ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบำชากังราว"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 4: แถว 4:
 
           1. เพื่อให้เกิดการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะจังหวัดกำแพงเพชร
 
           1. เพื่อให้เกิดการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะจังหวัดกำแพงเพชร
 
           2. เพื่อใช้การแสดงระบำชากังราวการแสดงในโอกาสต่าง ๆ
 
           2. เพื่อใช้การแสดงระบำชากังราวการแสดงในโอกาสต่าง ๆ
 +
== การดำเนินการสร้างสรรค์ผลงาน ==
 +
          1. การศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมาของการแสดง
 +
          2. การศึกษารูปแบบการแสดง “ระบำชากังราว”
 +
              2.1 การออกแบบเครื่องแต่งกาย
 +
              2.2 ออกแบบท่ารำ
 +
              2.3 เพลงประกอบและวงดนตรี
 +
              2.4 ออกแบบรูปแบบแถว
 +
          3. การดำเนินการวิพากษ์จากผู้เชี่ยวชาญด้านการแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย
 +
          4. การดำเนินการเผยแพร่ชุดการแสดง “ระบำชากังราว” และจัดทำสื่อเผยแพร่ เช่น วีดีทัศน์ และรูปเล่มเอกสาร
 +
== สรุปผลการสร้างสรรค์ผลงาน ==
 +
          '''1. ผลของการศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมาของการแสดง'''
 +
          สืบเนื่องจากในปี พ.ศ. 2529-2531 สถาบันได้รับเชิญจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ให้ไปเผยแพร่วัฒนธรรม ณ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีข้อกำหนดให้แต่ละจังหวัดนำชุดการแสดงที่เน้นความเป็นอัตลักษณ์ของจังหวัด  การแสดงที่สื่อความเป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดกำแพงเพชรในขณะนั้นมีการแสดงพื้นบ้าน เช่น รำโทน ระบำ ก. ไก่ รำคล้องช้าง ได้นำไปแสดง ปรากฏว่าได้รับความพึงพอใจของผู้ชมระดับหนึ่ง
 +
          ดังนั้น ภาควิชานาฏศิลป์จึงได้ริเริ่มคิดประดิษฐ์ระบำชุดใหม่ขึ้น เน้นความเป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดกำแพงเพชร ในปี พ.ศ. 2535 โดยศึกษาข้อมูลการคิดประดิษฐ์ท่ารำ การตั้งชื่อชุดการแสดงการสร้างเครื่องแต่งกาย เพลงประกอบการแสดง จึงได้มาซึ่ง “ระบำชากังราว”
 +
          '''การพัฒนาชุดการแสดง “ระบำชากังราว”''' โดยระบำชากังราวได้พัฒนามาเป็นระยะ เช่น ด้านท่ารำได้ปรับเปลี่ยนท่ารำบางท่าให้ง่ายขึ้นเหมาะสมกับประสบการณ์ของผู้รำ เพราะบางครั้งนักแสดงไม่ใช่นักศึกษาโปรแกรมนาฏศิลป์และการละครโดยตรง ด้านเครื่องแต่งกาย ปรับ- เปลี่ยนสีให้งดงามยิ่งขึ้นส่วนเครื่องประดับได้ศึกษาเพิ่มเติมและพัฒนาให้นักแสดงสวมเครื่องประดับให้งดงามยิ่งขึ้น
 +
          ชื่อชุดการแสดง ตั้งชื่อชุดการแสดงตามประวัติศาสตร์ของกำแพงเพชร เดิมชื่อว่าเมืองชากังราว และเปลี่ยนเรียกชื่อเป็นกำแพงเพชร ภายหลังเพราะฉะนั้นการตั้งชื่อชุดการแสดง จึงมีความจำเป็นในการที่จะบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของชุดการแสดงได้อย่างชัดเจน
 +
          '''2. การศึกษารูปแบบการแสดง “ระบำชากังราว”'''
 +
              2.1 การออกแบบเครื่องแต่งกาย แรงบันดาลใจในการประดิษฐ์เครื่องแต่งกาย ได้มาจากรูปเทวสตรีในพิพิธภัณฑ์สถานจังหวัดกำแพงเพชร ดังภาพที่ 1

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:43, 28 ธันวาคม 2563

บทนำ

         ระบำชากังราว เป็นการแสดงนาฏศิลป์ชุดหนึ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อเป็นการแสดง ที่สื่อความเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดกำแพงเพชรโดยมีการริเริ่มแนวคิดสร้างชุดระบำชากังราว เมื่อปี พ.ศ. 2535 และพัฒนามาตามลำดับทั้งท่วงทีลีลาท่ารำ เพลง เครื่องแต่งกายให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะการแสดงชุดนี้ เพื่อนำไปแสดง  ในงานศิลปวัฒนธรรมและแสดงในโอกาสต่าง ๆ เช่นงานต้อนรับแขกผู้มาเยือนจังหวัดกำแพงเพชร การแสดงเพื่อเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมระดับจังหวัด ระดับชาติ และระดับนานาชาติในการจัดการแสดงเพื่อให้บุคคลทั่วไปได้ชมการแสดงและมีการประเมินความพึ่งพอใจ รวมทั้งเชิญผู้เชี่ยวชาญด้านนาฏศิลป์ เพื่อมาประเมินผลความถูกต้อง ความเหมาะสม ความสมบูรณ์ของรูปแบบการแสดงระบำ รวมถึงความถูกต้อง ด้านเนื้อหา ท่ารำ เพลง การแต่งกาย การแปรแถวและองค์ประกอบ ๆ ในการสร้างชุดการแสดง ระบำชากังราว ได้ถ่ายทอดความรู้และวิธีการแสดงให้กับคณะครูในเขตพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชรและได้นำชุดการแสดงระบำชากังราวเป็นส่วนหนึ่งของหลังสูตรท้องถิ่น เมื่อปี พ.ศ. 2554 โดยมอบหมายให้คณะครูนำการแสดงระบำชากังราวไปถ่ายทอดให้กับนักเรียนในโรงเรียนนอกจากนี้ยังได้ถ่ายทอดระบำชากังราวให้กับเยาวชนในจังหวัดกำแพงเพชรอย่างต่อเนื่อง ระบำชากังราวได้จัดทำบันทึกวีดีทัศน์ท่ารำ และวิธีการสอนถ่ายทอดท่ารำ จัดทำเป็นรูปเล่มเพื่อสามารถนำไปใช้เป็นคู่มือในการฝึกปฏิบัติและเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจต่อไป

จุดประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงาน

         1. เพื่อให้เกิดการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะจังหวัดกำแพงเพชร
         2. เพื่อใช้การแสดงระบำชากังราวการแสดงในโอกาสต่าง ๆ

การดำเนินการสร้างสรรค์ผลงาน

         1. การศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมาของการแสดง
         2. การศึกษารูปแบบการแสดง “ระบำชากังราว” 
             2.1 การออกแบบเครื่องแต่งกาย 
             2.2 ออกแบบท่ารำ 
             2.3 เพลงประกอบและวงดนตรี 
             2.4 ออกแบบรูปแบบแถว
         3. การดำเนินการวิพากษ์จากผู้เชี่ยวชาญด้านการแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย
         4. การดำเนินการเผยแพร่ชุดการแสดง “ระบำชากังราว” และจัดทำสื่อเผยแพร่ เช่น วีดีทัศน์ และรูปเล่มเอกสาร

สรุปผลการสร้างสรรค์ผลงาน

         1. ผลของการศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมาของการแสดง
         สืบเนื่องจากในปี พ.ศ. 2529-2531 สถาบันได้รับเชิญจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ให้ไปเผยแพร่วัฒนธรรม ณ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีข้อกำหนดให้แต่ละจังหวัดนำชุดการแสดงที่เน้นความเป็นอัตลักษณ์ของจังหวัด  การแสดงที่สื่อความเป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดกำแพงเพชรในขณะนั้นมีการแสดงพื้นบ้าน เช่น รำโทน ระบำ ก. ไก่ รำคล้องช้าง ได้นำไปแสดง ปรากฏว่าได้รับความพึงพอใจของผู้ชมระดับหนึ่ง 
         ดังนั้น ภาควิชานาฏศิลป์จึงได้ริเริ่มคิดประดิษฐ์ระบำชุดใหม่ขึ้น เน้นความเป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดกำแพงเพชร ในปี พ.ศ. 2535 โดยศึกษาข้อมูลการคิดประดิษฐ์ท่ารำ การตั้งชื่อชุดการแสดงการสร้างเครื่องแต่งกาย เพลงประกอบการแสดง จึงได้มาซึ่ง “ระบำชากังราว”
         การพัฒนาชุดการแสดง “ระบำชากังราว” โดยระบำชากังราวได้พัฒนามาเป็นระยะ เช่น ด้านท่ารำได้ปรับเปลี่ยนท่ารำบางท่าให้ง่ายขึ้นเหมาะสมกับประสบการณ์ของผู้รำ เพราะบางครั้งนักแสดงไม่ใช่นักศึกษาโปรแกรมนาฏศิลป์และการละครโดยตรง ด้านเครื่องแต่งกาย ปรับ- เปลี่ยนสีให้งดงามยิ่งขึ้นส่วนเครื่องประดับได้ศึกษาเพิ่มเติมและพัฒนาให้นักแสดงสวมเครื่องประดับให้งดงามยิ่งขึ้น
         ชื่อชุดการแสดง ตั้งชื่อชุดการแสดงตามประวัติศาสตร์ของกำแพงเพชร เดิมชื่อว่าเมืองชากังราว และเปลี่ยนเรียกชื่อเป็นกำแพงเพชร ภายหลังเพราะฉะนั้นการตั้งชื่อชุดการแสดง จึงมีความจำเป็นในการที่จะบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของชุดการแสดงได้อย่างชัดเจน
         2. การศึกษารูปแบบการแสดง “ระบำชากังราว” 
             2.1 การออกแบบเครื่องแต่งกาย แรงบันดาลใจในการประดิษฐ์เครื่องแต่งกาย ได้มาจากรูปเทวสตรีในพิพิธภัณฑ์สถานจังหวัดกำแพงเพชร ดังภาพที่ 1