ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แกงมัสมั่นกล้วยไข่ อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 2: แถว 2:
 
           “แกงมัสมั่น” เป็นอาหารเป็นประเภทเครื่องแกงที่ประวัติอยู่คู่กับประเทศไทยมาอย่างช้านานเกิดจากการแลกเปลี่ยนหรือการเข้ามามีอิทธิพลของอาหารและวัฒนธรรมการกินของต่างชาติกับคนไทย นอกจากนี้ “แกงมัสมั่น” ยังเป็นอาหารที่ติดอันดับ 1 ที่อร่อยที่สุดของโลก ซึ่งทางจังหวัดกำแพงเพชร ได้นำ “แกงมัสมั่น” มาผนวกกับ “กล้วยไข่” ที่เป็นของมีชื่อเสียงของจังหวัดกำแพงเพชรเพื่อทำเป็น “แกงมัสมั่นกล้วยไข่” ที่จะเพิ่มคุณค่าทางด้านอาหาร และเพิ่มความหลากหลายของการปรุงอาหาร สร้างเสริมและต่อยอดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของดีของเด่นจังหวัดกำแพงเพชร บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น 2) ประเภทของแกงมัสมั่นในประเทศไทย 3) ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่นกล้วยไข่จังหวัดกำแพงเพชร 4) ขั้นตอนและวิธีการทำของแกงมัสมั่นกล้วยไข่
 
           “แกงมัสมั่น” เป็นอาหารเป็นประเภทเครื่องแกงที่ประวัติอยู่คู่กับประเทศไทยมาอย่างช้านานเกิดจากการแลกเปลี่ยนหรือการเข้ามามีอิทธิพลของอาหารและวัฒนธรรมการกินของต่างชาติกับคนไทย นอกจากนี้ “แกงมัสมั่น” ยังเป็นอาหารที่ติดอันดับ 1 ที่อร่อยที่สุดของโลก ซึ่งทางจังหวัดกำแพงเพชร ได้นำ “แกงมัสมั่น” มาผนวกกับ “กล้วยไข่” ที่เป็นของมีชื่อเสียงของจังหวัดกำแพงเพชรเพื่อทำเป็น “แกงมัสมั่นกล้วยไข่” ที่จะเพิ่มคุณค่าทางด้านอาหาร และเพิ่มความหลากหลายของการปรุงอาหาร สร้างเสริมและต่อยอดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของดีของเด่นจังหวัดกำแพงเพชร บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น 2) ประเภทของแกงมัสมั่นในประเทศไทย 3) ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่นกล้วยไข่จังหวัดกำแพงเพชร 4) ขั้นตอนและวิธีการทำของแกงมัสมั่นกล้วยไข่
 
'''คำสำคัญ:''' แกงมัสมั่น, กล้วยไข่, จังหวัดกำแพงเพชร
 
'''คำสำคัญ:''' แกงมัสมั่น, กล้วยไข่, จังหวัดกำแพงเพชร
 +
=='''ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น'''==
 +
          แกงมัสมั่นตำรับดั้งเดิมนั้นเป็นของชาวอินเดีย เป็นเจ้าแห่งเครื่องเทศ นิยมใช้วัตถุดิบประเภทเนื้อในการปรุง และใส่เครื่องเทศอย่างเต็มที่ แกงมัสมั่นของชาวอินเดียจึงมีรสชาติที่เผ็ดร้อน หวาน เค็ม และมัน แต่เมื่อชาวอินเดียย้ายไปตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเมืองต่าง ๆ ก็ไม่ลืมที่จะนำแกงมัสมั่นเข้าไปยังประเทศนั้น ๆ ด้วย แต่ก็ได้มีการปรับเปลี่ยนสูตรให้ถูกกับรสชาติของประเทศนั้น ๆ เช่น การเปลี่ยนเนื้อสัตว์ และการเพิ่ม-ลดเครื่องเทศ แต่ว่าแกงมัสมั่นในประเทศไทยนั้นมีมาตั้งแต่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช นำเข้ามาโดยแขกเปอร์เซีย หรือชาวอิหร่านจะสันนิษฐานว่าคำว่า “มัสมั่น” มาจากภาษาเปอร์เซียคำว่า “มุสลิมมาน” ซึ่งหมายถึง ชาวมุสลิม จึงถือได้ว่าเมนูมัสมั่นนี้เป็นการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมทางอาหารระหว่างไทยกับเปอร์เซีย และเข้ามาอยู่ในทำเนียบอาหารไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 2 หรือประมาณ 230 กว่าปีมาแล้ว แต่จะเห็นได้ว่า ในบทประพันธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ว่า “มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา” ซึ่งเป็นหลักฐานได้ว่า แกงมัสมั่นได้เข้ามามีอิทธิพลในไทยมาก่อนที่จะเข้าทำเนียบอาหารในรัชกาลที่ 2 แล้วเสียอีก ซึ่งแกงมัสมั่นตำรับชาวไทยนั้นได้รับอิทธิพลมาจากอาหารมลายู จะกล่าวได้ว่า แกงมัสมั่นเดิมที่เป็นอาหารของขาวอินเดียซึ้งเป็นอาหารที่ส่วนใหญ่เครื่องเทศและเป็นส่วนประกอบหลักของเครื่องแกงมัสมั่น ต่อมาไทยเราได้รับอิทธิพลมาจากชาวแขกเปอร์เซียที่ตอนนั้นไทยได้มีการค้าขายกับต่างประเทศทำให้ไทยได้รับอิทธิพลการกินเครื่องเทศด้วยทำให้ไทยเรารู้จากการทำแกงมัสมั่นมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน (ครัวโบราณ บ้านน้ำพริก, 2559)
 +
          จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่า แกงมัสมั่นได้เข้ามาที่ไทยและเกิดการแพร่กระจายไปทั่วจึงทำให้เกิดการชอบรสชาติของแกงและเครื่องเทศนั่นมีความจัดเต็มทำให้เกิดความอร่อยถูกปากกับคนไทยแกงมัสมั่นนั่นจึงเป็นที่นิยมและเป็นแกงที่ขึ้นชื่อทำมีความโด่งดั่งของแกงมัสมั่นที่เด่นทางด้านเครื่องเทศหรือจัดเต็มในเรื่องของเครื่องเทศที่จะนำมาทำแกงมัสมั่น
 +
          “แกงมัสมั่น” เนื่องด้วยหน้าตาของแกงที่มีสีแดงส้มรสชาติเข้มข้น ทั้งหวาน เค็ม เผ็ด คงเป็นสิ่งที่คนไทยคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เพราะไม่ว่าจะเป็นราดข้าวแกงข้างถนนหรือร้านระดับดาวมิชลินก็สามารถพบกับเมนูนี้ได้พร้อมกับรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ ซึ่งถ้าหากยังจำกันได้ว่า ในช่วงปี 2017 แกงมัสมั่นก็ได้สร้างชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยเว็บไซต์ CNN ได้มีการประกาศรายชื่อ 50 อันดับ เมนูอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก ซึ่งรายชื่อทั้งหมดมาจากการสำรวจอารหารของ CNN ทั้งหมด ทั้งนี้ “แกงมัสมั่น” ของไทยก็ถูกจัดอันดับว่าเป็นอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก (The world's 50 best foods) (MEEKAO, 2564)
 +
          จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่า แกงมัสมั่นเป็นเมนูที่ทุกคนคุ้นเคยสามารถหากินได้ทุกที่ไม่จำเป็นต้องกินร้านที่มีความโด่งดังทางด้านชื่อเสียงเพราะตามร้านทั่วไปก็มีเมนูแกงมัสมั่นเหมือนกันเพราะว่าแกงมัสมั่นจะมีเอกลักษณ์ทางด้านของรสชาติที่มีความเข้มข้นในเรื่องของเครื่องเทศอยู่แล้วจึงเกิดความอร่อยและ
 +
แกงมัสมั่นนั้นมีหลากหลายประเภทขึ้นอยู่กับคนที่ทำแกงนั่นว่าจะแกงแบบไหนและแต่ละภาคจะมีการแกงที่แตกต่างกันออกไปแต่รสชาติอาจจะยังคล้ายครึงกันอยู่อาจจะต่างทางด้านของสีน้ำแกง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:30, 23 กรกฎาคม 2567

บทนำ

         “แกงมัสมั่น” เป็นอาหารเป็นประเภทเครื่องแกงที่ประวัติอยู่คู่กับประเทศไทยมาอย่างช้านานเกิดจากการแลกเปลี่ยนหรือการเข้ามามีอิทธิพลของอาหารและวัฒนธรรมการกินของต่างชาติกับคนไทย นอกจากนี้ “แกงมัสมั่น” ยังเป็นอาหารที่ติดอันดับ 1 ที่อร่อยที่สุดของโลก ซึ่งทางจังหวัดกำแพงเพชร ได้นำ “แกงมัสมั่น” มาผนวกกับ “กล้วยไข่” ที่เป็นของมีชื่อเสียงของจังหวัดกำแพงเพชรเพื่อทำเป็น “แกงมัสมั่นกล้วยไข่” ที่จะเพิ่มคุณค่าทางด้านอาหาร และเพิ่มความหลากหลายของการปรุงอาหาร สร้างเสริมและต่อยอดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของดีของเด่นจังหวัดกำแพงเพชร บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น 2) ประเภทของแกงมัสมั่นในประเทศไทย 3) ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่นกล้วยไข่จังหวัดกำแพงเพชร 4) ขั้นตอนและวิธีการทำของแกงมัสมั่นกล้วยไข่

คำสำคัญ: แกงมัสมั่น, กล้วยไข่, จังหวัดกำแพงเพชร

ประวัติความเป็นมาของแกงมัสมั่น

         แกงมัสมั่นตำรับดั้งเดิมนั้นเป็นของชาวอินเดีย เป็นเจ้าแห่งเครื่องเทศ นิยมใช้วัตถุดิบประเภทเนื้อในการปรุง และใส่เครื่องเทศอย่างเต็มที่ แกงมัสมั่นของชาวอินเดียจึงมีรสชาติที่เผ็ดร้อน หวาน เค็ม และมัน แต่เมื่อชาวอินเดียย้ายไปตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเมืองต่าง ๆ ก็ไม่ลืมที่จะนำแกงมัสมั่นเข้าไปยังประเทศนั้น ๆ ด้วย แต่ก็ได้มีการปรับเปลี่ยนสูตรให้ถูกกับรสชาติของประเทศนั้น ๆ เช่น การเปลี่ยนเนื้อสัตว์ และการเพิ่ม-ลดเครื่องเทศ แต่ว่าแกงมัสมั่นในประเทศไทยนั้นมีมาตั้งแต่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช นำเข้ามาโดยแขกเปอร์เซีย หรือชาวอิหร่านจะสันนิษฐานว่าคำว่า “มัสมั่น” มาจากภาษาเปอร์เซียคำว่า “มุสลิมมาน” ซึ่งหมายถึง ชาวมุสลิม จึงถือได้ว่าเมนูมัสมั่นนี้เป็นการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมทางอาหารระหว่างไทยกับเปอร์เซีย และเข้ามาอยู่ในทำเนียบอาหารไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 2 หรือประมาณ 230 กว่าปีมาแล้ว แต่จะเห็นได้ว่า ในบทประพันธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ว่า “มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา” ซึ่งเป็นหลักฐานได้ว่า แกงมัสมั่นได้เข้ามามีอิทธิพลในไทยมาก่อนที่จะเข้าทำเนียบอาหารในรัชกาลที่ 2 แล้วเสียอีก ซึ่งแกงมัสมั่นตำรับชาวไทยนั้นได้รับอิทธิพลมาจากอาหารมลายู จะกล่าวได้ว่า แกงมัสมั่นเดิมที่เป็นอาหารของขาวอินเดียซึ้งเป็นอาหารที่ส่วนใหญ่เครื่องเทศและเป็นส่วนประกอบหลักของเครื่องแกงมัสมั่น ต่อมาไทยเราได้รับอิทธิพลมาจากชาวแขกเปอร์เซียที่ตอนนั้นไทยได้มีการค้าขายกับต่างประเทศทำให้ไทยได้รับอิทธิพลการกินเครื่องเทศด้วยทำให้ไทยเรารู้จากการทำแกงมัสมั่นมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน (ครัวโบราณ บ้านน้ำพริก, 2559)
         จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่า แกงมัสมั่นได้เข้ามาที่ไทยและเกิดการแพร่กระจายไปทั่วจึงทำให้เกิดการชอบรสชาติของแกงและเครื่องเทศนั่นมีความจัดเต็มทำให้เกิดความอร่อยถูกปากกับคนไทยแกงมัสมั่นนั่นจึงเป็นที่นิยมและเป็นแกงที่ขึ้นชื่อทำมีความโด่งดั่งของแกงมัสมั่นที่เด่นทางด้านเครื่องเทศหรือจัดเต็มในเรื่องของเครื่องเทศที่จะนำมาทำแกงมัสมั่น
         “แกงมัสมั่น” เนื่องด้วยหน้าตาของแกงที่มีสีแดงส้มรสชาติเข้มข้น ทั้งหวาน เค็ม เผ็ด คงเป็นสิ่งที่คนไทยคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เพราะไม่ว่าจะเป็นราดข้าวแกงข้างถนนหรือร้านระดับดาวมิชลินก็สามารถพบกับเมนูนี้ได้พร้อมกับรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ ซึ่งถ้าหากยังจำกันได้ว่า ในช่วงปี 2017 แกงมัสมั่นก็ได้สร้างชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยเว็บไซต์ CNN ได้มีการประกาศรายชื่อ 50 อันดับ เมนูอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก ซึ่งรายชื่อทั้งหมดมาจากการสำรวจอารหารของ CNN ทั้งหมด ทั้งนี้ “แกงมัสมั่น” ของไทยก็ถูกจัดอันดับว่าเป็นอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก (The world's 50 best foods) (MEEKAO, 2564)
         จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่า แกงมัสมั่นเป็นเมนูที่ทุกคนคุ้นเคยสามารถหากินได้ทุกที่ไม่จำเป็นต้องกินร้านที่มีความโด่งดังทางด้านชื่อเสียงเพราะตามร้านทั่วไปก็มีเมนูแกงมัสมั่นเหมือนกันเพราะว่าแกงมัสมั่นจะมีเอกลักษณ์ทางด้านของรสชาติที่มีความเข้มข้นในเรื่องของเครื่องเทศอยู่แล้วจึงเกิดความอร่อยและ

แกงมัสมั่นนั้นมีหลากหลายประเภทขึ้นอยู่กับคนที่ทำแกงนั่นว่าจะแกงแบบไหนและแต่ละภาคจะมีการแกงที่แตกต่างกันออกไปแต่รสชาติอาจจะยังคล้ายครึงกันอยู่อาจจะต่างทางด้านของสีน้ำแกง