ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร"
ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) ล (Admin ย้ายหน้า พูดคุย:บุคคลสำคัญ ปราชญ์ชาวบ้าน แทงหยวก อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร ไป...) |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 2: | แถว 2: | ||
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา ศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร ซึ่งจังหวัดกำแพงเพชรได้รับการรับรองจาก UNESCO ให้เป็นเมืองมรดกโลกด้วยเพราะเป็นพื้นที่ที่มีโบราณสถานสำคัญทางประวัติศาสตร์รวมอยู่มากมายหลายแห่ง ซึ่งทั้งหมดเป็นศาสนสถานอันแสดงให้เห็นถึงการให้คุณค่าสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจของผู้คน และเป็นวัฒนธรรมหลักของผู้คนในสังคมไทย ที่ตอบสนองการรับใช้พุทธศาสนาและการเป็นเมืองแห่งพุทธศาสนามาเป็นเวลายาวนาน โดยโบราณสถานแต่ละแห่งนั้นมีเรื่องราว ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับโบราณสถานทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่อื่นๆใกล้เคียง เช่น สุโขทัย และศรีสัชนาลัย รวมถึงรูปแบบการสร้างสรรค์ศิลปกรรมของกำแพงเพชรด้านสถาปัตยกรรม ทั้งโบราณวัตถุอย่างปฏิมากรรมต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นในสมัยสุโขทัยและสมัยหลังสุโขทัย มีความผสมผสานและได้รับอิทธิพลจากรูปแบบศิลปะสกุลช่างต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สุโขทัย อยุธยา และล้านนา ความผสมผสานรูปแบบและการได้รับอิทธิพลดังกล่าว ได้ประกอบกันทำให้เกิดรูปแบบของงานศิลปกรรมที่อาจกล่าวได้ว่ามีลักษณะเฉพาะ จนสามารถเรียกว่าเป็นสกุลช่างกำแพงเพชรได้ เช่น พระพุทธรูปสกุลช่างกำแพงเพชร หรือเจดีย์กลุ่มหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะเป็นฐานแปดเหลี่ยมที่พบได้มาก ในเมืองกำแพงเพชร ซึ่งความเฉพาะตัวที่ค้นพบนี้สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของช่างท้องถิ่นเมืองกำแพงเพชรในสมัยโบราณ | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา ศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร ซึ่งจังหวัดกำแพงเพชรได้รับการรับรองจาก UNESCO ให้เป็นเมืองมรดกโลกด้วยเพราะเป็นพื้นที่ที่มีโบราณสถานสำคัญทางประวัติศาสตร์รวมอยู่มากมายหลายแห่ง ซึ่งทั้งหมดเป็นศาสนสถานอันแสดงให้เห็นถึงการให้คุณค่าสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจของผู้คน และเป็นวัฒนธรรมหลักของผู้คนในสังคมไทย ที่ตอบสนองการรับใช้พุทธศาสนาและการเป็นเมืองแห่งพุทธศาสนามาเป็นเวลายาวนาน โดยโบราณสถานแต่ละแห่งนั้นมีเรื่องราว ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับโบราณสถานทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่อื่นๆใกล้เคียง เช่น สุโขทัย และศรีสัชนาลัย รวมถึงรูปแบบการสร้างสรรค์ศิลปกรรมของกำแพงเพชรด้านสถาปัตยกรรม ทั้งโบราณวัตถุอย่างปฏิมากรรมต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นในสมัยสุโขทัยและสมัยหลังสุโขทัย มีความผสมผสานและได้รับอิทธิพลจากรูปแบบศิลปะสกุลช่างต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สุโขทัย อยุธยา และล้านนา ความผสมผสานรูปแบบและการได้รับอิทธิพลดังกล่าว ได้ประกอบกันทำให้เกิดรูปแบบของงานศิลปกรรมที่อาจกล่าวได้ว่ามีลักษณะเฉพาะ จนสามารถเรียกว่าเป็นสกุลช่างกำแพงเพชรได้ เช่น พระพุทธรูปสกุลช่างกำแพงเพชร หรือเจดีย์กลุ่มหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะเป็นฐานแปดเหลี่ยมที่พบได้มาก ในเมืองกำแพงเพชร ซึ่งความเฉพาะตัวที่ค้นพบนี้สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของช่างท้องถิ่นเมืองกำแพงเพชรในสมัยโบราณ | ||
'''คำสำคัญ :''' ศิลปกรรม, สกุลช่าง, กำแพงเพชร | '''คำสำคัญ :''' ศิลปกรรม, สกุลช่าง, กำแพงเพชร | ||
+ | == กระบวนการทำงานของภูมิปัญญาศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร == | ||
+ | ภูมิปัญญาศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชรในบทความนี้จะเกี่ยวข้องกับศาสนสถาน (สถาปัตยกรรม) และศาสนวัตถุ (ปฏิมากรรม) เพื่อรับใช้พุทธศาสนาของช่างท้องถิ่นเมืองกำแพงเพชรโบราณซึ่งผู้เขียนได้สรุปกระบวนการทำงานของภูมิปัญญาศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชรไว้ ดังภาพที่ 1 | ||
+ | <p align = "center"> แรงบันดาลใจ (อิทธิพลการสร้างสรรค์) → รูปแบบที่ได้จากการประยุกต์สร้างสรรค์ → </p> | ||
+ | <p align = "center"> ศิลปกรรมสกุลช่างเมืองกำแพงเพชร → ตอบสนองการรับใช้พุทธศาสนา </p> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:42, 24 ธันวาคม 2563
บทนำ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา ศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร ซึ่งจังหวัดกำแพงเพชรได้รับการรับรองจาก UNESCO ให้เป็นเมืองมรดกโลกด้วยเพราะเป็นพื้นที่ที่มีโบราณสถานสำคัญทางประวัติศาสตร์รวมอยู่มากมายหลายแห่ง ซึ่งทั้งหมดเป็นศาสนสถานอันแสดงให้เห็นถึงการให้คุณค่าสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจของผู้คน และเป็นวัฒนธรรมหลักของผู้คนในสังคมไทย ที่ตอบสนองการรับใช้พุทธศาสนาและการเป็นเมืองแห่งพุทธศาสนามาเป็นเวลายาวนาน โดยโบราณสถานแต่ละแห่งนั้นมีเรื่องราว ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับโบราณสถานทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่อื่นๆใกล้เคียง เช่น สุโขทัย และศรีสัชนาลัย รวมถึงรูปแบบการสร้างสรรค์ศิลปกรรมของกำแพงเพชรด้านสถาปัตยกรรม ทั้งโบราณวัตถุอย่างปฏิมากรรมต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นในสมัยสุโขทัยและสมัยหลังสุโขทัย มีความผสมผสานและได้รับอิทธิพลจากรูปแบบศิลปะสกุลช่างต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สุโขทัย อยุธยา และล้านนา ความผสมผสานรูปแบบและการได้รับอิทธิพลดังกล่าว ได้ประกอบกันทำให้เกิดรูปแบบของงานศิลปกรรมที่อาจกล่าวได้ว่ามีลักษณะเฉพาะ จนสามารถเรียกว่าเป็นสกุลช่างกำแพงเพชรได้ เช่น พระพุทธรูปสกุลช่างกำแพงเพชร หรือเจดีย์กลุ่มหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะเป็นฐานแปดเหลี่ยมที่พบได้มาก ในเมืองกำแพงเพชร ซึ่งความเฉพาะตัวที่ค้นพบนี้สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของช่างท้องถิ่นเมืองกำแพงเพชรในสมัยโบราณ
คำสำคัญ : ศิลปกรรม, สกุลช่าง, กำแพงเพชร
กระบวนการทำงานของภูมิปัญญาศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชร
ภูมิปัญญาศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชรในบทความนี้จะเกี่ยวข้องกับศาสนสถาน (สถาปัตยกรรม) และศาสนวัตถุ (ปฏิมากรรม) เพื่อรับใช้พุทธศาสนาของช่างท้องถิ่นเมืองกำแพงเพชรโบราณซึ่งผู้เขียนได้สรุปกระบวนการทำงานของภูมิปัญญาศิลปกรรมสกุลช่างกำแพงเพชรไว้ ดังภาพที่ 1
แรงบันดาลใจ (อิทธิพลการสร้างสรรค์) → รูปแบบที่ได้จากการประยุกต์สร้างสรรค์ →
ศิลปกรรมสกุลช่างเมืองกำแพงเพชร → ตอบสนองการรับใช้พุทธศาสนา