ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องเงินชาวเขาเผ่าเมี่ยน (เย้า) อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 10: แถว 10:
 
<p align = "center"> (ที่มา : เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561) </p>
 
<p align = "center"> (ที่มา : เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561) </p>
 
           เครื่องเงินชาวเขาที่ขึ้นชื่อมากอยู่ในตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ซึ่งตำบลคลองลานพัฒนาประกอบไปด้วย 20 หมู่บ้าน ได้แก่  
 
           เครื่องเงินชาวเขาที่ขึ้นชื่อมากอยู่ในตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ซึ่งตำบลคลองลานพัฒนาประกอบไปด้วย 20 หมู่บ้าน ได้แก่  
1. บ้านกะเหรี่ยงคลองลาน จำนวน 2 หมู่บ้าน
+
1. บ้านกะเหรี่ยงคลองลาน จำนวน 2 หมู่บ้าน<br>
2. บ้านคลองลาน 1  
+
2. บ้านคลองลาน 1 <br>
3. บ้านคลองลาน 2
+
3. บ้านคลองลาน 2<br>
4. บ้านปางข้าวสาร
+
4. บ้านปางข้าวสาร <br>
5. บ้านมอมะค่า1  
+
5. บ้านมอมะค่า1 <br>
6. บ้านมอมะค่า2
+
6. บ้านมอมะค่า2 <br>
7. บ้านปางตาแอ
+
7. บ้านปางตาแอ<br>
8. บ้านสวนส้ม
+
8. บ้านสวนส้ม<br>
9. บ้านคลองน้ำไหลใต้
+
9. บ้านคลองน้ำไหลใต้<br>
10. บ้านปากคลองลาน
+
10. บ้านปากคลองลาน<br>
11. บ้านท่าข้ามสามัคคี
+
11. บ้านท่าข้ามสามัคคี<br>
12. บ้านเลิงกระพงษ์
+
12. บ้านเลิงกระพงษ์<br>
13. บ้านใหม่ธงชัย
+
13. บ้านใหม่ธงชัย<br>
14. บ้านแม่พืช(แปลงสี่)
+
14. บ้านแม่พืช(แปลงสี่)<br>
15. บ้านคลองเตย
+
15. บ้านคลองเตย<br>
16. บ้านทะเลพัฒนา
+
16. บ้านทะเลพัฒนา<br>
17. บ้านโชคชัยพัฒนา
+
17. บ้านโชคชัยพัฒนา<br>
18. บ้านมอตะแบก
+
18. บ้านมอตะแบก<br>
19. บ้านคลองปลาร้า
+
19. บ้านคลองปลาร้า<br>
 
           จากจำนวนหมู่บ้านในตำบลคลองลานที่มีทั้งหมด 20 หมู่บ้าน แสดงให้เห็นว่า ตำบลคลองลานพัฒนาเป็นตำบลขนาดใหญ่ ซึ่งมีประชากรชาย หญิง รวมกันทั้งสิ้น 1,356 คน หรือ 496 ครัวเรือน โดยมีหมู่บ้านคลองเตยเป็นหมู่บ้านที่มีชาวเขาทำเครื่องเงินมากที่สุด (เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561)
 
           จากจำนวนหมู่บ้านในตำบลคลองลานที่มีทั้งหมด 20 หมู่บ้าน แสดงให้เห็นว่า ตำบลคลองลานพัฒนาเป็นตำบลขนาดใหญ่ ซึ่งมีประชากรชาย หญิง รวมกันทั้งสิ้น 1,356 คน หรือ 496 ครัวเรือน โดยมีหมู่บ้านคลองเตยเป็นหมู่บ้านที่มีชาวเขาทำเครื่องเงินมากที่สุด (เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561)
 
===  ภาษาท้องถิ่นและการแต่งกาย ===  
 
===  ภาษาท้องถิ่นและการแต่งกาย ===  
           ในด้านภาษาและการแต่งกายภาพรวมของอำเภอคลองลานสามารถแบ่งตามลักษณะภาษา                          และลักษณะการแต่งกายตามแต่ละตำบล คือ ตำบลโป่งน้ำร้อนและตำบลสักงามจะมีภาษาและลักษณะ                การแต่งกายสวนใหญ่เน้นไปทางภาคกลางหรือลักษณะทั่วไปที่นิยมใส่กัน ส่วนในด้านภาษานั้นพบว่า                         ใช้ภาษาไทย(ภาษากลาง) เป็นภาษาหลักในการสื่อสาร ต่อมาคือตำบลคลองน้ำไหล การแต่งกายส่วนใหญ่                จะแต่งกายด้วยชุดม่อฮ่อมและใช้ภาษาเหนือเป็นภาษาหลักในการสื่อสาร ตำบลสุดท้ายคือ ตำบลคลองลานพัฒนา ซึ่งเป็นตำบลที่มีลักษณะการแต่งกายและการใช้ภาษาแตกต่างไปจากตำบลอื่นๆ ในอำเภอเดียวกันนั้น ก็เพราะว่า ประชากรส่วนใหญ่ในตำบลคลองลานพัฒนาเป็นชชาวเขาหลาหลายเผ่ามาอยู่ร่วมกัน หนึ่งในนั้นคือ เผ่าเมี้ยน(เย้า) ม้ง กะเหลี่ยง มูเซ่อ เป็นต้น ดังนั้นการแต่งกายของประชาชนจึงแต่งกายด้วยชุดชาวเขา และใช้ภาษาม้ง ภาษาอีสานและภาษาลาวเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารทั่วไป (เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561) ดังภาพที่ 2
+
           ในด้านภาษาและการแต่งกายภาพรวมของอำเภอคลองลานสามารถแบ่งตามลักษณะภาษาและลักษณะการแต่งกายตามแต่ละตำบล คือ ตำบลโป่งน้ำร้อนและตำบลสักงามจะมีภาษาและลักษณะการแต่งกายสวนใหญ่เน้นไปทางภาคกลางหรือลักษณะทั่วไปที่นิยมใส่กัน ส่วนในด้านภาษานั้นพบว่า ใช้ภาษาไทย(ภาษากลาง) เป็นภาษาหลักในการสื่อสาร ต่อมาคือตำบลคลองน้ำไหล การแต่งกายส่วนใหญ่จะแต่งกายด้วยชุดม่อฮ่อมและใช้ภาษาเหนือเป็นภาษาหลักในการสื่อสาร ตำบลสุดท้ายคือ ตำบลคลองลานพัฒนา ซึ่งเป็นตำบลที่มีลักษณะการแต่งกายและการใช้ภาษาแตกต่างไปจากตำบลอื่นๆ ในอำเภอเดียวกันนั้น ก็เพราะว่า ประชากรส่วนใหญ่ในตำบลคลองลานพัฒนาเป็นชชาวเขาหลาหลายเผ่ามาอยู่ร่วมกัน หนึ่งในนั้นคือ เผ่าเมี้ยน(เย้า) ม้ง กะเหลี่ยง มูเซ่อ เป็นต้น ดังนั้นการแต่งกายของประชาชนจึงแต่งกายด้วยชุดชาวเขา และใช้ภาษาม้ง ภาษาอีสานและภาษาลาวเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารทั่วไป (เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561) ดังภาพที่ 2
 
[[ไฟล์:แสดงเขตพื้นที่.jpg|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:แสดงเขตพื้นที่.jpg|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2 แสดงเขตพื้นที่การใช้ภาษาและเครื่องแต่งกายในอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร''' </p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2 แสดงเขตพื้นที่การใช้ภาษาและเครื่องแต่งกายในอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร''' </p>
 
=== สภาพเศรษฐกิจ ===
 
=== สภาพเศรษฐกิจ ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:17, 18 ธันวาคม 2563

เครื่องเงินชาวเขาเผ่าเมี่ยน (เย้า) อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

บทนำ

         เครื่องเงินชาวเขาในอำเภอคลองลานจังหวัดกำแพงเพชร ปัจจุบันมีผู้ผลิตอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งกลุ่มผู้ผลิตเครื่องเงินชาวเขานั้น จะแบ่งออกเป็น 2 ชนเผ่าหลักๆ ได้แก่ กลุ่มชนเผ่าเมี่ยน (เย้า) และกลุ่มชนเผ่าม้ง ซึ่งทั้งสองกลุ่มชนเผ่านี้ มีประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับการเริ่มต้นทำเครื่องเงินชาวเขาที่แตกต่างกัน คือ กลุ่มชนเผ่าเมี่ยน (เย้า) เป็นช่างผลิตเครื่องเงินขาวเขากลุ่มแรกที่มีวิธีการผลิตสืบทอดงานฝีมือมาจากบรรพบุรุษ สำหรับกลุ่มชนเผ่าม้งนั้น เริ่มต้นทำเครื่องเงินจากการไปฝึกทักษะวิชาชีพที่จังหวัดสุโขทัย เนื่องจากที่นั่นได้ขึ้นชื่อเรื่องวิธีการผลิตเครื่องเงินชาวเขาเผ่าม้งและเมื่อหลังจากที่ชนเผ่าม้งได้เรียนรู้วิธีการผลิตเครื่องเงินแล้ว ก็ได้นำความรู้นั้นมาใช้เป็นการประกอบอาชีพ ณ ถิ่นฐานบ้านเกิดของตน (บุญมา อินต๊ะ, สัมภาษณ์, 22 ธันวาคม 2560) งานหัตถกรรมเครื่องเงินชาวเขานี้ เป็นงานฝีมือประเภทเครื่องประดับซึ่งมีความละเอียดและความประณีตเป็นอย่างมาก ลวดลายของเครื่องเงินนั้นจะใช้ลวดลายแบบโบราณดั้งเดิม อาทิ ลายธรรมชาติ ลายต้นไม้ ลายรอยเท้าสัตว์ ซึ่งเลียนแบบมาจากธรรมชาติ สิ่งที่อยู่รอบตัว หรือสิ่งของเครื่องใช้ทำมาหากิน 

คำสำคัญ : เครื่องเงินชาวเขา, รูปแบบการขาย, กลุ่มชาติพันธุ์, อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

ข้อมูลทั่วไป อำเภอคลองลาน

         คำขวัญอำเภอคลองลาน : คลองลานเมืองคนงาม น้ำตกสวย เต็มไปด้วยไม้สัก อนุรักษ์ วัฒนธรรมมากมี ของดีเครื่องเงิน (ศูนย์บริการข้อมูลอำเภอ, 2561)
         จากคำขวัญของอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชรจะเห็นได้ว่า ของดี ที่ขึ้นชื่ออย่างหนึ่งของอำเภอคลองลาน นอกจากธรรมชาติที่สวยงามแล้ว นั้นก็คือ “เครื่องเงิน” เครื่องเงินเป็นสิ่งแสดงอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และวัฒนธรรมการดำรงชีวิตของผู้คนอำเภอคลองลานมาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะเครื่องเงินชาวเขา ซึ่งเป็นสิ่งแสดงอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ การดำรงชีวิต รวมไปถึงความผูกพันระหว่างคนกับธรรมชาติ ผ่านลวดลายของเครื่องเงินชาวเขานั้นเอง
แสดงที่ตั้งของตำบล.jpg
แสดงที่ตั้งของตำบล2.jpg

ภาพที่ 1 แสดงที่ตั้งของตำบลต่างๆ ในอำเภอคลองลานพัฒนา อำเภอคอลงลานจังหวัดกำแพงเพชร

(ที่มา : เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561)

         เครื่องเงินชาวเขาที่ขึ้นชื่อมากอยู่ในตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ซึ่งตำบลคลองลานพัฒนาประกอบไปด้วย 20 หมู่บ้าน ได้แก่ 

1. บ้านกะเหรี่ยงคลองลาน จำนวน 2 หมู่บ้าน
2. บ้านคลองลาน 1
3. บ้านคลองลาน 2
4. บ้านปางข้าวสาร
5. บ้านมอมะค่า1
6. บ้านมอมะค่า2
7. บ้านปางตาแอ
8. บ้านสวนส้ม
9. บ้านคลองน้ำไหลใต้
10. บ้านปากคลองลาน
11. บ้านท่าข้ามสามัคคี
12. บ้านเลิงกระพงษ์
13. บ้านใหม่ธงชัย
14. บ้านแม่พืช(แปลงสี่)
15. บ้านคลองเตย
16. บ้านทะเลพัฒนา
17. บ้านโชคชัยพัฒนา
18. บ้านมอตะแบก
19. บ้านคลองปลาร้า

         จากจำนวนหมู่บ้านในตำบลคลองลานที่มีทั้งหมด 20 หมู่บ้าน แสดงให้เห็นว่า ตำบลคลองลานพัฒนาเป็นตำบลขนาดใหญ่ ซึ่งมีประชากรชาย หญิง รวมกันทั้งสิ้น 1,356 คน หรือ 496 ครัวเรือน โดยมีหมู่บ้านคลองเตยเป็นหมู่บ้านที่มีชาวเขาทำเครื่องเงินมากที่สุด (เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561)

ภาษาท้องถิ่นและการแต่งกาย

         ในด้านภาษาและการแต่งกายภาพรวมของอำเภอคลองลานสามารถแบ่งตามลักษณะภาษาและลักษณะการแต่งกายตามแต่ละตำบล คือ ตำบลโป่งน้ำร้อนและตำบลสักงามจะมีภาษาและลักษณะการแต่งกายสวนใหญ่เน้นไปทางภาคกลางหรือลักษณะทั่วไปที่นิยมใส่กัน ส่วนในด้านภาษานั้นพบว่า ใช้ภาษาไทย(ภาษากลาง) เป็นภาษาหลักในการสื่อสาร ต่อมาคือตำบลคลองน้ำไหล การแต่งกายส่วนใหญ่จะแต่งกายด้วยชุดม่อฮ่อมและใช้ภาษาเหนือเป็นภาษาหลักในการสื่อสาร ตำบลสุดท้ายคือ ตำบลคลองลานพัฒนา ซึ่งเป็นตำบลที่มีลักษณะการแต่งกายและการใช้ภาษาแตกต่างไปจากตำบลอื่นๆ ในอำเภอเดียวกันนั้น ก็เพราะว่า ประชากรส่วนใหญ่ในตำบลคลองลานพัฒนาเป็นชชาวเขาหลาหลายเผ่ามาอยู่ร่วมกัน หนึ่งในนั้นคือ เผ่าเมี้ยน(เย้า) ม้ง กะเหลี่ยง มูเซ่อ เป็นต้น ดังนั้นการแต่งกายของประชาชนจึงแต่งกายด้วยชุดชาวเขา และใช้ภาษาม้ง ภาษาอีสานและภาษาลาวเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารทั่วไป (เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา, 2561) ดังภาพที่ 2
แสดงเขตพื้นที่.jpg

ภาพที่ 2 แสดงเขตพื้นที่การใช้ภาษาและเครื่องแต่งกายในอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

สภาพเศรษฐกิจ