|
|
แถว 1: |
แถว 1: |
− | =='''ข้อมูลทั่วไป'''==
| + | 1. วัดหงษ์ทอง (หลวงพ่อจุล) > '''[https://acc.kpru.ac.th/KPPStudies/index.php?title=%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%87%E0%B8%A9%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87_(%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%A5) ฐานข้อมูล]''' |
− | ==='''ชื่อเรียก'''===
| + | 2. วัดสิงคาราม > ฐานข้อมูล |
− | วัดหงษ์ทอง (หลวงพ่อจุล)
| |
− | ==='''ศาสนา'''===
| |
− | ศาสนาพุทธ มหานิกาย
| |
− | ==='''ที่ตั้ง'''===
| |
− | เลขที่ 1 หมู่ 5 ตำบลสลกบาตร อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร 62140
| |
− | ==='''ที่ตั้งพิกัดทางภูมิศาสตร์'''===
| |
− | ละติจูด (Latitude) : 16.0007458
| |
− | ลองติจูด (Longitude) : 99.7979634
| |
− | ==='''หน่วยงานที่ดูแลรักษา'''===
| |
− | สำนักงานพระพุทธศาสนา
| |
− | ==='''สถานะการขึ้นทะเบียน'''===
| |
− | ประเภท วัดราษฎร์
| |
− | ==='''วัน/เดือน/ปีก่อสร้าง'''===
| |
− | วันที่ตั้งวัด 2420
| |
− | วันรับวิสุงคามสีมา 1 มกราคม 2506
| |
− | =='''ข้อมูลจำเพาะ'''==
| |
− | ==='''ประวัติความเป็นมา/คำบอกเล่า/ตำนาน'''===
| |
− | วัดหงษ์ทอง (หลวงพ่อจุล) หลวงพ่อท่านเจ้าคุณพระวชิรสารโสภณ (จุล อิสสร ญาโณ) หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า หลวงพ่อจุล เจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง และอดีตเจ้าคณะอำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร
| |
− | [[ไฟล์:ภาพที่ 6 วัดหงษ์ทอง.jpg|500px|thumb|center]]
| |
− | <p align = "center"> '''ภาพที่ 1 วัดหงษ์ทอง (หลวงพ่อจุล)''' </p>
| |
− | “พระวชิรสารโสภณ” หรือ “หลวงพ่อจุล อิสสรญาโณ” อดีตเจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง และยังเป็นอดีตเจ้าคณะอำเภอขาณุวรลักษบุรี จ.กำแพงเพชร เป็นพระเถระที่ชาวบ้านให้ความเลื่อมใสศรัทธามาช้านาน สร้างโรงเรียนวชิรสารโสภณและสนับสนุนโรงเรียนสลกบาตร มาเป็นเวลานาน มีนามเดิม จุล พุทธชาติ หลวงพ่อจุล เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2437 ที่บ้านสลกบาตร ตำบลสลกบาตร อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร
| |
− | [[ไฟล์:ภาพที่ 2 พระวชิรสารโสภณ.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | <p align = "center"> '''ภาพที่ 2 “พระวชิรสารโสภณ” หรือ “หลวงพ่อจุล อิสสรญาโณ” อดีตเจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง''' </p>
| |
− | เป็นบุตรของนายเนตร ส่วนมารดานั้นไม่ทราบชื่อ ในวัยเด็กได้ศึกษาเล่าเรียนจนจบชั้นประถม จากนั้นได้ช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพ จนถึงปี พ.ศ.2458 อายุได้ 21 ปี ได้ไปเป็นศิษย์วัดอยู่ที่จังหวัดตาก 2 ปี จากนั้นจึงได้กลับมาอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2460 ณ วัดหงษ์ทอง หลังอุปสมบทแล้วได้ไปจำพรรษาที่วัดสิงคาราม ตำบลสลกบาตร อำเภอขาณุลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร เพื่อศึกษาพระธรรมวินัย หากยังคงไปมาระหว่างวัดหงษ์ทองและวัดสิงคาราม จำพรรษาที่วัดสิงคารามได้ 3 พรรษา จึงได้ไปศึกษาวิชาต่อที่วัดบ้านแก่ง ตำบลบ้านแก่ง อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เป็นศิษย์พระครูนิวุตถ์พรหมจรรย์ (ทองอยู่) ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นผู้มีวิชาคาถาอาคมขลัง อีกทั้งมีความรู้ดีในด้านพระปริยัตธรรม ซึ่งแต่ละปีจะมีพระภิกษุทั้งจากเมืองกำแพงเพชรและเมืองนครสวรรค์มาฝากตัวเป็นศิษย์มากมาย
| |
− | กล่าวกันว่าหลวงพ่อทองอยู่ วัดบ้านแก่ง ท่านเป็นศิษย์หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ แต่ก็มีผู้บอกว่าท่านเป็นสหายทางธรรมกันต่อมาวัดหงษ์ทองได้ว่างตำแหน่งเจ้าอาวาสวัด ทางมรรคทายกวัดพร้อมชาวบ้านสลกบาตรได้ร่วมกันสรรหาพระภิกษุผู้ที่จะมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ได้เห็นพ้องต้องกันว่าเป็นหลวงพ่อจุล ที่ขณะนั้นยังจำพรรษาที่วัดบ้านแก่งอยู่ จึงได้ไปนิมนต์หลวงพ่อจุลมาเป็นเจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง ในปี พ.ศ. 2478 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระใบฎีกา ฐานานุกรมของพระวิบูลย์วชิรธรรม (สว่าง อุตฺตโร) วัดคฤหบดีสงฆ์ (ท่าพุทรา) ซึ่งเป็นเจ้าคณะอำเภอขาณุวรลักษบุรีในขณะนั้น ปี พ.ศ.2480 ได้เลื่อนขึ้นเป็นที่ “พระสมุห์” ปี พ.ศ.2481 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ “พระครูวิกรมวชิรสาร” ต่อมาในปี พ.ศ.2502 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ “พระวชิรสารโสภณ”
| |
− | [[ไฟล์:ภาพที่ 7 เจ้าคุณพระวชิรสารโสภณ (จุล).jpg|500px|thumb|center]]
| |
− | <p align = "center"> '''ภาพที่ 3 เจ้าคุณพระวชิรสารโสภณ (จุล)''' </p>
| |
− | ท่านปฏิบัติในพระธรรมวินัยโดยเคร่งครัด มีคุณูปการแก่พระศาสนาอเนกประการ ญาติมิตรและสาธุชนทั่วไป ท่านอบรมสั่งสอนให้ประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอย่างดีตลอดมา ด้านหน้าที่สงฆ์ของหลวงพ่อจุล นับแต่ปี พ.ศ.2470 ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง ปี พ.ศ.2471 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าคณะตำบลสลกบาตร ปี พ.ศ.2478 ได้รับตราตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ ปี พ.ศ.2487 ได้รับแต่งตั้งเป็นสาธารณูปการจังหวัดและเป็นกรรมการตรวจสอบนักธรรม
| |
− | [[ไฟล์:ภาพที่ 4 ศาลาทรงไทยพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน.jpg|500px|thumb|center]]
| |
− | <p align = "center"> '''ภาพที่ 4 ศาลาทรงไทยพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน''' </p>
| |
− | ท่านมีคุณาประการแก่พระศาสนาอเนกประการนับว่าท่านเป็นอัฉริยะตั้งอยู่ในฐานะอภิปูชนียบุคคลสมเป็นที่เคารพนับถือและรักใคร่แก่ศิษยานุศิษย์ ญาติมิตรและสาธุชนทั่วไป ท่านได้อบรมสั่งสอนให้ประพฤติ ปฏิบัติตามธรรมวินัย คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอย่างดีตลอดมา ครั้นอายุมาก สังขารร่วงโรย หลวงพ่อจุลมีอาการอาพาธเป็นเบาหวานและโรคปอด ญาติและศิษย์ช่วยกันนำท่านไปรักษาที่โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ แต่อาการป่วยของท่านทรุดลง ไม่บรรเทา หลวงพ่อจุลมรณภาพ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2512 สิริอายุได้ 74 ปี พรรษาที่ 51
| |
− | [[ไฟล์:ภาพที่ 5 บรรยากาศภายในวัด.jpg|500px|thumb|center]]
| |
− | <p align = "center"> '''ภาพที่ 5 บรรยากาศภายในวัด''' </p>
| |
− | ==='''ลักษณะทางสถาปัตยกรรม'''===
| |
− | -
| |
− | ==='''บุคคลที่เกี่ยวข้อง'''===
| |
− | ชมรมพระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
| |
− | ==='''วิธี/ขั้นตอน/กระบวนการในการสักการะ'''===
| |
− | ดอกไม้ ธูป เทียน
| |
− | =='''ข้อมูลการสำรวจ'''==
| |
− | ==='''แหล่งอ้างอิง'''===
| |
− | เจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง ที่อยู่ 1 หมู่ 5 ตำบลสลกบาตร อ.ขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร โทร. 0-5577-1299
| |
− | ชมรมพระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
| |
− | ==='''วันเดือนปีที่สำรวจ'''===
| |
− | วันที่ 2-3 มีนาคม 2562
| |
− | ==='''วันปรับปรุงข้อมูล'''===
| |
− | -
| |
− | ==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''===
| |
− | นางสาวสุรินทร์ เพชรไทย
| |
− | ==='''คำสำคัญ (tag)'''===
| |
− | วัดหงษ์ทอง, หลวงพ่อจุล
| |
| | | |
| | | |
| | | |
− | 2. ศาสนสถาน และสิ่งศักดิ์สิทธิ์
| |
− | 2.1. ข้อมูลทั่วไป
| |
− | 2.1.1. ชื่อเรียก
| |
− | วัดสิงคาราม
| |
− | 2.1.2. ศาสนา
| |
− | ศาสนาพุทธ มหานิกาย
| |
| | | |
− | 2.1.3. ที่ตั้ง
| |
− | เลขที่ 1 หมู่ 1 ตำบลสลกบาตร อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร 62140
| |
− | 2.1.4. ที่ตั้งพิกัดทางภูมิศาสตร์
| |
− | ละติจูด (Latitude) : 16.0005871
| |
− | ลองติจูด (Longitude) : 99.8026453
| |
− |
| |
− | 2.1.5. หน่วยงานที่ดูแลรักษา
| |
− | สำนักงานพระพุทธศาสนา
| |
− | 2.1.6. สถานะการขึ้นทะเบียน
| |
− | ประเภท วัดราษฎร์
| |
− |
| |
− | 2.1.7. วัน/เดือน/ปีก่อสร้าง
| |
− | วันที่ตั้งวัด 2400
| |
− | วันรับวิสุงคามสีมา 1 มกราคม 2506
| |
− |
| |
− | 2.2. ข้อมูลจำเพาะ
| |
− | 2.2.1. ประวัติความเป็นมา/คำบอกเล่า/ตำนาน
| |
− | วัดสิงคาราม เป็นวัดที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของชาวบ้านสลกบาตร สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีโบราณสถานและโบราณวัตถุเป็นที่เคารพสักการะของประชาชน วัดสิงคารามเป็นวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดกำแพงเพชร โดยเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2521 ได้ต้อนรับการเสด็จในหลวงรัชกาลที่ 10 สมัยทรงอิสริยยศเป็นสยามกุฏราชกุมาร ทรงเสร็จเป็นองค์ประธานตัดหวายลูกนิมิตควรแล้วที่ชาวสลกบาตรจะภูมิใจและช่วยกันทำนุบำรุง และวันจันทร์ที่ 1 มกราคม 2560 ตั้งแต่เวลา 19.19 น. นายธัชชัย สีสุวรรณ
| |
− | ผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร เป็นประธานพิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ณ วัดสิงคาราม ตำบลสลกบาตร อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร โดยอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นสู่ยอดพระธาตุ เพื่อความเหมาะสม มีพุทธศาสนิกชนเข้าร่วมพิธีเป็นจำนวนมาก
| |
− |
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 1 พิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นสู่ยอดพระธาตุ
| |
− | ที่มา : (เคพีพีนิวส์ข่าวจังหวัดกำแพงเพชร, 2561)
| |
− |
| |
− | วัดสิงคาราม หรือวัดสิงห์ เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองสลกบาตร มีองค์พระเก่าที่ชาวบ้านเรียก
| |
− | “หลวงปู่สิงห์”ที่มีมาตั้งแต่สมัยก่อนและเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านตำบลสลกบาตรได้เคารพและนับถือ กันมาแต่ช้านานถือว่าเป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ของตำบลสลกบาตร ปัจจุบันได้มีการบูรณะขึ้นมาอย่างสวยงามเพื่อให้ประชาชนชาวสลกบาตรหรือผู้ที่ผ่านมาไว้แวะมาสักการะบูชาและขอพร
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 2 พระธาตุสถานที่เก็บพระบรมสารีริกธาตุ
| |
− |
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 3 หลวงปู่เจ้าวัดก่อนเริ่มบูรณะ
| |
− | ที่มา: (พร้อมเพรียง ภูริญาโณ, 2559)
| |
− |
| |
− | วิหารหลวงปู่เจ้าวัด ทำฝ้าเพด้านด้วยไม้สักทอง รั้วแกะสลักประจำปีเกิด 12 ราศรี ภายในเป็นที่ประดิษฐานของหลวงปู่สิงห์ (หลวงปู่เจ้าวัด)
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 4 วิหารหลวงปู่เจ้าวัด
| |
− |
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 5 หลวงปู่สิงห์ (หลวงปู่เจ้าวัด)
| |
− | อุโบสถ (อ่านว่า อุ-โบ-สด) ถือเป็นอาคารที่สำคัญภายในวัดเนื่องจากเป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทำ สังฆกรรมซึ่งแต่เดิมในการทำสังฆกรรมของ พระภิกษุสงฆ์จะใช้เพียงพื้นที่โล่ง ๆ ที่กำหนดขอบเขตพื้นที่
| |
− | สังฆกรรมโดยการกำหนดตำแหน่ง“สีมา” เท่านั้น แต่ในปัจจุบันจากการมีผู้บวชมากขึ้น อีกทั้งภายใน พระอุโบสถมักประดิษฐานพระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์สำคัญ ๆ ทำให้มีผู้มาสักการบูชาและร่วมทำบุญเป็นจำนวนมาก พระอุโบสถจึงถูกสร้าง ขึ้นเป็นอาคารถาวรและมักมี การประดับตกแต่งอย่างสวยงาม สำหรับอุโบสถเดิมของวัดสิงคารามจะเป็นอาคารชั้นเดียว ปัจจุบันชาวบ้านได้ร่วมใจกันสร้างอุโบสถหลังใหม่ มีความสวยงาน
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 6 อุโบสถหลังเก่าวัดสิงคาราม
| |
− |
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 7 อุโบสถหลังใหม่วัดสิงคาราม
| |
− | นอกจากนี้ภายในวัดยังมีพระพุทธรูปให้ประชาชนได้กราบไหว้ในสถานที่ต่างๆอีกหลายจุด แล้วแต่ความศัรทธา
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 8 พระพุทธรูปภายในวัดสิงคาราม
| |
− |
| |
− |
| |
− | ภาพที่ 9 ต้นตะเคียน
| |
− |
| |
− | ภายในวัดบริเวณวิหารหลวงปู่เจ้าวัดมีต้นตะเคียน ที่ชาวบ้านให้ความเคารพและเข้ามากราบไหว้กันเป็นจำนวนมาก โดยนำดอกไม้ ผ้าสีต่างๆ ผูกไว้ด้วยความศรัทธา
| |
− |
| |
− | 2.2.2. ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
| |
− | -
| |
− | 2.2.3. บุคคลที่เกี่ยวข้อง
| |
− | เจ้าอาวาสพระมหาพร้อมเพรียง ภูริญาโณ
| |
− | 2.2.4. วิธี/ขั้นตอน/กระบวนการในการสักการะ
| |
− | ดอกไม้ ธูป เทียน
| |
− | 2.3. ข้อมูลการสำรวจ
| |
− | 2.3.1. แหล่งอ้างอิง
| |
− | เจ้าอาวาสพระมหาพร้อมเพรียง ภูริญาโณ
| |
− | เทศบาลตำบลสลกบาตร
| |
− | 2.3.2. วันเดือนปีที่สำรวจ
| |
− | วันที่ 9-10 มีนาคม 2562
| |
− | 2.3.3. วันปรับปรุงข้อมูล
| |
− | -
| |
− | 2.3.4. ผู้สำรวจข้อมูล
| |
− | นางสาวสุรินทร์ เพชรไทย
| |
− | 2.3.5. คำสำคัญ (tag)
| |
− | วัดสิงคาราม , หลวงปู่สิงห์, หลวงปู่เจ้าวัด, ต้นตะเคียน
| |
| | | |
| | | |
1. วัดหงษ์ทอง (หลวงพ่อจุล) > ฐานข้อมูล
2. วัดสิงคาราม > ฐานข้อมูล
3. ศาสนสถาน และสิ่งศักดิ์สิทธิ์
3.1. ข้อมูลทั่วไป
3.1.1. ชื่อเรียก
วัดสลกบาตร
3.1.2. ศาสนา
ศาสนาพุทธ มหานิกาย
3.1.3. ที่ตั้ง
หมู่ 3 ตำบลสลกบาตร อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร 62140
3.1.4. ที่ตั้งพิกัดทางภูมิศาสตร์
ละติจูด (Latitude) : 15.9853992
ลองติจูด (Longitude) : 99.8217401
3.1.5. หน่วยงานที่ดูแลรักษา
สำนักงานพระพุทธศาสนา
3.1.6. สถานะการขึ้นทะเบียน
ประเภท วัดราษฎร์
3.1.7. วัน/เดือน/ปีก่อสร้าง
วันที่ตั้งวัด 30 ธันวาคม 2528
วันรับวิสุงคามสีมา -
3.2. ข้อมูลจำเพาะ
3.2.1. ประวัติความเป็นมา/คำบอกเล่า/ตำนาน
วัดสลกบาตร เป็นวัดป่าที่รักษารูปแบบการถือศิลแบบพระธุดง เดิมใช้ชื่อว่า “สำนักพุทธรักษา” สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2524 นำโดยพระมหาแก้วพุทธรกขิโต ซึ่งชาวบ้านได้นิมนต์ท่านมาพำนักอยู่จำพรรษา เนื่องจากเป็นป่าธรรมชาติเหมาะแก่การเจริญสมณธรรม
ภาพที่ 1 ศาลาปฏิบัติธรรม
ภาพที่ 2 พระพุทธรูปภายในศาลาปฏิบัติธรรม
ต่อมาคุณจอยและคุณจันทร์ เรืองศรีจันทร์และครอบครัว ได้ยกที่ดินจำนวน 6 ไร่ เพื่อใช้สร้างวัดใช้ชื่อว่าสำนักสงฆ์พุทธรักษา และมีการพัฒนาต่อเนื่องมาเป็นลำดับ เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ 2528 ได้ประกาศตั้งวัดใช้ชื่อว่าวัด “สลกบาตร” โดยมีพระครูวชิรประภากร เป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาสในขณะนั้น
ภาพที่ 3 หลวงพ่อทันใจ
วัดสลกบาตร เป็นวัดป่าที่รักษารูปแบบการถือศีลแบบพระธุดงค์ ซึ่งชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า
“วัดป่าสลกบาตร” วัดสลกบาตรได้จัดให้มีการบวชชีพราหมณ์บ่อยครั้งและได้สร้างองค์พระขนาดใหญ่ คือ “หลวงพ่อทันใจ” ซึ่งชาวสลกบาตรร่วมแรงร่วมใจกันสร้างเสร็จภายในวันเดียวเพื่อให้ประชาชนชาวสลกบาตรหรือผู้ที่ผ่านไปมาได้แวะสักการะบูชาขอพร
3.2.2. ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
-
3.2.3. บุคคลที่เกี่ยวข้อง
3.2.4. วิธี/ขั้นตอน/กระบวนการในการสักการะ
ดอกไม้ ธูป เทียน
3.3. ข้อมูลการสำรวจ
3.3.1. แหล่งอ้างอิง
พร้อมเพรียง ภูริญาโณ. (2559). หลวงปู่สิงห์ (หลวงปู่เจ้าวัด) ก่อนเริ่มบูรณะ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.facebook.com/WadSingKhaRamSalokbat/. [2562, มีนาคม 20].
_______ . (2559). วิหารหลวงปู่สิงห์ (หลวงปู่เจ้าวัด) ก่อนเริ่มบูรณะ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.facebook.com/WadSingKhaRamSalokbat/. [2562, มีนาคม 20].
มติชนสุดสัปดาห์. (2561). โฟกัสพระเครื่อง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.matichonweekly.com/column/article_106257. [2562, มีนาคม 10].
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2561). ตำบลสลกบาตร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/ตำบลสลกบาตร. [2562, มีนาคม 10].
Jasminta. (2562). 30 วัด UNSEEN ในเมืองไทย สวยแค่ไหนต้องไปดู. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://travel.mthai.com/blog/142618.html. [2562, มีนาคม 12].
3.3.2. วันเดือนปีที่สำรวจ
วันที่ 9-10 มีนาคม 2562
3.3.3. วันปรับปรุงข้อมูล
-
3.3.4. ผู้สำรวจข้อมูล
นางสาวสุรินทร์ เพชรไทย
3.3.5. คำสำคัญ (tag)
วัดสลกบาตร , หลวงพ่อทันใจ, สำนักพุทธรักษา