุล การทอดผ้าป่า รวมทั้งการประดับประดาองค์ผ้าป่าด้วยกิ่งไม้ เอาผ้าทำเป็นรูปลิง ค่าง บ่าง ชะนี หรือผีเปรต ก็เป็นการอุปมาดังกล่าว
+
           อนึ่ง ก่อนจะเกิดการ “ทิ้งผ้าตามป่า” มีตำนานพุทธศาสนาในพระธรรมบทขุททกนิกายสคถาวรรค เรื่อง นาคเทพธิดาถวายผ้าป่าแก่พระอนุรุทธเถระว่า คราวหนึ่งพระอนุรุทธเถระผู้เป็นอรหันต์เที่ยวหาบังสุกุลจีวรตามแนวป่า เดินเข้าไปในป่าด้วยใจหวังว่าจะได้พบผ้าสักผืนหนึ่ง ขณะที่พระอนุรุทธรำพึงเช่นนั้น เทพธิดานางหนึ่งซึ่งชาติก่อนเคยเป็นภรรยาของพระอนุรุทธมีศรัทธาปรารถนาจะถวายผ้าบังสุกุลแก่ท่าน จึงนำผ้าทิพย์ลงมาพาดไว้ที่ต้นไม้เตี้ยๆ ต้นหนึ่ง ระหว่างทางที่พระเถระจะเดินผ่าน เมื่อพบเหตุเช่นนั้น พระอนุรุทธแสดงความประหลาดใจ และเมื่อปรารภความถึงเจ้าของไม่มีแล้ว ท่านจึงอธิษฐานเป็นผ้าบังสุกุล การทอดผ้าป่า รวมทั้งการประดับประดาองค์ผ้าป่าด้วยกิ่งไม้ เอาผ้าทำเป็นรูปลิง ค่าง บ่าง ชะนี หรือผีเปรต ก็เป็นการอุปมาดังกล่าว
 
           '''กำหนดการจัดงานประเพณีทอดผ้าป่าแถว จังหวัดกำแพงเพชร'''
 
           '''กำหนดการจัดงานประเพณีทอดผ้าป่าแถว จังหวัดกำแพงเพชร'''
 
           ชาวกำแพงเพชรทุกหมู่บ้านและตำบล จะพากันจัดงานบุญ “ทอดผ้าป่าแถว” กัน ทุกวันในช่วงเทศกาลลอยกระทง
 
           ชาวกำแพงเพชรทุกหมู่บ้านและตำบล จะพากันจัดงานบุญ “ทอดผ้าป่าแถว” กัน ทุกวันในช่วงเทศกาลลอยกระทง
 
           ในอดีต กระทำเฉพาะในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันลอยกระทง) ณ วัดบาง ปัจจุบัน กระทำในวันขึ้น15 ค่ำ เดือน 12 (วันลอยกระทง) ณ วัดบาง และในงานประเพณีนบพระเล่นเพลง ณ วัดพระแก้ว อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
 
           ในอดีต กระทำเฉพาะในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันลอยกระทง) ณ วัดบาง ปัจจุบัน กระทำในวันขึ้น15 ค่ำ เดือน 12 (วันลอยกระทง) ณ วัดบาง และในงานประเพณีนบพระเล่นเพลง ณ วัดพระแก้ว อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
+
[[ไฟล์:1 อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร.jpg|500px|thumb|center]]
ภาพที่ 1 อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร''' </p>
(ที่มา : สันติ อภัยราช, 2540)
+
[[ไฟล์:2 ประเพณีทอดผ้าป่าแถว.jpg|500px|thumb|center]]
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2 ประเพณีทอดผ้าป่าแถว ณ อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร''' </p> 
ภาพที่ 2 ประเพณีทอดผ้าป่าแถว ณ อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
+
          '''กิจกรรมและพิธี'''
(ที่มา : สันติ อภัยราช, 2540)
+
          เมื่อถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ชาวบ้านแต่ละครัวเรือนจะจัดหากิ่งไม้ 1 กิ่ง เทียนไขหรือเทียนขี้ผึ้งก็ได้ 1 ดอก และ ผ้า 1 ผืน จะเป็นผ้าสบง หรือจัดให้ครบไตรจีวรเลยก็ได้ หรืออาจจะใช้ผ้าอื่นๆ เช่น ผ้าห่ม หรือ ผ้าเช็ดตัวก็ได้ ของสามอย่างอันได้แก่ กิ่งไม้ เทียน และผ้านี้นับว่าสำคัญที่สุด ขาดมิได้
กิจกรรมและพิธี
+
          สำหรับการทอดผ้าป่าแถวนอกจากของ 3 อย่างแล้ว ก็จะจัดเครื่องไทยทานธรรมตามกำลังศรัทธาและทุนทรัพย์ เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง ผลไม้ บริขารของใช้ต่างๆ ที่จำเป็นแก่พระภิกษุสงฆ์ บรรจุในชะลอม กระชุ กระบุงหรือภาชนะอื่นๆ ที่เห็นสมควร บางรายอาจจะตกแต่งภาชนะบรรจุบริขารต่างๆ เหล่านั้นเป็นรูปวิจิตรบรรจงมากมายหลายแบบ ทำเป็นรูปช้างบ้าง รูปศพผีตายบ้างก็มีบางรายเอาผ้าเช็ดหน้าหรือผ้าขนหนูผืนเล็กพับเป็นรูปชะนีห้อยไว้ที่กิ่งไม้ด้วย บางรายเอาธนบัตรห้อยประดับเพิ่มเข้าไปอีกก็มีส่วนทางวัดก็จะจัดเตรียมสถานที่ จัดทำสลากรายนามพระภิกษุทั้งวัด รวมทั้งจากพระวัดอื่นๆ ที่นิมนต์มาร่วมด้วย นอกจากนั้นยังร่วมกับกรรมการวัดและชาวบ้านที่มีฐานะดี จัดหามหรสพต่างๆ เช่นลิเก ภาพยนตร์ ดนตรี ฯลฯ มาเตรียมไว้แสดงในค่ำคืนนั้นด้วย ครั้นตกกลางคืน เริ่มตั้งแต่เวลา 19.00 น. เป็นต้นไป ชาวบ้านนำองค์ผ้าป่าแถวที่เตรียมไว้มาจัดแจงปักกิ่งไม้ของตนลงในบริเวณลานวัดที่จัดไว้ ให้เป็นแถวเป็นระเบียบเรียบร้อย เสร็จแล้วเอาผ้าพาดไว้บนกิ่งไม้ เอาเครื่องไทยธรรมวางไว้ใต้กิ่งไม้ เมื่อตั้งแถวผ้าป่าเรียบร้อยแล้ว อาจเตรียมตัวไปชมมหรสพต่างๆ เป็นการฆ่าเวลาเสียก่อนพอถึงเวลาอันสมควร ทายกวัดจะป่าวร้องให้เจ้าของผ้าป่าไปจับสลากรายนามพระภิกษุเมื่อได้รับรายนามพระภิกษุแล้ว เจ้าของผ้าป่าจะเอามากลัดติดไว้กับผ้าที่ห้อยอยู่บนกิ่งไม้ของตนแล้วจุดเทียนปักไว้ใกล้ๆ ผ้าให้พอมองเห็นสลากนามพระภิกษุมาชักผ้าของตน
เมื่อถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ชาวบ้านแต่ละครัวเรือนจะจัดหากิ่งไม้ 1 กิ่ง เทียนไขหรือเทียนขี้ผึ้งก็ได้ 1 ดอก และ ผ้า 1 ผืน จะเป็นผ้าสบง หรือจัดให้ครบไตรจีวรเลยก็ได้ หรืออาจจะใช้ผ้าอื่นๆ เช่น ผ้าห่ม หรือ ผ้าเช็ดตัวก็ได้ ของสามอย่างอันได้แก่ กิ่งไม้ เทียน และผ้านี้นับว่าสำคัญที่สุด ขาดมิได้
+
          ถึงตอนนี้ลูกศิษย์พระจะจุดเทียน มาเที่ยวส่องหาชื่อพระอาจารย์ตน เพื่อจะจำไว้ว่าได้ผ้าป่ากี่กอง และอยู่ตรงไหนบ้างเมื่อเวลาชักผ้าจะได้นำอาจารย์ของตนไปถูก ส่วนพระบางรูปที่ไม่มีลูกศิษย์ก็ต้องรอให้ถึงเวลาชักผ้า แล้วเดินมาหาเอาเอง
สำหรับการทอดผ้าป่าแถวนอกจากของ 3 อย่างแล้ว ก็จะจัดเครื่องไทยทานธรรมตามกำลังศรัทธาและทุนทรัพย์ เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง ผลไม้ บริขารของใช้ต่างๆ ที่จำเป็นแก่พระภิกษุสงฆ์ บรรจุในชะลอม กระชุ กระบุงหรือภาชนะอื่นๆ ที่เห็นสมควร บางรายอาจจะตกแต่งภาชนะบรรจุบริขารต่างๆ เหล่านั้นเป็นรูปวิจิตรบรรจงมากมายหลายแบบ ทำเป็นรูปช้างบ้าง รูปศพผีตายบ้างก็มีบางรายเอาผ้าเช็ดหน้าหรือผ้าขนหนูผืนเล็กพับเป็นรูปชะนีห้อยไว้ที่กิ่งไม้ด้วย บางรายเอาธนบัตรห้อยประดับเพิ่มเข้าไปอีกก็มีส่วนทางวัดก็จะจัดเตรียมสถานที่ จัดทำสลากรายนามพระภิกษุทั้งวัด รวมทั้งจากพระวัดอื่นๆ ที่นิมนต์มาร่วมด้วย นอกจากนั้นยังร่วมกับกรรมการวัดและชาวบ้านที่มีฐานะดี จัดหามหรสพต่างๆ เช่นลิเก ภาพยนตร์ ดนตรี ฯลฯ มาเตรียมไว้แสดงในค่ำคืนนั้นด้วย ครั้นตกกลางคืน เริ่มตั้งแต่เวลา 19.00 น. เป็นต้นไป ชาวบ้านนำองค์ผ้าป่าแถวที่เตรียมไว้มาจัดแจงปักกิ่งไม้ของตนลงในบริเวณลานวัดที่จัดไว้ ให้เป็นแถวเป็นระเบียบเรียบร้อย เสร็จแล้วเอาผ้าพาดไว้บนกิ่งไม้ เอาเครื่องไทยธรรมวางไว้ใต้กิ่งไม้ เมื่อตั้งแถวผ้าป่าเรียบร้อยแล้ว อาจเตรียมตัวไปชมมหรสพต่างๆ เป็นการฆ่าเวลาเสียก่อนพอถึงเวลาอันสมควร ทายกวัดจะป่าวร้องให้เจ้าของผ้าป่าไปจับสลากรายนามพระภิกษุเมื่อได้รับรายนามพระภิกษุแล้ว เจ้าของผ้าป่าจะเอามากลัดติดไว้กับผ้าที่ห้อยอยู่บนกิ่งไม้ของตนแล้วจุดเทียนปักไว้ใกล้ๆ ผ้าให้พอมองเห็นสลากนามพระภิกษุมาชักผ้าของตน
+
          พิธีชักผ้าป่าก็จะเริ่มเวลาประมาณ 21.00-22.00 น. เมื่อได้เวลาทายกจะเคาะระฆังเป็นสัญญาณนิมนต์พระ มหรสพจะหยุดชั่วคราว ประชาชนที่มาในงานจะอยู่ในความสงบสำรวม พระภิกษุทุกรูปจะครองจีวรมือถือตาลปัตรเดินตามแสงเทียนของลูกศิษย์ ออกไปชักผ้าตามรายนามของท่าน ตามวิธีที่พุทธศาสนาบัญญัติไว้ มองดูเหลืองอร่ามเต็มลานวัดเบื้องล่าง ท่ามกลางแสงเดือนเพ็ญเหลือง ลอยทรงกลดอันสวยงามอยู่บนฟ้าเบื้องสูงยิ่งนักโดยเฉพาะการทอดผ้าป่าแถวที่วัดบาง และวัดพระบรมธาตุนั้น ทุกปีจะมีกองผ้าป่ามาตั้งมากมายมหาศาล จนลานวัดอันกว้างใหญ่ดูแคบลงทันที พระภิกษุทุกรูปรวมทั้งพระที่ได้รับนิมนต์มาจากวัดใกล้เคียง ต่างได้รับถวายผ้าป่ากันรูปละหลายกอง จนขนเครื่องไทยธรรมกลับวัดแทบไม่ไหว หลังจากพระภิกษุชักผ้าป่าเรียบรอยแล้ว ลูกศิษย์จะขนเครื่องไทยธรรมกลับกุฏิหรือกลับวัด ส่วนพระภิกษุทุกรูปจะไปนั่งรวมกันเป็นระเบียบ ณ ที่ที่ทางวัดจัดไว้ แล้วให้ศีลเจริญพระพุทธมนต์ อวยชัยให้พร อนุโมทนาแก่ผู้บริจาคผ้าป่า เป็นเสร็จพิธีทอดผ้าป่าสิ้นเสียงพระสงฆ์ มหรสพต่างๆ จะแสดงต่อทันที ถึงตอนนี้ชาวบ้านบางกลุ่มจะเตร็ดเตร่ไปเลือกชมมหรสพที่ตนพอใจ แต่บางกลุ่มก็จะเดินออกจากวัดไปหน้าเมืองสู่ริมแม่น้ำปิง และชักชวนกันลอยกระทงลงบนสายน้ำ โดยคนกำแพงเพชรรุ่นเก่าถือคติในการลอยกระทงว่า เพื่อสักการบูชาแด่พระมหาเถรอุปคุตเจ้าซึ่งสถิต ณ ใจกลางทะเลหลวง อันแปลกไปจากคติของท้องถิ่นต่างๆ บ้าง แต่ในปัจจุบันคตินี้คงเลือนไปแล้ว จะเห็นว่าประเพณีการทอดผ้าป่าแถวของกำแพงเพชรนั้น แปลกกว่าการทอดผ้าป่าธรรมดา หรือการทอดผ้าป่าในท้องถิ่นอื่นๆ ด้วยเหตุว่า ทำกันมาเป็นประเพณีโดยมีต้องนัดหมาย หากพร้อมใจกันนำมาทอดในวันลอยกระทง มีผลทำให้มีคนมาร่วมงานเป็นอันมาก เพราะได้รับความสนุกสนานบันเทิงไปพร้อมกันด้วย และทำให้วันลอยกระทงในท้องถิ่นนี้มีความหมายยิ่งขึ้น
ถึงตอนนี้ลูกศิษย์พระจะจุดเทียน มาเที่ยวส่องหาชื่อพระอาจารย์ตน เพื่อจะจำไว้ว่าได้ผ้าป่ากี่กอง และอยู่ตรงไหนบ้างเมื่อเวลาชักผ้าจะได้นำอาจารย์ของตนไปถูก ส่วนพระบางรูปที่ไม่มีลูกศิษย์ก็ต้องรอให้ถึงเวลาชักผ้า แล้วเดินมาหาเอาเอง
+
==='''ความสำคัญ'''===
พิธีชักผ้าป่าก็จะเริ่มเวลาประมาณ 21.00-22.00 น. เมื่อได้เวลาทายกจะเคาะระฆังเป็นสัญญาณนิมนต์พระ มหรสพจะหยุดชั่วคราว ประชาชนที่มาในงานจะอยู่ในความสงบสำรวม พระภิกษุทุกรูปจะครองจีวรมือถือตาลปัตรเดินตามแสงเทียนของลูกศิษย์ ออกไปชักผ้าตามรายนามของท่าน ตามวิธีที่พุทธศาสนาบัญญัติไว้ มองดูเหลืองอร่ามเต็มลานวัดเบื้องล่าง ท่ามกลางแสงเดือนเพ็ญเหลือง ลอยทรงกลดอันสวยงามอยู่บนฟ้าเบื้องสูงยิ่งนักโดยเฉพาะการทอดผ้าป่าแถวที่วัดบาง และวัดพระบรมธาตุนั้น ทุกปีจะมีกองผ้าป่ามาตั้งมากมายมหาศาล จนลานวัดอันกว้างใหญ่ดูแคบลงทันที พระภิกษุทุกรูปรวมทั้งพระที่ได้รับนิมนต์มาจากวัดใกล้เคียง ต่างได้รับถวายผ้าป่ากันรูปละหลายกอง จนขนเครื่องไทยธรรมกลับวัดแทบไม่ไหว หลังจากพระภิกษุชักผ้าป่าเรียบรอยแล้ว ลูกศิษย์จะขนเครื่องไทยธรรมกลับกุฏิหรือกลับวัด ส่วนพระภิกษุทุกรูปจะไปนั่งรวมกันเป็นระเบียบ ณ ที่ที่ทางวัดจัดไว้ แล้วให้ศีลเจริญพระพุทธมนต์ อวยชัยให้พร อนุโมทนาแก่ผู้บริจาคผ้าป่า เป็นเสร็จพิธีทอดผ้าป่าสิ้นเสียงพระสงฆ์ มหรสพต่างๆ จะแสดงต่อทันที ถึงตอนนี้ชาวบ้านบางกลุ่มจะเตร็ดเตร่ไปเลือกชมมหรสพที่ตนพอใจ แต่บางกลุ่มก็จะเดินออกจากวัดไปหน้าเมืองสู่ริมแม่น้ำปิง และชักชวนกันลอยกระทงลงบนสายน้ำ โดยคนกำแพงเพชรรุ่นเก่าถือคติในการลอยกระทงว่า เพื่อสักการบูชาแด่พระมหาเถรอุปคุตเจ้าซึ่งสถิต ณ ใจกลางทะเลหลวง อันแปลกไปจากคติของท้องถิ่นต่างๆ บ้าง แต่ในปัจจุบันคตินี้คงเลือนไปแล้ว จะเห็นว่าประเพณีการทอดผ้าป่าแถวของกำแพงเพชรนั้น แปลกกว่าการทอดผ้าป่าธรรมดา หรือการทอดผ้าป่าในท้องถิ่นอื่นๆ ด้วยเหตุว่า ทำกันมาเป็นประเพณีโดยมีต้องนัดหมาย หากพร้อมใจกันนำมาทอดในวันลอยกระทง มีผลทำให้มีคนมาร่วมงานเป็นอันมาก เพราะได้รับความสนุกสนานบันเทิงไปพร้อมกันด้วย และทำให้วันลอยกระทงในท้องถิ่นนี้มีความหมายยิ่งขึ้น
+
          เป็นวันที่พุทธศาสนิกชนจะได้ถวายเครื่องนุ่งห่มและไทยธรรม เป็นเครื่องบูชาแด่พระสงฆ์ก่อนจะทำพิธีลอยกระทงบูชาพระพุทธบาทตามคติความเชื่อแต่โบราณ ในอดีต เนื่องจากในเขตชุมชนเมืองกำแพงเพชรมีวัดสำคัญ 3 วัด คือ วัดบาง วัดคูยาง วัดเสด็จ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดพิธีบุญในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ชาวเมืองจึงนัดหมายกันประกอบพิธีบุญใหญ่หมุนเวียนกันไปตามวัดทั้ง 3 วัด เมื่อกำหนดประกอบพิธีบุญใหญ่ในวัดใด ก็จะนิมนต์พระสงฆ์จากวัดอื่นอีก 2 วัดมาร่วมประกอบพิธีกันในคราวเดียว
1.8 ความสำคัญ
+
          แสดงถึงความสามัคคีและความพร้อมเพรียงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวของชาวเมืองกำแพงเพชรในการจัดการให้เกิดความสะดวกแก่การประกอบพิธีบุญร่วมกัน และส่วนของความสนุกสนานก็นับว่าเป็นกุศโลบายนำเด็กและเยาวชนให้รู้จักและสืบทอดประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นต่อไป
เป็นวันที่พุทธศาสนิกชนจะได้ถวายเครื่องนุ่งห่มและไทยธรรม เป็นเครื่องบูชาแด่พระสงฆ์ก่อนจะทำพิธีลอยกระทงบูชาพระพุทธบาทตามคติความเชื่อแต่โบราณ ในอดีต เนื่องจากในเขตชุมชนเมืองกำแพงเพชรมีวัดสำคัญ 3 วัด คือ วัดบาง วัดคูยาง วัดเสด็จ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดพิธีบุญในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ชาวเมืองจึงนัดหมายกันประกอบพิธีบุญใหญ่หมุนเวียนกันไปตามวัดทั้ง 3 วัด เมื่อกำหนดประกอบพิธีบุญใหญ่ในวัดใด ก็จะนิมนต์พระสงฆ์จากวัดอื่นอีก 2 วัดมาร่วมประกอบพิธีกันในคราวเดียว
 
แสดงถึงความสามัคคีและความพร้อมเพรียงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวของชาวเมืองกำแพงเพชรในการจัดการให้เกิดความสะดวกแก่การประกอบพิธีบุญร่วมกัน และส่วนของความสนุกสนานก็นับว่าเป็นกุศโลบายนำเด็กและเยาวชนให้รู้จักและสืบทอดประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นต่อไป
 
 
การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ สร้างจิตสำนึกของความเป็นคนท้องถิ่นนั้นๆ ที่จะต้องร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุนให้มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหรือพิพิธภัณฑ์ชุมชนขึ้น เพื่อแสดงสภาพชีวิตและความเป็นมาของชุมชน อันจะสร้างความรู้และความภูมิใจในชุมชนท้องถิ่นด้วย
 
การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ สร้างจิตสำนึกของความเป็นคนท้องถิ่นนั้นๆ ที่จะต้องร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุนให้มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหรือพิพิธภัณฑ์ชุมชนขึ้น เพื่อแสดงสภาพชีวิตและความเป็นมาของชุมชน อันจะสร้างความรู้และความภูมิใจในชุมชนท้องถิ่นด้วย
+
[[ไฟล์:ภาพที่ 4 การทอดผ้าป่าแถว.jpg|500px|thumb|center]]
ภาพที่ 3 การทอดผ้าป่าแถว ณ อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3 การทอดผ้าป่าแถว ณ อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร''' </p>
(ที่มา : สันติ อภัยราช, 2540)
+
=='''ข้อมูลการสำรวจ'''==
 
+
==='''แหล่งอ้างอิง'''===
 
+
[[ไฟล์:นายสันติ.jpg|500px|thumb|center]]
 
+
          '''ประวัติผู้ทรงภูมิปัญญา'''
 
+
ชื่อ นายสันติ นามสกุล อภัยราช
 
+
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย  
2. ข้อมูลการสำรวจ
+
วัน เดือน ปีเกิด 4 ตุลาคม พ.ศ.2490 อายุ 60 ปี ภูมิลำเนา(บ้านเกิด) จังหวัดกำแพงเพชร
2.1 แหล่งอ้างอิง
+
ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้)
+
บ้านเลขที่ 202/14 ซอยอภัยราช ถนนกำแพงเพชร นครชุม หมู่ที่ 3 ตำบลนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ 62000
ประวัติผู้ทรงภูมิปัญญา
+
โทรศัพท์ 055-738824 โทรศัพท์มือถือ 081-4755557
ชื่อ นายสันติ นามสกุล อภัยราช
+
สถานที่ทำงาน โรงเรียนวชิรปราการวิทยาคม ตำบลนครชุม อำเภอเมือง กำแพงเพชร  
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย  
+
โทรศัพท์ 055-799034 ต่อ 110
วัน เดือน ปีเกิด ตุลาคม พ.ศ.๒๔๙๐ อายุ ๖๐ ปี ภูมิลำเนา(บ้านเกิด) จังหวัดกำแพงเพชร
+
ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง อาจารย์ 3 ระดับ 9 ด้านภาษาและวรรณกรรม
ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้)
+
ตำแหน่งพิเศษ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร 2 สมัย
บ้านเลขที่ ๒๐๒/๑๔ ซอยอภัยราช ถนนกำแพงเพชร นครชุม หมู่ที่ ๓ ตำบล นครชุม
+
ตำแหน่งพิเศษ รองประธานสภาวัฒนธรรมภาคเหนือ
อำเภอ เมือง จังหวัด กำแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ ๖๒๐๐๐
+
==='''วันเดือนปีที่สำรวจ'''===
โทรศัพท์ ๐๕๕ ๗๓๘ ๘๒๔ โทรศัพท์มือถือ ๐๘๑ ๔๗๕๕๕๕๗
+
          16 กุมภาพันธ์ 2561
สถานที่ทำงาน โรงเรียนวชิรปราการวิทยาคม ตำบลนครชุม อำเภอเมือง กำแพงเพชร  
+
==='''วันที่ปรับปรุงข้อมูล'''===
โทรศัพท์ ๐๕๕ ๗๙๙๐๓๔ ต่อ ๑๑๐
+
          -
ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง อาจารย์ ระดับ ด้านภาษาและวรรณกรรม
+
==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''===
ตำแหน่งพิเศษ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร สมัย
+
          นาย เอกชัย เส็งคิม   
ตำแหน่งพิเศษ รองประธานสภาวัฒนธรรมภาคเหนือ
+
==='''คำสำคัญ (tag)'''===
บรรณานุกรม
+
          ทอดผ้าป่าแถว, จังหวัดกำแพงเพชร
สันติ อภัยราช. (2540). วัฒนธรรมกับเมืองกำแพงเพชร. สภาวัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร.
 
2.2 วันเดือนปีที่สำรวจ
 
16 กุมภาพันธ์ 2561
 
2.3 วันที่ปรับปรุงข้อมูล
 
-
 
2.4 ผู้สำรวจข้อมูล
 
นาย เอกชัย เส็งคิม  นักศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
 
2.5 คำสำคัญ (tag)
 
ทอดผ้าป่าแถว, จังหวัดกำแพงเพชร
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:35, 25 กุมภาพันธ์ 2564

ข้อมูลทั่วไป[แก้ไข]

ชื่อเรียก[แก้ไข]

         ประเพณีทอดผ้าป่าแถว

ชื่อเรียกอื่น[แก้ไข]

         ทอดผ้าป่าแถว

เดือนที่จัดงาน[แก้ไข]

         วันลอยกระทง

เวลาทางจันทรคติ[แก้ไข]

         ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12

สถานที่[แก้ไข]

         ณ วัดพระแก้ว อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

ประเภทประเพณี[แก้ไข]

         ขนบประเพณี (ประเพณีเกี่ยวกับเทศกาล)

ประวัติความเป็นมา[แก้ไข]

         ประวัติและความเป็นมาประเพณีการทอดผ้าป่าแถวของจังหวัดกำแพงเพชร
         ประเพณีการทอดผ้าป่าแถวของจังหวัดกำแพงเพชร มีประวัติย้อนไปถึงสมัยพุทธกาล เมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ยังไม่ได้มีพุทธานุญาตให้ภิกษุรับจีวรจากชาวบ้านได้ ภิกษุทั้งหลาย จึงต้องเที่ยวไปเก็บผ้าที่เจ้าของเขาทิ้งแล้ว เช่น ผ้าเปรอะเปื้อน ผ้าบังสุกุล (ผ้าเปื้อนฝุ่น) หรือผ้าห่อศพ ตามป่าช้า หรือตามป่า ทั่วไป แล้วนำผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อยเหล่านั้น มาซักเย็บปะติดปะต่อกัน แล้วย้อมเป็นสบงจีวรสังฆาฏิตามต้องการ
         ด้วยเหตุนี้การทำจีวรของพระภิกษุในครั้งนั้น จึงต้องช่วยกันทำหลายรูป และการที่มีพุทธานุญาตให้คนตัดเย็บจีวรเป็นขันธ์ อย่างกระทงนาของชาวมคธ ก็เพื่ออำนวยความสะดวกในการนำผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อยมาปะติดปะต่อกันนั่นเอง เวลาต่อมาชาวบ้านเห็นความยากลำบากของพระสงฆ์ แต่จะนำผ้าไปถวายโดยตรงไม่ได้เพราะยังมิได้มีพุทธานุญาต ผู้มีศรัทธาจึงนำผ้าไปทิ้งไว้ในป่าช้า และตามที่ต่างๆ ที่ไม่ไกลจากกุฏิพระภิกษุ เพื่อให้พระภิกษุไปพบเล้วนำเอาไปทำจีวรได้ตามประสงค์
         อนึ่ง ก่อนจะเกิดการ “ทิ้งผ้าตามป่า” มีตำนานพุทธศาสนาในพระธรรมบทขุททกนิกายสคถาวรรค เรื่อง นาคเทพธิดาถวายผ้าป่าแก่พระอนุรุทธเถระว่า คราวหนึ่งพระอนุรุทธเถระผู้เป็นอรหันต์เที่ยวหาบังสุกุลจีวรตามแนวป่า เดินเข้าไปในป่าด้วยใจหวังว่าจะได้พบผ้าสักผืนหนึ่ง ขณะที่พระอนุรุทธรำพึงเช่นนั้น เทพธิดานางหนึ่งซึ่งชาติก่อนเคยเป็นภรรยาของพระอนุรุทธมีศรัทธาปรารถนาจะถวายผ้าบังสุกุลแก่ท่าน จึงนำผ้าทิพย์ลงมาพาดไว้ที่ต้นไม้เตี้ยๆ ต้นหนึ่ง ระหว่างทางที่พระเถระจะเดินผ่าน เมื่อพบเหตุเช่นนั้น พระอนุรุทธแสดงความประหลาดใจ และเมื่อปรารภความถึงเจ้าของไม่มีแล้ว ท่านจึงอธิษฐานเป็นผ้าบังสุกุล การทอดผ้าป่า รวมทั้งการประดับประดาองค์ผ้าป่าด้วยกิ่งไม้ เอาผ้าทำเป็นรูปลิง ค่าง บ่าง ชะนี หรือผีเปรต ก็เป็นการอุปมาดังกล่าว
         กำหนดการจัดงานประเพณีทอดผ้าป่าแถว จังหวัดกำแพงเพชร
         ชาวกำแพงเพชรทุกหมู่บ้านและตำบล จะพากันจัดงานบุญ “ทอดผ้าป่าแถว” กัน ทุกวันในช่วงเทศกาลลอยกระทง
         ในอดีต กระทำเฉพาะในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันลอยกระทง) ณ วัดบาง ปัจจุบัน กระทำในวันขึ้น15 ค่ำ เดือน 12 (วันลอยกระทง) ณ วัดบาง และในงานประเพณีนบพระเล่นเพลง ณ วัดพระแก้ว อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
1 อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร.jpg

ภาพที่ 1 อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

2 ประเพณีทอดผ้าป่าแถว.jpg

ภาพที่ 2 ประเพณีทอดผ้าป่าแถว ณ อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

         กิจกรรมและพิธี
         เมื่อถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ชาวบ้านแต่ละครัวเรือนจะจัดหากิ่งไม้ 1 กิ่ง เทียนไขหรือเทียนขี้ผึ้งก็ได้ 1 ดอก และ ผ้า 1 ผืน จะเป็นผ้าสบง หรือจัดให้ครบไตรจีวรเลยก็ได้ หรืออาจจะใช้ผ้าอื่นๆ เช่น ผ้าห่ม หรือ ผ้าเช็ดตัวก็ได้ ของสามอย่างอันได้แก่ กิ่งไม้ เทียน และผ้านี้นับว่าสำคัญที่สุด ขาดมิได้
         สำหรับการทอดผ้าป่าแถวนอกจากของ 3 อย่างแล้ว ก็จะจัดเครื่องไทยทานธรรมตามกำลังศรัทธาและทุนทรัพย์ เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง ผลไม้ บริขารของใช้ต่างๆ ที่จำเป็นแก่พระภิกษุสงฆ์ บรรจุในชะลอม กระชุ กระบุงหรือภาชนะอื่นๆ ที่เห็นสมควร บางรายอาจจะตกแต่งภาชนะบรรจุบริขารต่างๆ เหล่านั้นเป็นรูปวิจิตรบรรจงมากมายหลายแบบ ทำเป็นรูปช้างบ้าง รูปศพผีตายบ้างก็มีบางรายเอาผ้าเช็ดหน้าหรือผ้าขนหนูผืนเล็กพับเป็นรูปชะนีห้อยไว้ที่กิ่งไม้ด้วย บางรายเอาธนบัตรห้อยประดับเพิ่มเข้าไปอีกก็มีส่วนทางวัดก็จะจัดเตรียมสถานที่ จัดทำสลากรายนามพระภิกษุทั้งวัด รวมทั้งจากพระวัดอื่นๆ ที่นิมนต์มาร่วมด้วย นอกจากนั้นยังร่วมกับกรรมการวัดและชาวบ้านที่มีฐานะดี จัดหามหรสพต่างๆ เช่นลิเก ภาพยนตร์ ดนตรี ฯลฯ มาเตรียมไว้แสดงในค่ำคืนนั้นด้วย ครั้นตกกลางคืน เริ่มตั้งแต่เวลา 19.00 น. เป็นต้นไป ชาวบ้านนำองค์ผ้าป่าแถวที่เตรียมไว้มาจัดแจงปักกิ่งไม้ของตนลงในบริเวณลานวัดที่จัดไว้ ให้เป็นแถวเป็นระเบียบเรียบร้อย เสร็จแล้วเอาผ้าพาดไว้บนกิ่งไม้ เอาเครื่องไทยธรรมวางไว้ใต้กิ่งไม้ เมื่อตั้งแถวผ้าป่าเรียบร้อยแล้ว อาจเตรียมตัวไปชมมหรสพต่างๆ เป็นการฆ่าเวลาเสียก่อนพอถึงเวลาอันสมควร ทายกวัดจะป่าวร้องให้เจ้าของผ้าป่าไปจับสลากรายนามพระภิกษุเมื่อได้รับรายนามพระภิกษุแล้ว เจ้าของผ้าป่าจะเอามากลัดติดไว้กับผ้าที่ห้อยอยู่บนกิ่งไม้ของตนแล้วจุดเทียนปักไว้ใกล้ๆ ผ้าให้พอมองเห็นสลากนามพระภิกษุมาชักผ้าของตน
         ถึงตอนนี้ลูกศิษย์พระจะจุดเทียน มาเที่ยวส่องหาชื่อพระอาจารย์ตน เพื่อจะจำไว้ว่าได้ผ้าป่ากี่กอง และอยู่ตรงไหนบ้างเมื่อเวลาชักผ้าจะได้นำอาจารย์ของตนไปถูก ส่วนพระบางรูปที่ไม่มีลูกศิษย์ก็ต้องรอให้ถึงเวลาชักผ้า แล้วเดินมาหาเอาเอง
         พิธีชักผ้าป่าก็จะเริ่มเวลาประมาณ 21.00-22.00 น. เมื่อได้เวลาทายกจะเคาะระฆังเป็นสัญญาณนิมนต์พระ มหรสพจะหยุดชั่วคราว ประชาชนที่มาในงานจะอยู่ในความสงบสำรวม พระภิกษุทุกรูปจะครองจีวรมือถือตาลปัตรเดินตามแสงเทียนของลูกศิษย์ ออกไปชักผ้าตามรายนามของท่าน ตามวิธีที่พุทธศาสนาบัญญัติไว้ มองดูเหลืองอร่ามเต็มลานวัดเบื้องล่าง ท่ามกลางแสงเดือนเพ็ญเหลือง ลอยทรงกลดอันสวยงามอยู่บนฟ้าเบื้องสูงยิ่งนักโดยเฉพาะการทอดผ้าป่าแถวที่วัดบาง และวัดพระบรมธาตุนั้น ทุกปีจะมีกองผ้าป่ามาตั้งมากมายมหาศาล จนลานวัดอันกว้างใหญ่ดูแคบลงทันที พระภิกษุทุกรูปรวมทั้งพระที่ได้รับนิมนต์มาจากวัดใกล้เคียง ต่างได้รับถวายผ้าป่ากันรูปละหลายกอง จนขนเครื่องไทยธรรมกลับวัดแทบไม่ไหว หลังจากพระภิกษุชักผ้าป่าเรียบรอยแล้ว ลูกศิษย์จะขนเครื่องไทยธรรมกลับกุฏิหรือกลับวัด ส่วนพระภิกษุทุกรูปจะไปนั่งรวมกันเป็นระเบียบ ณ ที่ที่ทางวัดจัดไว้ แล้วให้ศีลเจริญพระพุทธมนต์ อวยชัยให้พร อนุโมทนาแก่ผู้บริจาคผ้าป่า เป็นเสร็จพิธีทอดผ้าป่าสิ้นเสียงพระสงฆ์ มหรสพต่างๆ จะแสดงต่อทันที ถึงตอนนี้ชาวบ้านบางกลุ่มจะเตร็ดเตร่ไปเลือกชมมหรสพที่ตนพอใจ แต่บางกลุ่มก็จะเดินออกจากวัดไปหน้าเมืองสู่ริมแม่น้ำปิง และชักชวนกันลอยกระทงลงบนสายน้ำ โดยคนกำแพงเพชรรุ่นเก่าถือคติในการลอยกระทงว่า เพื่อสักการบูชาแด่พระมหาเถรอุปคุตเจ้าซึ่งสถิต ณ ใจกลางทะเลหลวง อันแปลกไปจากคติของท้องถิ่นต่างๆ บ้าง แต่ในปัจจุบันคตินี้คงเลือนไปแล้ว จะเห็นว่าประเพณีการทอดผ้าป่าแถวของกำแพงเพชรนั้น แปลกกว่าการทอดผ้าป่าธรรมดา หรือการทอดผ้าป่าในท้องถิ่นอื่นๆ ด้วยเหตุว่า ทำกันมาเป็นประเพณีโดยมีต้องนัดหมาย หากพร้อมใจกันนำมาทอดในวันลอยกระทง มีผลทำให้มีคนมาร่วมงานเป็นอันมาก เพราะได้รับความสนุกสนานบันเทิงไปพร้อมกันด้วย และทำให้วันลอยกระทงในท้องถิ่นนี้มีความหมายยิ่งขึ้น

ความสำคัญ[แก้ไข]

         เป็นวันที่พุทธศาสนิกชนจะได้ถวายเครื่องนุ่งห่มและไทยธรรม เป็นเครื่องบูชาแด่พระสงฆ์ก่อนจะทำพิธีลอยกระทงบูชาพระพุทธบาทตามคติความเชื่อแต่โบราณ ในอดีต เนื่องจากในเขตชุมชนเมืองกำแพงเพชรมีวัดสำคัญ 3 วัด คือ วัดบาง วัดคูยาง วัดเสด็จ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดพิธีบุญในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ชาวเมืองจึงนัดหมายกันประกอบพิธีบุญใหญ่หมุนเวียนกันไปตามวัดทั้ง 3 วัด เมื่อกำหนดประกอบพิธีบุญใหญ่ในวัดใด ก็จะนิมนต์พระสงฆ์จากวัดอื่นอีก 2 วัดมาร่วมประกอบพิธีกันในคราวเดียว
         แสดงถึงความสามัคคีและความพร้อมเพรียงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวของชาวเมืองกำแพงเพชรในการจัดการให้เกิดความสะดวกแก่การประกอบพิธีบุญร่วมกัน และส่วนของความสนุกสนานก็นับว่าเป็นกุศโลบายนำเด็กและเยาวชนให้รู้จักและสืบทอดประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นต่อไป

การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ สร้างจิตสำนึกของความเป็นคนท้องถิ่นนั้นๆ ที่จะต้องร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุนให้มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหรือพิพิธภัณฑ์ชุมชนขึ้น เพื่อแสดงสภาพชีวิตและความเป็นมาของชุมชน อันจะสร้างความรู้และความภูมิใจในชุมชนท้องถิ่นด้วย

ภาพที่ 4 การทอดผ้าป่าแถว.jpg

ภาพที่ 3 การทอดผ้าป่าแถว ณ อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

ข้อมูลการสำรวจ[แก้ไข]

แหล่งอ้างอิง[แก้ไข]

นายสันติ.jpg
         ประวัติผู้ทรงภูมิปัญญา
ชื่อ นายสันติ นามสกุล อภัยราช
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย 
วัน เดือน ปีเกิด 4 ตุลาคม พ.ศ.2490 อายุ 60 ปี ภูมิลำเนา(บ้านเกิด) จังหวัดกำแพงเพชร
ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้)
บ้านเลขที่ 202/14 ซอยอภัยราช ถนนกำแพงเพชร นครชุม หมู่ที่ 3 ตำบลนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ 62000
โทรศัพท์ 055-738824 โทรศัพท์มือถือ 081-4755557
สถานที่ทำงาน โรงเรียนวชิรปราการวิทยาคม ตำบลนครชุม อำเภอเมือง กำแพงเพชร 
โทรศัพท์ 055-799034 ต่อ 110
ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง อาจารย์ 3 ระดับ 9 ด้านภาษาและวรรณกรรม
ตำแหน่งพิเศษ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร 2 สมัย
ตำแหน่งพิเศษ รองประธานสภาวัฒนธรรมภาคเหนือ

วันเดือนปีที่สำรวจ[แก้ไข]

         16 กุมภาพันธ์ 2561

วันที่ปรับปรุงข้อมูล[แก้ไข]

         -

ผู้สำรวจข้อมูล[แก้ไข]

         นาย เอกชัย เส็งคิม  

คำสำคัญ (tag)[แก้ไข]

         ทอดผ้าป่าแถว, จังหวัดกำแพงเพชร