ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 1: แถว 1:
 
== บทนำ ==
 
== บทนำ ==
           ผ้าทอเป็นศิลปะแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น อันมีความผูกพันเชื่อมโยงวิถีชีวิต ความเชื่อ และพิธีกรรมของไทย ศาสตร์และศิลป์การทอผ้าได้รับการถ่ายทอดและสืบสานมาต่อกันมารุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน การทอผ้าในหลายท้องถิ่นยังคงรักษารูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ผ้าทอจึงเป็นมรดกทางสังคมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาในอดีตอันเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่มคน จากหลักฐานทางโบราณคดี พบว่า ดินแดนที่เป็นราชอาณาจักรไทยมีการทอผ้ามากกว่า 2,500 ปี ผ้าทอที่สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกเป็นเพียงผ้าพื้นสีธรรมชาติไม่มีลวดลาย ต่อมามีได้มีการสร้างลวดลายผ้าด้วยการพิมพ์ ลวดลายเหล่านี้มีการพัฒนาต่อมาจนถึงยุคที่มนุษย์รวมกันเป็นเผ่าและอาณาจักร โดยใช้ลายผ้าเป็นเครื่องหมายของกลุ่มที่แสดงออกถึงความเชื่อผ่านสัญลักษณะ ศิลปะการทอผ้ามีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงยุคที่คนไทยรวมตัวกันเป็นอาณาจักรต่าง ๆ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 20-21 มีการทอผ้าขึ้นเพื่อใช้สอยในครอบครัวและเป็นการแลกเปลี่ยนซื้อขายกัน      ผ้ามีบทบาทสำคัญตั้งแต่การใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มโดยตรงตลอดจนการใช้ผ้าเข้าไปเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อวัฒนธรรม ศาสนา และสังคม ผ้านับว่ามีความสำคัญในการค้าและเศรษฐกิจอีกด้วย (วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2530)
+
           ผ้าทอเป็นศิลปะแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น อันมีความผูกพันเชื่อมโยงวิถีชีวิต ความเชื่อ และพิธีกรรมของไทย ศาสตร์และศิลป์การทอผ้าได้รับการถ่ายทอดและสืบสานมาต่อกันมารุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน การทอผ้าในหลายท้องถิ่นยังคงรักษารูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ผ้าทอจึงเป็นมรดกทางสังคมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาในอดีตอันเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่มคน จากหลักฐานทางโบราณคดี พบว่า ดินแดนที่เป็นราชอาณาจักรไทยมีการทอผ้ามากกว่า 2,500 ปี ผ้าทอที่สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกเป็นเพียงผ้าพื้นสีธรรมชาติไม่มีลวดลาย ต่อมามีได้มีการสร้างลวดลายผ้าด้วยการพิมพ์ ลวดลายเหล่านี้มีการพัฒนาต่อมาจนถึงยุคที่มนุษย์รวมกันเป็นเผ่าและอาณาจักร โดยใช้ลายผ้าเป็นเครื่องหมายของกลุ่มที่แสดงออกถึงความเชื่อผ่านสัญลักษณะ ศิลปะการทอผ้ามีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงยุคที่คนไทยรวมตัวกันเป็นอาณาจักรต่าง ๆ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 20-21 มีการทอผ้าขึ้นเพื่อใช้สอยในครอบครัวและเป็นการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันผ้ามีบทบาทสำคัญตั้งแต่การใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มโดยตรงตลอดจนการใช้ผ้าเข้าไปเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อวัฒนธรรม ศาสนา และสังคม ผ้านับว่ามีความสำคัญในการค้าและเศรษฐกิจอีกด้วย (วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2530)
 
           การทอผ้าเป็นหัตถกรรมอย่างหนึ่งที่ทำสืบต่อกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี สันนิฐานจากประวัติศาสตร์ไทยได้กล่าวไว้จากหลักฐานการแต่งกายของกษัตริย์เจ้านาย ข้าราชการคหบดี ในสมัยนั้นได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องการส่งส่วยมักกว่าว่า “ส่งผ้าทอเป็นมัด น้ำผึ้ง ไม้หอม” และอื่นๆ เป็นเครื่องราชบรรณาการ ซึ่งการทอผ้านับว่าเป็นศิลปะที่ผู้เป็นช่างทอต้องมีความสามารถในการใช้สีของเส้นด้ายประกอบกันให้เกิดความสวยงามเหมาะสม และการแต่งแต้มสีทำให้เกิดลวดลาย การย้อม โดยเฉพาะผ้าที่เรียกว่า“ผ้ามัดหมี่” หากผู้ใดได้จับชมแล้วยากที่จะวางลงได้   
 
           การทอผ้าเป็นหัตถกรรมอย่างหนึ่งที่ทำสืบต่อกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี สันนิฐานจากประวัติศาสตร์ไทยได้กล่าวไว้จากหลักฐานการแต่งกายของกษัตริย์เจ้านาย ข้าราชการคหบดี ในสมัยนั้นได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องการส่งส่วยมักกว่าว่า “ส่งผ้าทอเป็นมัด น้ำผึ้ง ไม้หอม” และอื่นๆ เป็นเครื่องราชบรรณาการ ซึ่งการทอผ้านับว่าเป็นศิลปะที่ผู้เป็นช่างทอต้องมีความสามารถในการใช้สีของเส้นด้ายประกอบกันให้เกิดความสวยงามเหมาะสม และการแต่งแต้มสีทำให้เกิดลวดลาย การย้อม โดยเฉพาะผ้าที่เรียกว่า“ผ้ามัดหมี่” หากผู้ใดได้จับชมแล้วยากที่จะวางลงได้   
 
           การทอผ้านับว่าเป็นสถาปัตยกรรมอีกด้วย เพราะช่างทอผ้าต้องออกแบบลายผ้าของตนเองขึ้นมา โดยการนำลักษณะต่าง ๆ ของธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ดาว เดือน สัตว์ ของใช้มาคิดประดิดประดอยเป็นลายผ้า จนมีชื่อเรียกตามลักษณะของสิ่งเหล่านั้น เช่น ดอกแก้ว บ่าง กระเบี้ย (ผีเสื้อ) คันร่ม ขอคำเดือน ขิด สำรวจ (จรวด) หงส์ และการพัฒนาลายผ้าจากที่คิดให้มีความซับซ้อนสวยงามยิ่งขึ้น เช่น ลายขอซ้อมน้อย (เล็ก) ซ้อมใหญ่ ลายด่านน้อย ด่านกลาง ด่านใหญ่ หงส์น้อย ลายหงส์ใหญ่
 
           การทอผ้านับว่าเป็นสถาปัตยกรรมอีกด้วย เพราะช่างทอผ้าต้องออกแบบลายผ้าของตนเองขึ้นมา โดยการนำลักษณะต่าง ๆ ของธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ดาว เดือน สัตว์ ของใช้มาคิดประดิดประดอยเป็นลายผ้า จนมีชื่อเรียกตามลักษณะของสิ่งเหล่านั้น เช่น ดอกแก้ว บ่าง กระเบี้ย (ผีเสื้อ) คันร่ม ขอคำเดือน ขิด สำรวจ (จรวด) หงส์ และการพัฒนาลายผ้าจากที่คิดให้มีความซับซ้อนสวยงามยิ่งขึ้น เช่น ลายขอซ้อมน้อย (เล็ก) ซ้อมใหญ่ ลายด่านน้อย ด่านกลาง ด่านใหญ่ หงส์น้อย ลายหงส์ใหญ่
 
           การสืบทอด การถ่ายทอด ในสมัยโบราญผู้คนเรียนรู้หนังสือน้อยแทบไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนเลยโดยเฉพาะผู้หญิง ซึ่งต้องมีหน้าที่ในงานบ้านเลี้ยงลูก ทำงานทอผ้า เพื่อใช้ในการนุ่งห่มของคนในครอบครัว หลังเวลาว่างจากการทำนาทำไร่ อาศัยเวลากลางคืนบ้าง เวลาหยุดพักเพื่อรอคอยการเก็บเกี่ยวผลผลิตบ้าง นับว่าเป็นงานหนักพอสมควรสำหรับหญิงไทย เพราะเมื่อเลิกงานประจำวันแล้วยังต้องประกอบอาชีพดูแลลูกๆ และสามีให้รับประทานอาหารจนอิ่มและเข้านอนแล้ว ตนเองก็ยังมิได้พักผ่อนหลับนอนยังต้องนั่งเก็บฝ้าย (เก็บสิ่งเจือปนออกจากปุยฝ้าย) เข็นฝ้าย ดีดฝ้าย มัดหมี่ เพื่อเตรียมไว้เมื่อว่างเว้น จากการทำงานจริงๆ แล้วจึงจะทำการทอผ้า
 
           การสืบทอด การถ่ายทอด ในสมัยโบราญผู้คนเรียนรู้หนังสือน้อยแทบไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนเลยโดยเฉพาะผู้หญิง ซึ่งต้องมีหน้าที่ในงานบ้านเลี้ยงลูก ทำงานทอผ้า เพื่อใช้ในการนุ่งห่มของคนในครอบครัว หลังเวลาว่างจากการทำนาทำไร่ อาศัยเวลากลางคืนบ้าง เวลาหยุดพักเพื่อรอคอยการเก็บเกี่ยวผลผลิตบ้าง นับว่าเป็นงานหนักพอสมควรสำหรับหญิงไทย เพราะเมื่อเลิกงานประจำวันแล้วยังต้องประกอบอาชีพดูแลลูกๆ และสามีให้รับประทานอาหารจนอิ่มและเข้านอนแล้ว ตนเองก็ยังมิได้พักผ่อนหลับนอนยังต้องนั่งเก็บฝ้าย (เก็บสิ่งเจือปนออกจากปุยฝ้าย) เข็นฝ้าย ดีดฝ้าย มัดหมี่ เพื่อเตรียมไว้เมื่อว่างเว้น จากการทำงานจริงๆ แล้วจึงจะทำการทอผ้า
           การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ในสมัยนั้น ต้องอาศัยความจำจากการปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญ ไม่มีการบันทึกเป็นภาพหรือลายลักษณ์อักษรแต่อย่างใด ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก หรือเครือญาติใกล้ชิดจึงเปรียบเสมือนเป็นการสืบสายเลือดเลยก็ว่าได้  การทอผ้าแต่โบราณจะใช้ใยไหมและใยฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลักในการทอผ้า เพราะไม่มีเส้นใยสังเคราะห์อื่นใดที่จะมาแทนเส้นใยไหมและฝ้ายได้ดี บางกลุ่มบางสถานที่ได้นำวัสดุอื่นมาใช้ เช่น ป่าน ใบสับประรถ ใบเตยหนาม ปอ มาทำเป็นวัสดุในการทอผ้าแต่ก็ไม่ได้รับความนิยามเพราะไม่เกิดความนิ่มทำให้ระคายเคืองร่างกาย สู้ใยไหมและฝ้ายไม่ได้  โดยการทอผ้าเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่  คนไทยรุ่นปัจจุบันต้องช่วยกันอนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อนผู้หญิงไทยจะทำเครื่องใช้ต่าง ๆ ในบ้านเอง งานสำคัญอย่างหนึ่งคือการทำเสื้อผ้า ผ้านุ่ง ผ้าห่มไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ก็ต้องใช้ผ้า ผ้าทอจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตคนไทย (อมรา จิวาลักษณ์, 2546)
+
           การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ในสมัยนั้น ต้องอาศัยความจำจากการปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญ ไม่มีการบันทึกเป็นภาพหรือลายลักษณ์อักษรแต่อย่างใด ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก หรือเครือญาติใกล้ชิดจึงเปรียบเสมือนเป็นการสืบสายเลือดเลยก็ว่าได้  การทอผ้าแต่โบราณจะใช้ใยไหมและใยฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลักในการทอผ้า เพราะไม่มีเส้นใยสังเคราะห์อื่นใดที่จะมาแทนเส้นใยไหมและฝ้ายได้ดี บางกลุ่มบางสถานที่ได้นำวัสดุอื่นมาใช้ เช่น ป่าน ใบสับประรถ ใบเตยหนาม ปอ มาทำเป็นวัสดุในการทอผ้าแต่ก็ไม่ได้รับความนิยามเพราะไม่เกิดความนิ่มทำให้ระคายเคืองร่างกาย สู้ใยไหมและฝ้ายไม่ได้  โดยการทอผ้าเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่คนไทยรุ่นปัจจุบันต้องช่วยกันอนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อนผู้หญิงไทยจะทำเครื่องใช้ต่าง ๆ ในบ้านเอง งานสำคัญอย่างหนึ่งคือการทำเสื้อผ้า ผ้านุ่ง ผ้าห่มไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ก็ต้องใช้ผ้า ผ้าทอจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตคนไทย (อมรา จิวาลักษณ์, 2546)
 
== ความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร ==
 
== ความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร ==
 
           จังหวัดกำแพงเพชร มีกลุ่มทอผ้าที่ได้มาตรฐานและเป็นระบบ คือหมู่บ้านใหม่ศรีอุบล หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ที่มีการทอผ้า อย่างเป็นระบบและครบวงจรมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2534 แต่ยังไม่สามารถผลิตด้ายด้วยตนเองได้ เพราะการหาซื้อมามีต้นทุนที่ถูกกว่ามาก การผลิตผ้าจากการปั่นด้าย จนกระทั่งถึงการทอผ้า ตัดเย็บ และขายปลีกและขายส่ง อย่างครบวงจร มีระบบและสามารถเลี้ยงตนเองได้ โดยได้รับการสนับสนุนจากจังหวัดกำแพงเพชร และองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งโพธิ์ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนมีรายได้จากการทอผ้า ตัดเย็บและเลี้ยงตัวได้ หลังจากการทำไร่ทำนา หรือว่างจากการทำเกษตรกรรมนับว่าเป็นตัวอย่างที่ดี สำหรับการรวมกลุ่มการทำงาน อย่างเข้มแข็ง ของประชาชน ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมากขึ้น (สันติ อภัยราช, 2558)
 
           จังหวัดกำแพงเพชร มีกลุ่มทอผ้าที่ได้มาตรฐานและเป็นระบบ คือหมู่บ้านใหม่ศรีอุบล หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ที่มีการทอผ้า อย่างเป็นระบบและครบวงจรมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2534 แต่ยังไม่สามารถผลิตด้ายด้วยตนเองได้ เพราะการหาซื้อมามีต้นทุนที่ถูกกว่ามาก การผลิตผ้าจากการปั่นด้าย จนกระทั่งถึงการทอผ้า ตัดเย็บ และขายปลีกและขายส่ง อย่างครบวงจร มีระบบและสามารถเลี้ยงตนเองได้ โดยได้รับการสนับสนุนจากจังหวัดกำแพงเพชร และองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งโพธิ์ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนมีรายได้จากการทอผ้า ตัดเย็บและเลี้ยงตัวได้ หลังจากการทำไร่ทำนา หรือว่างจากการทำเกษตรกรรมนับว่าเป็นตัวอย่างที่ดี สำหรับการรวมกลุ่มการทำงาน อย่างเข้มแข็ง ของประชาชน ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมากขึ้น (สันติ อภัยราช, 2558)
 
           บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอีกชุมชนที่มีประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยย้ายถิ่นฐานมาจาก อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด และได้นำภูมิปัญญาการทอผ้า ตั้งแต่การปลูกฝ้าย การปั่น การย้อม และการทอผ้า โดยใช้เวลาว่างหลักจากเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรโดยมีการร่วมกลุ่มกันประกอบอาชีพทอผ้า โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มองค์กร ห้าง ร้าน บริษัทและหน่วยงานของรัฐ ปัจจุบันกลุ่มผ้าทอหนองจอกพัฒนามีความต้องการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความหลากหลายให้กับลูกค้าเดิม และแสวงหาลูกค้าใหม่ ดังภาพที่ 1
 
           บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอีกชุมชนที่มีประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยย้ายถิ่นฐานมาจาก อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด และได้นำภูมิปัญญาการทอผ้า ตั้งแต่การปลูกฝ้าย การปั่น การย้อม และการทอผ้า โดยใช้เวลาว่างหลักจากเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรโดยมีการร่วมกลุ่มกันประกอบอาชีพทอผ้า โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มองค์กร ห้าง ร้าน บริษัทและหน่วยงานของรัฐ ปัจจุบันกลุ่มผ้าทอหนองจอกพัฒนามีความต้องการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความหลากหลายให้กับลูกค้าเดิม และแสวงหาลูกค้าใหม่ ดังภาพที่ 1
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 สถานที่ตั้งของกลุ่มผ้าทอย้อมสี.jpg|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 สถานที่ตั้งของกลุ่มผ้าทอย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองจอก อำเภอคลองคลุง จังหวัดกำแพงเพชร''' </p>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:33, 29 ธันวาคม 2563

บทนำ

         ผ้าทอเป็นศิลปะแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น อันมีความผูกพันเชื่อมโยงวิถีชีวิต ความเชื่อ และพิธีกรรมของไทย ศาสตร์และศิลป์การทอผ้าได้รับการถ่ายทอดและสืบสานมาต่อกันมารุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน การทอผ้าในหลายท้องถิ่นยังคงรักษารูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ผ้าทอจึงเป็นมรดกทางสังคมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาในอดีตอันเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่มคน จากหลักฐานทางโบราณคดี พบว่า ดินแดนที่เป็นราชอาณาจักรไทยมีการทอผ้ามากกว่า 2,500 ปี ผ้าทอที่สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกเป็นเพียงผ้าพื้นสีธรรมชาติไม่มีลวดลาย ต่อมามีได้มีการสร้างลวดลายผ้าด้วยการพิมพ์ ลวดลายเหล่านี้มีการพัฒนาต่อมาจนถึงยุคที่มนุษย์รวมกันเป็นเผ่าและอาณาจักร โดยใช้ลายผ้าเป็นเครื่องหมายของกลุ่มที่แสดงออกถึงความเชื่อผ่านสัญลักษณะ ศิลปะการทอผ้ามีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงยุคที่คนไทยรวมตัวกันเป็นอาณาจักรต่าง ๆ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 20-21 มีการทอผ้าขึ้นเพื่อใช้สอยในครอบครัวและเป็นการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันผ้ามีบทบาทสำคัญตั้งแต่การใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มโดยตรงตลอดจนการใช้ผ้าเข้าไปเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อวัฒนธรรม ศาสนา และสังคม ผ้านับว่ามีความสำคัญในการค้าและเศรษฐกิจอีกด้วย (วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2530)
         การทอผ้าเป็นหัตถกรรมอย่างหนึ่งที่ทำสืบต่อกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี สันนิฐานจากประวัติศาสตร์ไทยได้กล่าวไว้จากหลักฐานการแต่งกายของกษัตริย์เจ้านาย ข้าราชการคหบดี ในสมัยนั้นได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องการส่งส่วยมักกว่าว่า “ส่งผ้าทอเป็นมัด น้ำผึ้ง ไม้หอม” และอื่นๆ เป็นเครื่องราชบรรณาการ ซึ่งการทอผ้านับว่าเป็นศิลปะที่ผู้เป็นช่างทอต้องมีความสามารถในการใช้สีของเส้นด้ายประกอบกันให้เกิดความสวยงามเหมาะสม และการแต่งแต้มสีทำให้เกิดลวดลาย การย้อม โดยเฉพาะผ้าที่เรียกว่า“ผ้ามัดหมี่” หากผู้ใดได้จับชมแล้วยากที่จะวางลงได้  
         การทอผ้านับว่าเป็นสถาปัตยกรรมอีกด้วย เพราะช่างทอผ้าต้องออกแบบลายผ้าของตนเองขึ้นมา โดยการนำลักษณะต่าง ๆ ของธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ดาว เดือน สัตว์ ของใช้มาคิดประดิดประดอยเป็นลายผ้า จนมีชื่อเรียกตามลักษณะของสิ่งเหล่านั้น เช่น ดอกแก้ว บ่าง กระเบี้ย (ผีเสื้อ) คันร่ม ขอคำเดือน ขิด สำรวจ (จรวด) หงส์ และการพัฒนาลายผ้าจากที่คิดให้มีความซับซ้อนสวยงามยิ่งขึ้น เช่น ลายขอซ้อมน้อย (เล็ก) ซ้อมใหญ่ ลายด่านน้อย ด่านกลาง ด่านใหญ่ หงส์น้อย ลายหงส์ใหญ่
         การสืบทอด การถ่ายทอด ในสมัยโบราญผู้คนเรียนรู้หนังสือน้อยแทบไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนเลยโดยเฉพาะผู้หญิง ซึ่งต้องมีหน้าที่ในงานบ้านเลี้ยงลูก ทำงานทอผ้า เพื่อใช้ในการนุ่งห่มของคนในครอบครัว หลังเวลาว่างจากการทำนาทำไร่ อาศัยเวลากลางคืนบ้าง เวลาหยุดพักเพื่อรอคอยการเก็บเกี่ยวผลผลิตบ้าง นับว่าเป็นงานหนักพอสมควรสำหรับหญิงไทย เพราะเมื่อเลิกงานประจำวันแล้วยังต้องประกอบอาชีพดูแลลูกๆ และสามีให้รับประทานอาหารจนอิ่มและเข้านอนแล้ว ตนเองก็ยังมิได้พักผ่อนหลับนอนยังต้องนั่งเก็บฝ้าย (เก็บสิ่งเจือปนออกจากปุยฝ้าย) เข็นฝ้าย ดีดฝ้าย มัดหมี่ เพื่อเตรียมไว้เมื่อว่างเว้น จากการทำงานจริงๆ แล้วจึงจะทำการทอผ้า
         การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ในสมัยนั้น ต้องอาศัยความจำจากการปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญ ไม่มีการบันทึกเป็นภาพหรือลายลักษณ์อักษรแต่อย่างใด ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก หรือเครือญาติใกล้ชิดจึงเปรียบเสมือนเป็นการสืบสายเลือดเลยก็ว่าได้  การทอผ้าแต่โบราณจะใช้ใยไหมและใยฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลักในการทอผ้า เพราะไม่มีเส้นใยสังเคราะห์อื่นใดที่จะมาแทนเส้นใยไหมและฝ้ายได้ดี บางกลุ่มบางสถานที่ได้นำวัสดุอื่นมาใช้ เช่น ป่าน ใบสับประรถ ใบเตยหนาม ปอ มาทำเป็นวัสดุในการทอผ้าแต่ก็ไม่ได้รับความนิยามเพราะไม่เกิดความนิ่มทำให้ระคายเคืองร่างกาย สู้ใยไหมและฝ้ายไม่ได้  โดยการทอผ้าเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่คนไทยรุ่นปัจจุบันต้องช่วยกันอนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อนผู้หญิงไทยจะทำเครื่องใช้ต่าง ๆ ในบ้านเอง งานสำคัญอย่างหนึ่งคือการทำเสื้อผ้า ผ้านุ่ง ผ้าห่มไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ก็ต้องใช้ผ้า ผ้าทอจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตคนไทย (อมรา จิวาลักษณ์, 2546)

ความเป็นมาของการทอผ้าสีธรรมชาติ บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร

         จังหวัดกำแพงเพชร มีกลุ่มทอผ้าที่ได้มาตรฐานและเป็นระบบ คือหมู่บ้านใหม่ศรีอุบล หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ที่มีการทอผ้า อย่างเป็นระบบและครบวงจรมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2534 แต่ยังไม่สามารถผลิตด้ายด้วยตนเองได้ เพราะการหาซื้อมามีต้นทุนที่ถูกกว่ามาก การผลิตผ้าจากการปั่นด้าย จนกระทั่งถึงการทอผ้า ตัดเย็บ และขายปลีกและขายส่ง อย่างครบวงจร มีระบบและสามารถเลี้ยงตนเองได้ โดยได้รับการสนับสนุนจากจังหวัดกำแพงเพชร และองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งโพธิ์ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนมีรายได้จากการทอผ้า ตัดเย็บและเลี้ยงตัวได้ หลังจากการทำไร่ทำนา หรือว่างจากการทำเกษตรกรรมนับว่าเป็นตัวอย่างที่ดี สำหรับการรวมกลุ่มการทำงาน อย่างเข้มแข็ง ของประชาชน ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมากขึ้น (สันติ อภัยราช, 2558)
         บ้านหนองจอกพัฒนา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นอีกชุมชนที่มีประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยย้ายถิ่นฐานมาจาก อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด และได้นำภูมิปัญญาการทอผ้า ตั้งแต่การปลูกฝ้าย การปั่น การย้อม และการทอผ้า โดยใช้เวลาว่างหลักจากเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรโดยมีการร่วมกลุ่มกันประกอบอาชีพทอผ้า โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มองค์กร ห้าง ร้าน บริษัทและหน่วยงานของรัฐ ปัจจุบันกลุ่มผ้าทอหนองจอกพัฒนามีความต้องการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความหลากหลายให้กับลูกค้าเดิม และแสวงหาลูกค้าใหม่ ดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1 สถานที่ตั้งของกลุ่มผ้าทอย้อมสี.jpg

ภาพที่ 1 สถานที่ตั้งของกลุ่มผ้าทอย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองจอก อำเภอคลองคลุง จังหวัดกำแพงเพชร