ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง ประเพณีแห่พระด้วยเกวียน อ.ลานกระบือ จ.กำแพงเพชร"
ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | ==''' | + | =='''ข้อมูลทั่วไป'''== |
− | ===''' | + | ==='''ชื่อเรียก'''=== |
ประเพณีการแห่พระด้วยเกวียน อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร | ประเพณีการแห่พระด้วยเกวียน อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร | ||
− | ===''' | + | ==='''ชื่อเรียกอื่น'''=== |
แห่พระ | แห่พระ | ||
− | ===''' | + | ==='''เดือนที่จัดงาน'''=== |
การจัดงานจะจัดในช่วงวันสงกรานต์ ระหว่าง วันที่ 16 เมษายน | การจัดงานจะจัดในช่วงวันสงกรานต์ ระหว่าง วันที่ 16 เมษายน | ||
− | ===''' | + | ==='''เวลาทางจันทรคติ'''=== |
- | - | ||
− | ===''' | + | ==='''สถานที่'''=== |
อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร | อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร | ||
− | ===''' | + | ==='''ประเภทประเพณี'''=== |
ขนบประเพณี (ประเพณีเกี่ยวกับเทศกาล) | ขนบประเพณี (ประเพณีเกี่ยวกับเทศกาล) | ||
− | ===''' | + | ==='''ประวัติความเป็นมา'''=== |
ประเพณีการแห่พระลานกระบือ ที่เรียกว่า “แห่พระ” เนื่องมาจากการประชาชนได้อัญเชิญพระพุทธรูปและนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นล้อเกวียนแห่ไปตามหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำในวันสงกรานต์ ประเพณีการแห่พระลานกระบือเป็นประเพณีที่ชาวบ้านตำบลลานกระบือดั่งเดิมได้ปฏิบัติสืบทอดกันมานาน และมีอยู่ช่วงหนึ่งได้หายไป จนกระทั่งมีผู้เฒ่าผู้แก่เล่าให้ฟัง สำนักงานเทศบาลตำบลลานกระบือ จึงได้ฟื้นฟูประเพณีการแห่พระขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2545 การจัดงานจะจัดในช่วงวันสงกรานต์ ระหว่างวันที่ 13 - 16 เมษายน ซึ่งแต่เดิม ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ จัดการแห่พระเป็นเวลา 4 วัน ต่อมาลดลงเหลือ 2 วัน ปัจจุบันเหลือ 1 วัน โดยจัดในพิธีแห่พระในวันที่ 16 เมษายน เป็นประเพณีการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ที่ยึดถือปฏิบัติมาแต่โบราณ ช่วงวันสงกรานต์ จึงเป็นวันแห่งความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพันที่มีต่อกันทั้งในครอบครัว ชุมชน สังคม และ ศาสนา ดังนี้ คุณค่าต่อครอบครัวทำให้สมาชิกของครอบครัวได้มีโอกาสมาอยู่ร่วมกัน เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตา เช่น ช่วยกันทำความสะอาดบ้าน จัดบ้านใหม่ ช่วยกันทำขนมไว้ทำบุญและเลี้ยงลูกหลาน เช่น ข้าวต้มมัด แกงบวชฟักทอง ขนมเปียกปูน ฯลฯ จัดหาผ้าใหม่มอบให้คนรักนับถือ รดน้ำขอพรผู้ใหญ่ รวมทั้งแสดงความกตัญญู กตเวทิตาต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ด้วยการทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้คุณค่าต่อชุมชนทำให้เกิดความ สมัครสมานสามัคคีใน ชุมชน เช่น ส่งขนม / ของกินให้แก่กันและกันร่วมกันทำบุญให้ทาน พบปะสังสรรค์สนุก สนานรื่นเริงร่วมกันคุณค่าต่อสังคม ทำให้มีความเอื้ออาทรต่อบุคคลในสังคมและร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อม ด้วยการช่วยกันทำความสะอาดบ้านเรือน วัดวาอาราม ที่สาธารณะ และอาคารสถานที่ต่างๆ ในระหว่างวันที่ 13 - 16 เมษายน ของทุกปี ชาวอำเภอลานกระบือทุกตำบลจะจัดประเพณีสงกรานต์ โดยมีกิจกรรมที่คล้าย ๆ กันคือ การทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา สรงน้ำพระ รดน้ำขอพรผู้ใหญ่ รดน้ำให้กัน และบางตำบลอาจมีกิจกรรมบันเทิงต่าง ๆ มากมาย โดยแต่ละกิจกรรมจะแฝงไว้ด้วยคุณค่าและแสดงออกถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย | ประเพณีการแห่พระลานกระบือ ที่เรียกว่า “แห่พระ” เนื่องมาจากการประชาชนได้อัญเชิญพระพุทธรูปและนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นล้อเกวียนแห่ไปตามหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำในวันสงกรานต์ ประเพณีการแห่พระลานกระบือเป็นประเพณีที่ชาวบ้านตำบลลานกระบือดั่งเดิมได้ปฏิบัติสืบทอดกันมานาน และมีอยู่ช่วงหนึ่งได้หายไป จนกระทั่งมีผู้เฒ่าผู้แก่เล่าให้ฟัง สำนักงานเทศบาลตำบลลานกระบือ จึงได้ฟื้นฟูประเพณีการแห่พระขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2545 การจัดงานจะจัดในช่วงวันสงกรานต์ ระหว่างวันที่ 13 - 16 เมษายน ซึ่งแต่เดิม ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ จัดการแห่พระเป็นเวลา 4 วัน ต่อมาลดลงเหลือ 2 วัน ปัจจุบันเหลือ 1 วัน โดยจัดในพิธีแห่พระในวันที่ 16 เมษายน เป็นประเพณีการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ที่ยึดถือปฏิบัติมาแต่โบราณ ช่วงวันสงกรานต์ จึงเป็นวันแห่งความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพันที่มีต่อกันทั้งในครอบครัว ชุมชน สังคม และ ศาสนา ดังนี้ คุณค่าต่อครอบครัวทำให้สมาชิกของครอบครัวได้มีโอกาสมาอยู่ร่วมกัน เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตา เช่น ช่วยกันทำความสะอาดบ้าน จัดบ้านใหม่ ช่วยกันทำขนมไว้ทำบุญและเลี้ยงลูกหลาน เช่น ข้าวต้มมัด แกงบวชฟักทอง ขนมเปียกปูน ฯลฯ จัดหาผ้าใหม่มอบให้คนรักนับถือ รดน้ำขอพรผู้ใหญ่ รวมทั้งแสดงความกตัญญู กตเวทิตาต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ด้วยการทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้คุณค่าต่อชุมชนทำให้เกิดความ สมัครสมานสามัคคีใน ชุมชน เช่น ส่งขนม / ของกินให้แก่กันและกันร่วมกันทำบุญให้ทาน พบปะสังสรรค์สนุก สนานรื่นเริงร่วมกันคุณค่าต่อสังคม ทำให้มีความเอื้ออาทรต่อบุคคลในสังคมและร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อม ด้วยการช่วยกันทำความสะอาดบ้านเรือน วัดวาอาราม ที่สาธารณะ และอาคารสถานที่ต่างๆ ในระหว่างวันที่ 13 - 16 เมษายน ของทุกปี ชาวอำเภอลานกระบือทุกตำบลจะจัดประเพณีสงกรานต์ โดยมีกิจกรรมที่คล้าย ๆ กันคือ การทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา สรงน้ำพระ รดน้ำขอพรผู้ใหญ่ รดน้ำให้กัน และบางตำบลอาจมีกิจกรรมบันเทิงต่าง ๆ มากมาย โดยแต่ละกิจกรรมจะแฝงไว้ด้วยคุณค่าและแสดงออกถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย | ||
'''จุดเด่นของประเพณีที่ทำให้มีผลต่อชื่อเสียงหรือเศรษฐกิจในกำแพงเพชร''' | '''จุดเด่นของประเพณีที่ทำให้มีผลต่อชื่อเสียงหรือเศรษฐกิจในกำแพงเพชร''' | ||
แถว 23: | แถว 23: | ||
'''ขบวนแรก''' อัญเชิญพระพุทธรูป และรูปหล่อหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำ ขึ้นไปประดิษฐานบนล้อเกวียน ซึ่งหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำเป็นอดีตพระเกจิอาจารย์ที่ชาวอำเภอลานกระบือเคารพนับถือ | '''ขบวนแรก''' อัญเชิญพระพุทธรูป และรูปหล่อหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำ ขึ้นไปประดิษฐานบนล้อเกวียน ซึ่งหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำเป็นอดีตพระเกจิอาจารย์ที่ชาวอำเภอลานกระบือเคารพนับถือ | ||
'''ขบวนต่อมา''' เป็นล้อเกวียนที่แต่ละหมู่บ้านจัดตกแต่งไว้อย่างสวยงาม ด้านหน้าของล้อเกวียนแต่ละเล่มจะอัญเชิญพระพุทธรูป จำนวน 1 องค์ ขันน้ำมนต์ 3 ลูก พระภิกษุ สามเณร เล่มละ 4 - 5 รูป ก่อนออกจากวัดจะทำพิธีจุดธูปเทียน พร้อมด้วยดอกไม้ บูชาพระรัตนตรัย ทายกอาราธนาพระปริตร จากนั้นนิมนต์พระภิกษุสามเณรขึ้นล้อเกวียน สวดมนต์ให้พร พร้อมประพรมน้ำมนต์แก่ประชาชนที่มารอสรงน้ำพระ ระหว่างทางในแต่ละหมู่บ้านของเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ จุดประสงค์เพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่ผู้เฒ่าผู้แก่หรือผู้ที่ไม่มีโอกาสเดินทางไปสรงน้ำพระที่วัด หลังจากเดินทางไปครบทุกหมู่บ้าน โดยพระภิกษุสงฆ์ สามเณรจะกลับมาฉันภัตตาหารเพลที่วัดแก้วสุริย์ฉายเวลาประมาณ 13.00 น. ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือและหมู่บ้านใกล้เคียงมาร่วมสรงน้ำพระพุทธรูป รูปหล่อหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำ และพระภิกษุ สามเณร พร้อมกับถวายสบงให้พระภิกษุ สามเณร เรียกว่า “ผ้าอาบน้ำฝน” เพื่อแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลที่ดำรงสืบทอดพระพุทธศาสนา และเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัวเมื่อเสร็จพิธีสรงน้ำพระแล้ว จะทำพิธีรดน้ำขอพรจากผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพและความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยเฉพาะผู้มีอาวุโสน้อยพึงปฏิบัติต่อผู้มีอาวุโสมากบางครอบครัวมีลูกหลานจำนวนมาก ก็จะทำพิธีรดน้ำขอพรพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย โดยจะมีเพื่อนบ้านมาร่วมงานด้วย ซึ่งลูกหลานจะมีอาหารเลี้ยงรับรองแขกผู้มาร่วมงาน มีการร้องรำ และแห่ไปรดน้ำขอพรผู้เฒ่าผู้แก่ที่ลูกหลานจัดให้ในบ้านอื่น ๆ ไป มีบางรายเมื่อเสร็จพิธีรดน้ำขอพรพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย บ้านสุดท้ายกลับบ้านตนเองไม่ถูก ต้องมีเพื่อนบ้านพาไปส่งถึงบ้าน | '''ขบวนต่อมา''' เป็นล้อเกวียนที่แต่ละหมู่บ้านจัดตกแต่งไว้อย่างสวยงาม ด้านหน้าของล้อเกวียนแต่ละเล่มจะอัญเชิญพระพุทธรูป จำนวน 1 องค์ ขันน้ำมนต์ 3 ลูก พระภิกษุ สามเณร เล่มละ 4 - 5 รูป ก่อนออกจากวัดจะทำพิธีจุดธูปเทียน พร้อมด้วยดอกไม้ บูชาพระรัตนตรัย ทายกอาราธนาพระปริตร จากนั้นนิมนต์พระภิกษุสามเณรขึ้นล้อเกวียน สวดมนต์ให้พร พร้อมประพรมน้ำมนต์แก่ประชาชนที่มารอสรงน้ำพระ ระหว่างทางในแต่ละหมู่บ้านของเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ จุดประสงค์เพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่ผู้เฒ่าผู้แก่หรือผู้ที่ไม่มีโอกาสเดินทางไปสรงน้ำพระที่วัด หลังจากเดินทางไปครบทุกหมู่บ้าน โดยพระภิกษุสงฆ์ สามเณรจะกลับมาฉันภัตตาหารเพลที่วัดแก้วสุริย์ฉายเวลาประมาณ 13.00 น. ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือและหมู่บ้านใกล้เคียงมาร่วมสรงน้ำพระพุทธรูป รูปหล่อหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำ และพระภิกษุ สามเณร พร้อมกับถวายสบงให้พระภิกษุ สามเณร เรียกว่า “ผ้าอาบน้ำฝน” เพื่อแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลที่ดำรงสืบทอดพระพุทธศาสนา และเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัวเมื่อเสร็จพิธีสรงน้ำพระแล้ว จะทำพิธีรดน้ำขอพรจากผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพและความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยเฉพาะผู้มีอาวุโสน้อยพึงปฏิบัติต่อผู้มีอาวุโสมากบางครอบครัวมีลูกหลานจำนวนมาก ก็จะทำพิธีรดน้ำขอพรพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย โดยจะมีเพื่อนบ้านมาร่วมงานด้วย ซึ่งลูกหลานจะมีอาหารเลี้ยงรับรองแขกผู้มาร่วมงาน มีการร้องรำ และแห่ไปรดน้ำขอพรผู้เฒ่าผู้แก่ที่ลูกหลานจัดให้ในบ้านอื่น ๆ ไป มีบางรายเมื่อเสร็จพิธีรดน้ำขอพรพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย บ้านสุดท้ายกลับบ้านตนเองไม่ถูก ต้องมีเพื่อนบ้านพาไปส่งถึงบ้าน | ||
− | ===''' | + | ==='''ความสำคัญ'''=== |
'''สาระสำคัญที่ได้จากประเพณีการแห่พระอำเภอลานกระบือ เนื่องในประเพณีวันสงกรานต์''' | '''สาระสำคัญที่ได้จากประเพณีการแห่พระอำเภอลานกระบือ เนื่องในประเพณีวันสงกรานต์''' | ||
1. คุณค่าต่อสังคม เป็นกิจกรรมที่คนในท้องถิ่นได้มีโอกาสมารวมกัน ร่วมกันสืบสานประเพณีการแห่พระอำเภอลานกระบือ เนื่องในประเพณีวันสงกรานต์ซึ่งเคยปฏิบัติกันมาสืบต่อกันมา มีการทำงานร่วมกัน มีการช่วยเหลือและแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ ก่อให้เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะ ประกอบกับประเพณีสงกรานต์ เป็นการสืบทอดประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมาอย่างยาวนาน มีความหมายและมีคุณค่าต่อสังคมเป็นอย่างดี เป็นที่รู้จักของคนทั่วโลก ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงของสังคม นำพาคุณค่าของวันสงกรานต์ให้ถอยห่างออกไปจากความดีงามแบบเดิม เราจึงควรหันกลับมาปกป้องความงดงามแห่งประเพณีนี้อย่างเข้มแข็งและจริงจัง และควรที่จะช่วยกันอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของไทยอย่าให้เบี่ยงเบนจนไม่เหลือความงดงามและคุณค่าของวัฒนธรรมไทย | 1. คุณค่าต่อสังคม เป็นกิจกรรมที่คนในท้องถิ่นได้มีโอกาสมารวมกัน ร่วมกันสืบสานประเพณีการแห่พระอำเภอลานกระบือ เนื่องในประเพณีวันสงกรานต์ซึ่งเคยปฏิบัติกันมาสืบต่อกันมา มีการทำงานร่วมกัน มีการช่วยเหลือและแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ ก่อให้เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะ ประกอบกับประเพณีสงกรานต์ เป็นการสืบทอดประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมาอย่างยาวนาน มีความหมายและมีคุณค่าต่อสังคมเป็นอย่างดี เป็นที่รู้จักของคนทั่วโลก ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงของสังคม นำพาคุณค่าของวันสงกรานต์ให้ถอยห่างออกไปจากความดีงามแบบเดิม เราจึงควรหันกลับมาปกป้องความงดงามแห่งประเพณีนี้อย่างเข้มแข็งและจริงจัง และควรที่จะช่วยกันอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของไทยอย่าให้เบี่ยงเบนจนไม่เหลือความงดงามและคุณค่าของวัฒนธรรมไทย | ||
2. เป็นกิจกรรมที่ฟื้นฟู และอนุรักษ์ประเพณี อันมีลักษณะเด่นแตกต่างจากที่อื่น ๆ ให้คงอยู่เคียงคู่กับอำเภอลานกระบือสืบไป | 2. เป็นกิจกรรมที่ฟื้นฟู และอนุรักษ์ประเพณี อันมีลักษณะเด่นแตกต่างจากที่อื่น ๆ ให้คงอยู่เคียงคู่กับอำเภอลานกระบือสืบไป | ||
3. คุณค่าต่อศาสนา กล่าวคือ พระพุทธรูป รูปหล่อพระสงฆ์ พระสงฆ์และสามเณร เป็นตัวแทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในพิธีการแห่พระ ประชาชนในท้องถิ่นในฐานะพุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสสรงน้ำพระการทำบุญให้ทาน ซึ่งเป็นการเกื้อกูลสูงสุดของมนุษย์ชาติและการถือศีลปฏิบัติธรรม ซึ่งเป็นเหตุแห่งความเจริญรุ่งเรืองของชีวิต และสามารถสืบทอดพระพุทธศาสนามาได้จนถึงปัจจุบัน | 3. คุณค่าต่อศาสนา กล่าวคือ พระพุทธรูป รูปหล่อพระสงฆ์ พระสงฆ์และสามเณร เป็นตัวแทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในพิธีการแห่พระ ประชาชนในท้องถิ่นในฐานะพุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสสรงน้ำพระการทำบุญให้ทาน ซึ่งเป็นการเกื้อกูลสูงสุดของมนุษย์ชาติและการถือศีลปฏิบัติธรรม ซึ่งเป็นเหตุแห่งความเจริญรุ่งเรืองของชีวิต และสามารถสืบทอดพระพุทธศาสนามาได้จนถึงปัจจุบัน | ||
− | ==''' | + | =='''ข้อมูลการสำรวจ'''== |
− | ===''' | + | ==='''แหล่งอ้างอิง'''=== |
1. พระครูรัตนวชิโรภาส เจ้าอาวาสวัดแก้วสุริย์ฉาย/เจ้าคณะตําบลลานกระบือ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตําบลลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร | 1. พระครูรัตนวชิโรภาส เจ้าอาวาสวัดแก้วสุริย์ฉาย/เจ้าคณะตําบลลานกระบือ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตําบลลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร | ||
[[ไฟล์:1 พระครูรัตนวชิโรภาส.jpg|500px|thumb|center]] | [[ไฟล์:1 พระครูรัตนวชิโรภาส.jpg|500px|thumb|center]] | ||
2. พระมหาบุญเลี้ยง ปวรเมธี รองเจ้าคณะตําบลประชาสุขสันต์ (วัดฟากทุ่ง) ประจําอยู่วัดแก้วสุริย์ฉาย ตําบลลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร | 2. พระมหาบุญเลี้ยง ปวรเมธี รองเจ้าคณะตําบลประชาสุขสันต์ (วัดฟากทุ่ง) ประจําอยู่วัดแก้วสุริย์ฉาย ตําบลลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร | ||
− | + | [[ไฟล์:2 พระมหาบุญเลี้ยง.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | + | 3. นายแล อ้นอินทร์ ไวยาวัจกรวัดแก้วสุริย์ฉาย 18/1 หมู่ 2 ตําบลโนนพลวง เขตเทศบาล อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร | |
− | + | [[ไฟล์:3 นายแล อ้นอินทร์.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | + | 4. นายสันติ อภัยราช บ้านเลขที่ 202/14 ซอยอภัยราช ถนนกำแพงเพชร นครชุม หมู่ที่ 3 ตำบลนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ 62000 | |
− | + | [[ไฟล์:4 อาจารย์สันติ.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | + | ==='''วันเดือนปีที่สำรวจ'''=== | |
− | + | 16 กุมภาพันธ์ 2561 | |
− | + | ==='''วันที่ปรับปรุงข้อมูล'''=== | |
− | + | - | |
− | 3. นายแล อ้นอินทร์ | + | ==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''=== |
− | + | นางสาวจิรัสฐภรณ์ แจ่มจำรัส นักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร | |
− | + | ==='''คำสำคัญ (tag)'''=== | |
− | + | การแห่พระ, การแห่พระด้วยเกวียน, ลานกระบือ, จังหวัดกำแพงเพชร | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:34, 19 กุมภาพันธ์ 2564
เนื้อหา
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อเรียก
ประเพณีการแห่พระด้วยเกวียน อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร
ชื่อเรียกอื่น
แห่พระ
เดือนที่จัดงาน
การจัดงานจะจัดในช่วงวันสงกรานต์ ระหว่าง วันที่ 16 เมษายน
เวลาทางจันทรคติ
-
สถานที่
อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร
ประเภทประเพณี
ขนบประเพณี (ประเพณีเกี่ยวกับเทศกาล)
ประวัติความเป็นมา
ประเพณีการแห่พระลานกระบือ ที่เรียกว่า “แห่พระ” เนื่องมาจากการประชาชนได้อัญเชิญพระพุทธรูปและนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นล้อเกวียนแห่ไปตามหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำในวันสงกรานต์ ประเพณีการแห่พระลานกระบือเป็นประเพณีที่ชาวบ้านตำบลลานกระบือดั่งเดิมได้ปฏิบัติสืบทอดกันมานาน และมีอยู่ช่วงหนึ่งได้หายไป จนกระทั่งมีผู้เฒ่าผู้แก่เล่าให้ฟัง สำนักงานเทศบาลตำบลลานกระบือ จึงได้ฟื้นฟูประเพณีการแห่พระขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2545 การจัดงานจะจัดในช่วงวันสงกรานต์ ระหว่างวันที่ 13 - 16 เมษายน ซึ่งแต่เดิม ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ จัดการแห่พระเป็นเวลา 4 วัน ต่อมาลดลงเหลือ 2 วัน ปัจจุบันเหลือ 1 วัน โดยจัดในพิธีแห่พระในวันที่ 16 เมษายน เป็นประเพณีการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ที่ยึดถือปฏิบัติมาแต่โบราณ ช่วงวันสงกรานต์ จึงเป็นวันแห่งความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพันที่มีต่อกันทั้งในครอบครัว ชุมชน สังคม และ ศาสนา ดังนี้ คุณค่าต่อครอบครัวทำให้สมาชิกของครอบครัวได้มีโอกาสมาอยู่ร่วมกัน เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตา เช่น ช่วยกันทำความสะอาดบ้าน จัดบ้านใหม่ ช่วยกันทำขนมไว้ทำบุญและเลี้ยงลูกหลาน เช่น ข้าวต้มมัด แกงบวชฟักทอง ขนมเปียกปูน ฯลฯ จัดหาผ้าใหม่มอบให้คนรักนับถือ รดน้ำขอพรผู้ใหญ่ รวมทั้งแสดงความกตัญญู กตเวทิตาต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ด้วยการทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้คุณค่าต่อชุมชนทำให้เกิดความ สมัครสมานสามัคคีใน ชุมชน เช่น ส่งขนม / ของกินให้แก่กันและกันร่วมกันทำบุญให้ทาน พบปะสังสรรค์สนุก สนานรื่นเริงร่วมกันคุณค่าต่อสังคม ทำให้มีความเอื้ออาทรต่อบุคคลในสังคมและร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อม ด้วยการช่วยกันทำความสะอาดบ้านเรือน วัดวาอาราม ที่สาธารณะ และอาคารสถานที่ต่างๆ ในระหว่างวันที่ 13 - 16 เมษายน ของทุกปี ชาวอำเภอลานกระบือทุกตำบลจะจัดประเพณีสงกรานต์ โดยมีกิจกรรมที่คล้าย ๆ กันคือ การทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา สรงน้ำพระ รดน้ำขอพรผู้ใหญ่ รดน้ำให้กัน และบางตำบลอาจมีกิจกรรมบันเทิงต่าง ๆ มากมาย โดยแต่ละกิจกรรมจะแฝงไว้ด้วยคุณค่าและแสดงออกถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย จุดเด่นของประเพณีที่ทำให้มีผลต่อชื่อเสียงหรือเศรษฐกิจในกำแพงเพชร ประเพณีสงกรานต์ของประชาชนภายในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร ที่จัดงานสงกรานต์สืบต่อกันมาจนเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นประจำทุกปี ซึ่งการจัดงานวันสงกรานต์จะมีลักษณะเด่นและแตกต่างจากที่อื่น ๆ ก็คือ ประเพณีการแห่พระ จะทำกันในวันที่ 15 เมษายนของทุกปี กิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่ประชาชนในเขตเทศบาลได้ปฏิบัติสืบทอดกันมา จากการสอบถามชาวบ้าน โดยเฉพาะผู้เฒ่าผู้แก่ ในอำเภอลานกระบือ สามารถนำข้อมูลมาสรุปได้ดังนี้ ก่อนวันสงกรานต์ (วันที่ 12 เมษายน) พี่ น้องและญาติ ที่ไปทำงานที่อื่น จะเดินทางกลับมาบ้านเพื่อมาทำบุญร่วมกัน เป็นการพบประสังสรรค์และเล่นสาดน้ำกันตามประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา ในวันนี้มักจะเป็นการเตรียมความพร้อม เพื่อความเป็นสิริมงคลในการจะเริ่มต้นชีวิตวันขึ้นปีใหม่ไทยโบราณการเตรียมตัวในเรื่องต่าง ๆ เช่น การจัดเตรียมเสื้อผ้าซักรีดให้สะอาด การจัดทำอาหารไปทำบุญ ส่วนใหญ่จะเป็นขนม สำรับอาหารจะจัดเตรียมในช่วงเวลาเช้าของวันที่ 13 เมษายน วันที่ 13 - 15 เมษายน ช่วงเวลาเช้าทุกคน ทุกครอบครัว ยิ้มแย้มแจ่มใส จิตใจเบิกบาน พากันไปทำบุญตักบาตร นำอาหารไปถวายพระที่วัดแก้วสุริย์ฉาย ถือเป็นการสืบทอดและทำนุบำรุงพุทธศาสนา อีกทั้งช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้เป็นการรู้จักการให้ การเสียสละ โดยไม่มุ่งหวังสิ่งใดตอบแทน เมื่อทำบุญแล้วก็จะทำการอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษ หรือการทำบุญอัฐิ เป็นการแสดงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณหรือญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว มีบางคนนำสัตว์น้ำไปปล่อยในสระน้ำของวัด เป็นการทำบุญเพื่อแสดงความกรุณาต่อสัตว์ เช่น การปล่อยปลา ผู้ที่ปล่อยปลาจะต้องจัดหามาเองอาจจะซื้อจากตลาดสด หรือจับมาจากแอ่งและหนองน้ำจากท้องทุ่งนาของตน ซึ่งในช่วงสงกรานต์เป็นหน้าแล้งอากาศร้อนจัด น้ำแห้งขอดปลาก็ตกคลัก (ตกคลัก หมายถึง ไม่มีที่ไปมีน้ำเหลืออยู่น้อยไม่สามารถไปที่อื่นได้) อีกไม่ช้าพอน้ำแห้งหมดปลาเหล่านั้นก็จะต้องตาย ถ้าเป็นลูกปลาจะกินไม่ได้เนื้อได้หนังอะไรก็เลี้ยงไว้ในตุ่มเอาบุญ แล้วนำไปปล่อยในวันสงกรานต์ สำหรับผู้ที่ปล่อยเต่าหรือตะพาบ มีความเชื่อว่า หากปล่อยเต่าหรือตะพาบจะทำให้มีอายุจะยืนยาว จึงเกิดเป็นประเพณีปล่อยปลา และ ปล่อยนกด้วย วันที่ 15 เมษายน หลังจากทำบุญตักบาตรในช่วงเช้าเสร็จแล้ว เวลาประมาณ 09.00 น. ชาวบ้านในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ ประกอบด้วยบุคคลทุกเพศทุกวัย ต่างเดินทางไปรวมกันที่วัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ เพื่อร่วมกิจกรรมการก่อเจดีย์ทราย มีทั้งผู้เชียร์ ผู้ชมและผู้เข้าแข่งขัน การแข่งขันมีเงินรางวัลจากสำนักงานเทศบาลตำบลลานกระบือเป็นเดิมพัน หลักเกณฑ์การแข่งขันกำหนดระยะเวลาแข่งขัน 1 ชั่วโมง โดยผู้เข้าร่วมแข่งขันแต่ละทีมจะต้องแต่งกายชุดพื้นบ้านผู้ชายสวมกางเกงขาก๊วย ผ้าขาวม้าคาดพุง ผู้หญิงนุ่งผ้าถุง เสื้อคอกระเช้า ดูแล้วสวยงามแบบย้อนยุค อุปกรณ์ตกแต่งกองทรายประกอบด้วย พวงเต่ารั้ง ธง สายรุ้งหรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อให้เกิดความสวยงาม คณะที่เข้าแข่งขันต้องเป็นผู้จัดเตรียมหามาเอง เมื่อถึงเวลาแข่งขันคณะกรรมการจะให้สัญญาณโดยเป่านกหวีด ผู้เข้าแข่งขันต่างวิ่งไปตักทรายมาก่อให้เป็นกอง และตกแต่งให้สวยงามตามแบบที่ทีมกำหนด สำหรับทรายที่นำมาก่อเจดีย์ สำนักงานเทศบาลตำบลลานกระบือเป็นหน่วยงานที่จัดเตรียมไว้ให้ ซึ่งต่างจากสมัยโบราณที่ทุกคนต้องไป จัดหาและนำทรายไปก่อเป็นเจดีย์ที่วัด คนสมัยก่อนส่วนใหญ่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ ในวัดดังนั้น เขาก็ถือว่าทรายอาจติดเท้าออกไป เมื่อถึงปี จึงควรจะขนทรายไปใช้คืน จุดประสงค์ก็คือ ให้พระภิกษุได้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างหรือใช้ถมพื้นต่อไป ปัจจุบันการก่อเจดีย์อาจจะเหลือเพียงรูปแบบ จึงอาจจะปรับเปลี่ยนไปทำบุญในรูปแบบอื่นแทนได้เวลาประมาณบ่ายโมงจะมีชาวบ้านในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือแต่ละหมู่บ้าน มาพร้อมเพรียงกัน ณ บริเวณวัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ ซึ่งชาวบ้านจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งจะจัดเตรียมอุปกรณ์ในการตกแต่งล้อเกวียนซึ่งจะจัดหามาเอง เช่น ก้านมะพร้าว ดอกไม้ ใบตอง ฯลฯ ประดับประดาให้เกิดความสวยงาม เพื่อนำไปใช้ในพิธีการ แห่พระ ในวันที่ 16 เมษายน ส่วนที่สองจะแข่งขันกีฬา กีฬาในแต่ละปีจะไม่เหมือนกัน กล่าวคือ บางปีแข่งขันพื้นบ้าน เช่น วิ่งกระสอบ บางปีแข่งขันฟุตบอล หากเป็นการแข่งขันฟุตบอลจะแข่งขันที่สนามโรงเรียนอนุบาลลานกระบือ ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามเยืองวัดแก้วสุริย์ฉาย คณะที่ชนะการแข่งขันจะได้รับรางวัลจากสำนักงานเทศบาลตำบลลานกระบือ ซึ่งในแต่ละปีเงินรางวัลจะไม่เท่ากันภาคกลางคืนมีการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม เช่น การประกวดครอบครัวอบอุ่น ประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง ลิเก รำวงย้อนยุค ฯลฯ ซึ่งเป็นการส่งเสริม และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมให้ลูกหลานในท้องถิ่นได้มีโอกาสชม และร่วมกันอนุรักษ์ให้คงอยู่สืบไป โดยสำนักงานเทศบาลตำบลลานกระบือได้ตั้งงบประมาณอุดหนุนกิจกรรมดังกล่าวไว้เพื่อดำเนินการเป็นประจำทุกปี วันที่ 16 เมษายน หลังจากทำบุญตักบาตรในช่วงเช้าเสร็จแล้ว เวลาประมาณ 09.00 น. ชาวบ้านแต่ละหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ จะมารวมกันที่ขบวนล้อเกวียนของตนที่จัดตกแต่งไว้ ณ บริเวณวัดแก้วสุริย์ฉาย ตำบลลานกระบือ อีกครั้งหนึ่งวันนี้จะเป็นวันที่ทุกคนมีความสนุกสนานรื่นเริงกันเต็มที่ เนื่องจากเป็นวันสุดท้ายของประเพณีสงกรานต์ ผู้ที่มาร่วมขบวนแต่ละหมู่บ้านจะจัดเตรียมมโหรีบรรเลง เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เช่น แคนวงประยุกต์ เครื่องขยายเสียงเปิดเพลงจังหวะเร้าใจ ทุกคนภายในบริเวณงานจะร้องรำ และเล่นสาดน้ำกันอย่างมีความสุขจากนั้นก็จะเริ่มจัดขบวนเพื่อทำพิธีแห่พระ โดยจัดขบวนเรียงลำดับ ดังนี้ ขบวนแรก อัญเชิญพระพุทธรูป และรูปหล่อหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำ ขึ้นไปประดิษฐานบนล้อเกวียน ซึ่งหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำเป็นอดีตพระเกจิอาจารย์ที่ชาวอำเภอลานกระบือเคารพนับถือ ขบวนต่อมา เป็นล้อเกวียนที่แต่ละหมู่บ้านจัดตกแต่งไว้อย่างสวยงาม ด้านหน้าของล้อเกวียนแต่ละเล่มจะอัญเชิญพระพุทธรูป จำนวน 1 องค์ ขันน้ำมนต์ 3 ลูก พระภิกษุ สามเณร เล่มละ 4 - 5 รูป ก่อนออกจากวัดจะทำพิธีจุดธูปเทียน พร้อมด้วยดอกไม้ บูชาพระรัตนตรัย ทายกอาราธนาพระปริตร จากนั้นนิมนต์พระภิกษุสามเณรขึ้นล้อเกวียน สวดมนต์ให้พร พร้อมประพรมน้ำมนต์แก่ประชาชนที่มารอสรงน้ำพระ ระหว่างทางในแต่ละหมู่บ้านของเขตเทศบาลตำบลลานกระบือ จุดประสงค์เพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่ผู้เฒ่าผู้แก่หรือผู้ที่ไม่มีโอกาสเดินทางไปสรงน้ำพระที่วัด หลังจากเดินทางไปครบทุกหมู่บ้าน โดยพระภิกษุสงฆ์ สามเณรจะกลับมาฉันภัตตาหารเพลที่วัดแก้วสุริย์ฉายเวลาประมาณ 13.00 น. ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลานกระบือและหมู่บ้านใกล้เคียงมาร่วมสรงน้ำพระพุทธรูป รูปหล่อหลวงพ่อกลับ หลวงพ่อขำ และพระภิกษุ สามเณร พร้อมกับถวายสบงให้พระภิกษุ สามเณร เรียกว่า “ผ้าอาบน้ำฝน” เพื่อแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลที่ดำรงสืบทอดพระพุทธศาสนา และเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัวเมื่อเสร็จพิธีสรงน้ำพระแล้ว จะทำพิธีรดน้ำขอพรจากผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพและความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยเฉพาะผู้มีอาวุโสน้อยพึงปฏิบัติต่อผู้มีอาวุโสมากบางครอบครัวมีลูกหลานจำนวนมาก ก็จะทำพิธีรดน้ำขอพรพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย โดยจะมีเพื่อนบ้านมาร่วมงานด้วย ซึ่งลูกหลานจะมีอาหารเลี้ยงรับรองแขกผู้มาร่วมงาน มีการร้องรำ และแห่ไปรดน้ำขอพรผู้เฒ่าผู้แก่ที่ลูกหลานจัดให้ในบ้านอื่น ๆ ไป มีบางรายเมื่อเสร็จพิธีรดน้ำขอพรพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย บ้านสุดท้ายกลับบ้านตนเองไม่ถูก ต้องมีเพื่อนบ้านพาไปส่งถึงบ้าน
ความสำคัญ
สาระสำคัญที่ได้จากประเพณีการแห่พระอำเภอลานกระบือ เนื่องในประเพณีวันสงกรานต์ 1. คุณค่าต่อสังคม เป็นกิจกรรมที่คนในท้องถิ่นได้มีโอกาสมารวมกัน ร่วมกันสืบสานประเพณีการแห่พระอำเภอลานกระบือ เนื่องในประเพณีวันสงกรานต์ซึ่งเคยปฏิบัติกันมาสืบต่อกันมา มีการทำงานร่วมกัน มีการช่วยเหลือและแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ ก่อให้เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะ ประกอบกับประเพณีสงกรานต์ เป็นการสืบทอดประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมาอย่างยาวนาน มีความหมายและมีคุณค่าต่อสังคมเป็นอย่างดี เป็นที่รู้จักของคนทั่วโลก ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงของสังคม นำพาคุณค่าของวันสงกรานต์ให้ถอยห่างออกไปจากความดีงามแบบเดิม เราจึงควรหันกลับมาปกป้องความงดงามแห่งประเพณีนี้อย่างเข้มแข็งและจริงจัง และควรที่จะช่วยกันอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของไทยอย่าให้เบี่ยงเบนจนไม่เหลือความงดงามและคุณค่าของวัฒนธรรมไทย 2. เป็นกิจกรรมที่ฟื้นฟู และอนุรักษ์ประเพณี อันมีลักษณะเด่นแตกต่างจากที่อื่น ๆ ให้คงอยู่เคียงคู่กับอำเภอลานกระบือสืบไป 3. คุณค่าต่อศาสนา กล่าวคือ พระพุทธรูป รูปหล่อพระสงฆ์ พระสงฆ์และสามเณร เป็นตัวแทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในพิธีการแห่พระ ประชาชนในท้องถิ่นในฐานะพุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสสรงน้ำพระการทำบุญให้ทาน ซึ่งเป็นการเกื้อกูลสูงสุดของมนุษย์ชาติและการถือศีลปฏิบัติธรรม ซึ่งเป็นเหตุแห่งความเจริญรุ่งเรืองของชีวิต และสามารถสืบทอดพระพุทธศาสนามาได้จนถึงปัจจุบัน
ข้อมูลการสำรวจ
แหล่งอ้างอิง
1. พระครูรัตนวชิโรภาส เจ้าอาวาสวัดแก้วสุริย์ฉาย/เจ้าคณะตําบลลานกระบือ วัดแก้วสุริย์ฉาย ตําบลลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร
2. พระมหาบุญเลี้ยง ปวรเมธี รองเจ้าคณะตําบลประชาสุขสันต์ (วัดฟากทุ่ง) ประจําอยู่วัดแก้วสุริย์ฉาย ตําบลลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร
3. นายแล อ้นอินทร์ ไวยาวัจกรวัดแก้วสุริย์ฉาย 18/1 หมู่ 2 ตําบลโนนพลวง เขตเทศบาล อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร
4. นายสันติ อภัยราช บ้านเลขที่ 202/14 ซอยอภัยราช ถนนกำแพงเพชร นครชุม หมู่ที่ 3 ตำบลนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ 62000
วันเดือนปีที่สำรวจ
16 กุมภาพันธ์ 2561
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
-
ผู้สำรวจข้อมูล
นางสาวจิรัสฐภรณ์ แจ่มจำรัส นักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
คำสำคัญ (tag)
การแห่พระ, การแห่พระด้วยเกวียน, ลานกระบือ, จังหวัดกำแพงเพชร