ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานข้อมูล เรื่อง ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว ตำบลพานทอง อำเภอไทรงาม"
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 9: | แถว 9: | ||
บ้านบ่อแก้ว ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2506 ประชาชนส่วนใหญ่ย้ายถิ่นฐานมาจากจังหวัดอุดรธานี มาตั้งรกรากที่ลาดยาว แล้วย้ายมาตั้งหมู่บ้านชื่อว่า บ้านหนองตะโกน (บางคนก็ว่าบ้านทุ่งตะโกน) ประมาณในปี พ.ศ.2509 โดย นายสมบิน ธนูทอง เป็นผู้นำย้ายมาตั้งอยู่ชายทุ่ง ซึ่งเป็นบริเวณที่แคบประกอบกับมีบุคคลย้ายถิ่นฐานมาอีกหลายครอบครัวอยู่ได้ประมาณ 6 ปี ที่หนองตะโกนเกิดโรคระบาดจึงพากันย้ายหมู่บ้านใหม่มาอยู่ในบริเวณที่กว้างขวาง ชาวบ้านได้พากันไปขุดบ่อน้ำที่บริเวณหมู่บ้าน (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งอนามัยของหมู่บ้าน) เมื่อขุดลงไปได้พบน้ำสะอาดเหมือนแก้วเลยตั้งชื่อว่า บ่อแก้ว จึงนำชื่อบ่อแก้วนี้ ไปตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านบ่อแก้ว” เดิมบ้านบ่อแก้วขึ้นอยู่กับตำบลหนองคล้า ต่อมาในปี พ.ศ.2517 ขึ้นอยู่กับตำบลหนองทอง และจากนั้นเมื่อแยกเป็นตำบลพานทองบ้านบ่อแก้วจึงขึ้นกับตำบลพานทอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2521 เป็นต้นมา | บ้านบ่อแก้ว ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2506 ประชาชนส่วนใหญ่ย้ายถิ่นฐานมาจากจังหวัดอุดรธานี มาตั้งรกรากที่ลาดยาว แล้วย้ายมาตั้งหมู่บ้านชื่อว่า บ้านหนองตะโกน (บางคนก็ว่าบ้านทุ่งตะโกน) ประมาณในปี พ.ศ.2509 โดย นายสมบิน ธนูทอง เป็นผู้นำย้ายมาตั้งอยู่ชายทุ่ง ซึ่งเป็นบริเวณที่แคบประกอบกับมีบุคคลย้ายถิ่นฐานมาอีกหลายครอบครัวอยู่ได้ประมาณ 6 ปี ที่หนองตะโกนเกิดโรคระบาดจึงพากันย้ายหมู่บ้านใหม่มาอยู่ในบริเวณที่กว้างขวาง ชาวบ้านได้พากันไปขุดบ่อน้ำที่บริเวณหมู่บ้าน (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งอนามัยของหมู่บ้าน) เมื่อขุดลงไปได้พบน้ำสะอาดเหมือนแก้วเลยตั้งชื่อว่า บ่อแก้ว จึงนำชื่อบ่อแก้วนี้ ไปตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านบ่อแก้ว” เดิมบ้านบ่อแก้วขึ้นอยู่กับตำบลหนองคล้า ต่อมาในปี พ.ศ.2517 ขึ้นอยู่กับตำบลหนองทอง และจากนั้นเมื่อแยกเป็นตำบลพานทองบ้านบ่อแก้วจึงขึ้นกับตำบลพานทอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2521 เป็นต้นมา | ||
ในสมัยก่อนพื้นที่เป็นป่า มีสัตว์ป่ามากมาย อาชีพแรกเริ่มของชาวบ้าน คือ การทำนา แต่ในปัจจุบัน นอกจากการทำนาแล้วยังทำสวนปลูกผลไม้ ปลูกส้ม ปลูกกล้วย และชาวบ้านบางรายมีรายได้เสริมอีกอย่างหนึ่งคือ การทำหัตถกรมไม้กวาดทางมะพร้าวบ้านบ่อแก้ว มีผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ดังนี้ | ในสมัยก่อนพื้นที่เป็นป่า มีสัตว์ป่ามากมาย อาชีพแรกเริ่มของชาวบ้าน คือ การทำนา แต่ในปัจจุบัน นอกจากการทำนาแล้วยังทำสวนปลูกผลไม้ ปลูกส้ม ปลูกกล้วย และชาวบ้านบางรายมีรายได้เสริมอีกอย่างหนึ่งคือ การทำหัตถกรมไม้กวาดทางมะพร้าวบ้านบ่อแก้ว มีผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ดังนี้ | ||
− | + | 1. นายสวัสดิ์ สัญญา | |
− | + | 2. นายปัญญา รวมธรรม | |
− | + | 3. นายสุเวชย์ ธนูทอง | |
− | + | 4. นายฉ่ำ บุคควัน | |
− | + | 5. นายทวี เที่ยงบุญ (คนปัจจุบัน) | |
− | บ้านบ่อแก้ว | + | บ้านบ่อแก้ว ตั้งอยู่ในตำบลพานทองห่างออกจากอำเภอไทรงามไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ |
− | + | ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่ 2 บ้านวังโขน ตำบลหนองคล้า | |
− | + | ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ 10 บ้านบ่อแก้วพัฒนา ตำบลพานทอง | |
− | ทิศตะวันออก | + | ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่ 6 บ้านไร่นาขวัญ ตำบลพานทอง |
− | + | ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ 8 บ้านแก้วสระ ตำบลพานทอง | |
− | ลักษณะภูมิอากาศ | + | '''ลักษณะภูมิอากาศ''' |
− | ฤดูร้อน | + | ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย 37.5 องศาเซลเซียส |
− | + | ฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส | |
− | + | ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย 23 องศาเซลเซียส | |
− | ลักษณะภูมิประเทศ | + | '''ลักษณะภูมิประเทศ''' |
− | พื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ 3,226 ไร่ ใช้ทำเกษตร 3,087 ไร่ มีระบบชลประทานที่ใช้ทำการเกษตรทั่วทั้งพื้นที่ | + | พื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ 3,226 ไร่ ใช้ทำเกษตร 3,087 ไร่ มีระบบชลประทานที่ใช้ทำการเกษตรทั่วทั้งพื้นที่ |
− | การคมนาคม | + | '''การคมนาคม''' |
− | การเดินทางติดต่อกับอำเภอถนนลาดยางระยะทาง 11 กิโลเมตร ส่วนถนนภายในหมู่บ้านมีเป็นถนนคอนกรีตเป็นส่วนใหญ่ มีลูกรังตามซอยภายในหมู่บ้าน | + | การเดินทางติดต่อกับอำเภอถนนลาดยางระยะทาง 11 กิโลเมตร ส่วนถนนภายในหมู่บ้านมีเป็นถนนคอนกรีตเป็นส่วนใหญ่ มีลูกรังตามซอยภายในหมู่บ้าน |
− | สภาพทางเศรษฐกิจ | + | '''สภาพทางเศรษฐกิจ''' |
− | อาชีพชุมชน | + | '''อาชีพชุมชน''' |
− | ชาวบ้านส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ทำนา ซึ่งมีเนื้อที่ 2,948 ไร่ จากเนื้อที่ทั้งหมด 3,087 ไร่ คิดเป็นร้อย 98 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกนั้น ทำไร่อ้อย ข้าวโพด | + | ชาวบ้านส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ทำนา ซึ่งมีเนื้อที่ 2,948 ไร่ จากเนื้อที่ทั้งหมด 3,087 ไร่ คิดเป็นร้อย 98 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกนั้น ทำไร่อ้อย ข้าวโพด ถั่วเขียว เลี้ยงสัตว์ และรับจ้าง |
− | รายได้/รายได้เฉลี่ย | + | '''รายได้/รายได้เฉลี่ย''' |
− | รายได้เฉลี่ยตามข้อมูล จปฐ. ปี 2554 ของคนในหมู่บ้าน 103,160.38 บาท/คน/ปี | + | รายได้เฉลี่ยตามข้อมูล จปฐ. ปี 2554 ของคนในหมู่บ้าน 103,160.38 บาท/คน/ปี |
− | กลุ่มอาชีพ | + | '''กลุ่มอาชีพ''' |
− | มีกลุ่มส่งเสริมอาชีพ เป็นรายได้เสริม คือ | + | มีกลุ่มส่งเสริมอาชีพ เป็นรายได้เสริม คือ |
− | + | • ทำไม้กวาดแข็ง | |
− | + | • กลุ่มทอพรมเช็ดเท้า | |
− | + | • กลุ่มทำเปลยวน | |
− | ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ | + | '''ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ''' |
− | - ไม้กวาดทางมะพร้าว | + | - ไม้กวาดทางมะพร้าว |
− | - ทอพรมเช็ดเท้า | + | - ทอพรมเช็ดเท้า |
− | - ไม้กวาดดอกหญ้า | + | - ไม้กวาดดอกหญ้า |
− | - ไม้กวาดหยากไย่ | + | - ไม้กวาดหยากไย่ |
− | - เปลยวน | + | - เปลยวน |
− | - โมบายหลอดสี | + | - โมบายหลอดสี |
− | สภาพทางสังคม | + | '''สภาพทางสังคม''' |
− | สังคมโดยทั่วไปของประชาชนเป็นระบบเครือญาติ | + | สังคมโดยทั่วไปของประชาชนเป็นระบบเครือญาติ ปลูกบ้านเรือนอยู่เป็นกลุ่มและมีการแบ่งเป็นคุ้ม 12 คุ้ม มีการแบ่งการรับผิดชอบเป็นสังคมชนบท แต่ละคุ้มจะมีประมาณ 10 - 15 หลัง มีหัวหน้าคุ้มคอยดูแลรับข่าวสารข้อมูลเป็นผู้ประสานงาน มีคณะกรรมการหมู่บ้าน มีอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน อยู่ประจำคุ้ม มีการประชุมของหมู่บ้านประจำทุกเดือน โดยผู้ใหญ่บ้านไปร่วมประชุมประจำเดือนที่อำเภอ แล้วนำข้อมูลข่าวสารมาแจ้งชาวบ้านทราบ |
− | วัฒนธรรม/ประเพณี | + | '''วัฒนธรรม/ประเพณี''' |
− | ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา | + | ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา มีทำบุญกลางบ้าน บุญสลักภัต สงกรานต์ ตักบาตรเทโว และมีประเพณีที่สำคัญที่สืบทอดมาแต่ดั้งเดิม คือ ประเพณีบุญบั้งไฟ |
− | เทศกาลที่สำคัญ | + | '''เทศกาลที่สำคัญ''' |
− | งานลอยกระทง | + | งานลอยกระทง เทศกาลสงกรานต์ ซึ่งมีการจัดกิจกรรมรดน้ำดำหัวขอพรผู้สูงอายุ สรงน้ำพระ |
− | ศักยภาพชุมชน | + | '''ศักยภาพชุมชน''' |
− | กลุ่มอาชีพ | + | '''กลุ่มอาชีพ''' |
− | 1. กลุ่มทำไม้กวาด | + | 1. กลุ่มทำไม้กวาด |
− | 2. กลุ่มพรมเช็ดเท้า | + | 2. กลุ่มพรมเช็ดเท้า |
− | 3. กลุ่มทำเปลยวน | + | 3. กลุ่มทำเปลยวน |
− | 4. โมบายหลอดสี | + | 4. โมบายหลอดสี |
− | ทักษะฝีมือแรงงานของชุมชน | + | '''ทักษะฝีมือแรงงานของชุมชน''' |
− | - เกษตรกรรม | + | - เกษตรกรรม |
− | - ทำไม้กวาดแข็ง ไม้กวาดหยากไย่ | + | - ทำไม้กวาดแข็ง ไม้กวาดหยากไย่ |
− | - ทอพรมเช็ดเท้า | + | - ทอพรมเช็ดเท้า |
− | - ทำเปลยวน | + | - ทำเปลยวน |
− | - ทอผ้าไหม,ฝ้าย | + | - ทอผ้าไหม,ฝ้าย |
− | ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชุมชน/ผู้นำอาชีพก้าวหน้า | + | '''ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชุมชน/ผู้นำอาชีพก้าวหน้า''' |
− | 1. นายบุญธรรม วงค์จันทร์ มีความรู้เรื่องวัฒนธรรมประเพณี | + | 1. นายบุญธรรม วงค์จันทร์ มีความรู้เรื่องวัฒนธรรมประเพณี |
− | + | 2. นางไหม เทิงด้วง มีความรู้เรื่องการทำบายศรีสู่ขวัญในพิธีต่าง ๆและงานฝีมือ | |
− | + | 3. นางปาน โสดาจันทร์ มีความรู้เรื่องวัฒนธรรมประเพณี และการทำบายศรี | |
− | 4. นายที | + | 4. นายที บัวเผื่อน มีความรู้เรื่องการทำไม้กวาด และการจักสานต่าง ๆ |
− | 5. นายทอง สาขำ มีความรู้เรื่องงานช่างไม้ และการสร้างบ้าน | + | 5. นายทอง สาขำ มีความรู้เรื่องงานช่างไม้ และการสร้างบ้าน |
− | 6. นายสุริยันต์ คิมเข้ม มีความรู้เรื่องการสะเดาะเคราะห์ต่อชะตาและหมอน้ำมัน | + | 6. นายสุริยันต์ คิมเข้ม มีความรู้เรื่องการสะเดาะเคราะห์ต่อชะตาและหมอน้ำมัน |
− | 7. นางทองไสย์ | + | 7. นางทองไสย์ มาป้อง มีความรู้เรื่องการทำผ้าไหม และการเลี้ยงหม่อน |
− | + | 8. นายแปลง สีเชียงสา มีความรู้เรื่องการสานกระติบข้าว | |
− | + | 9. นางสมร จำปามั่น มีความรู้เรื่องการทอเสื่อ, การทอผ้า | |
− | + | 10. นางหนูพิน นาคไธสง มีความรู้เรื่องทำไม้กวาดแข็ง, ไม้กวาดดอกหญ้า | |
− | โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เชื่อมโยงภูมิปัญญา วิถีชุมชน | + | '''โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เชื่อมโยงภูมิปัญญา วิถีชุมชน''' |
− | + | '''ความเป็นมาและเป้าหมายเกี่ยวกับโครงการ''' | |
− | สำหรับโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ถูกขับเคลื่อนพัฒนาประเทศตามโครงการ “ไทยนิยม ยั่งยืน” จากการที่รัฐบาลปัจจุบัน | + | สำหรับโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ถูกขับเคลื่อนพัฒนาประเทศตามโครงการ “ไทยนิยม ยั่งยืน” จากการที่รัฐบาลปัจจุบัน มีนโยบายลดความเหลื่อมล้ำของสังคมที่มุ่งสร้างรายได้และความเจริญ ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ โดยให้ภาคเอกชนและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการร่วมกันภาครัฐ เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ที่เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 ในแต่ละภูมิภาค ทั่วประเทศ และมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชนเป็นผู้รับผิดชอบหลักส่งเสริมดำเนินงาน OTOP โดยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ยกระดับผลิตภัณฑ์ และพัฒนาช่องทางการตลาดที่หลากหลายเพื่อให้ขายสินค้าได้ อีกทั้งยังมุ่งปรับตัวสู่การค้าแบบสากล โดยต้องมีการเปลี่ยนผ่านยุคการผลักดันขายสินค้า OTOP ออกจากชุมชนสู่รายได้ตามความต้องการ (Demand Driven Local Economy) โดยการจำหน่ายสินค้าที่อยู่ในชุมชนจากการท่องเที่ยว มีการใช้เสน่ห์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์ แปลงเป็นรายได้ รวมทั้งทำให้มีคุณค่าเพียงพอ เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมเยือน และใช้จ่ายเงินในทุกกิจกรรมของชุมชน ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้อยู่กับคนในชุมชนโดยรอบ เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างแท้จริง |
− | นโยบายของกรมการพัฒนาชุมชนซึ่งเป็นหน่วยงานหลัก จะมีการรองรับการปฏิบัติตามแนวนโยบายของรัฐบาลใน “โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP | + | นโยบายของกรมการพัฒนาชุมชนซึ่งเป็นหน่วยงานหลัก จะมีการรองรับการปฏิบัติตามแนวนโยบายของรัฐบาลใน “โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี” จึงต้องเร่งทาการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานโครงการฯ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตลอดจนสร้างการรับรู้สู่สาธารณชนในวงกว้าง กรมการพัฒนาชุมชนจึงจัดทำแผนการประชาสัมพันธ์และการตลาดออนไลน์ขึ้น |
− | โดยเป้าหมาย คือ ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง โดยเชื่อมโยงชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีจำนวน 3,273 หมู่บ้าน กับเส้นทางการท่องเที่ยวกระแสหลัก เมืองรอง และแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดรายได้ที่กระจายไปสู่ผู้ประกอบการกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และประชาชนเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่ม Quadrant D เพิ่มขึ้น จำนวน 64,570ผลิตภัณฑ์ ให้เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (Strength with in) และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง อย่างแท้จริง | + | โดยเป้าหมาย คือ ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง โดยเชื่อมโยงชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีจำนวน 3,273 หมู่บ้าน กับเส้นทางการท่องเที่ยวกระแสหลัก เมืองรอง และแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดรายได้ที่กระจายไปสู่ผู้ประกอบการกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และประชาชนเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่ม Quadrant D เพิ่มขึ้น จำนวน 64,570ผลิตภัณฑ์ ให้เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (Strength with in) และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง อย่างแท้จริง เพื่อสร้างรอยยิ้ม คืนความสุข เพื่อคนไทยทุกคน |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 1 โลโก้ผู้จัดทำโครงการ.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | ภาพที่ 1 โลโก้ผู้จัดทำโครงการ | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 1 โลโก้ผู้จัดทำโครงการ''' </p> |
− | หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านบ่อแก้ว | + | '''หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านบ่อแก้ว''' |
− | วันที่ 31 ตุลาคม 2561 เวลา 15.30 น. บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ได้เข้าร่วมเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP | + | วันที่ 31 ตุลาคม 2561 เวลา 15.30 น. บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ได้เข้าร่วมเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ซึ่งมีนายทวีพงศ์ แสงสุวรรณ นายอำเภอไทรงาม พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านเข้าร่วมงาน โดยมีนายอำเภอไทรงามให้เกียรติร่วมเป็นประธานในการเปิดงานโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ภายใต้โครงการไทยนิยมยั่งยืน อำเภอไทรงาม ณ บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง ตามสโลแกน "ท่องเที่ยวเก๋ไก๋ กินข้าวกระติ๊บใหญ่ ชมไม้กวาดยักษ์" |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 1 ออกร้านจำหน่ายในพิธีเปิดงาน.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 2 บรรยากาศพิธีเปิดงานโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี''' </p> | |
− | ภาพที่ 2 บรรยากาศพิธีเปิดงานโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี | + | '''ประวัติของไม้กวาด''' |
− | ประวัติของไม้กวาด | + | '''ไม้กวาดดอกหญ้า''' คือ จากการสืบค้นเอกสารที่ได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของการทำไม้กวาดดอกหญ้า พบว่า มีการริเริ่มทำครั้งแรกที่เมืองลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีพระศรี พนมมาศเป็นผู้ริเริ่ม และส่งเสริมให้ราษฎรทำเป็นอาชีพ ซึ่งคาดว่าน่าจะอยู่ในช่วงการ รับราชการของพระศรีพนมมาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2444-2451 หรือหลังจากนั้น |
− | ไม้กวาดดอกหญ้า คือ จากการสืบค้นเอกสารที่ได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของการทำไม้กวาดดอกหญ้า พบว่า มีการริเริ่มทำครั้งแรกที่เมืองลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ | + | พระศรีพนมมาศ คนไทยเชื้อสายจีน เกิดในปี พ.ศ. 2404 ซึ่งมีชื่อเดิม คือ นายทองอิน ทำอาชีพพ่อค้าหาบเร่ และต่อมาค่อยผันอาชีพเข้ามารับราชการในตำแหน่งนายอาการสุราโดยในปี พ.ศ.2444 ได้ชักชวนราษฎรในพื้นที่ร่วมกันสร้างถนนจากเมืองลับแลไปถึงบางโพ (ท่าอิฐ) รวมระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ซึ่งการก่อสร้างนั้นไม่ได้ใช้งบประมาณแผ่นดินเลย |
− | พระศรีพนมมาศ คนไทยเชื้อสายจีน เกิดในปี พ.ศ. 2404 ซึ่งมีชื่อเดิม คือ นายทองอิน | + | ภายหลังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงทราบถึงความดี จึงได้พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็น “ขุนพิศาลจีนะกิจ” และในปี พ.ศ.2447 ได้รับเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงศรีพนมมาศ” และหลังจากนั้น ได้พัฒนาบ้านเมืองให้รุ่งเรือง จนในปี พ.ศ.2451 จึงได้รับเลื่อนบรรดาศักดิ์อีกครั้งเป็น “พระศรีพนมมาศ” ซึ่งพระศรีพนมมาศ ถือเป็นนายอำเภอคนแรกของเมืองลับแล หรือ อำเภอลับแลในปัจจุบัน และท่านได้ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2464 สิริอายุได้ 60 ปี และชาวเมืองได้จัดสร้างอนุสาวรีย์ไว้บริเวณทางแยกตลาดลับแลเพื่อให้ผู้คนได้สักการะและระลึกถึงคุณงามความดีที่ท่านได้สร้างไว้ |
− | ภายหลังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงทราบถึงความดี จึงได้พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็น “ขุนพิศาลจีนะกิจ” และในปี พ.ศ. 2447 ได้รับเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงศรีพนมมาศ” และหลังจากนั้น ได้พัฒนาบ้านเมืองให้รุ่งเรือง | + | สำหรับไม้กวาดดอกหญ้าเมืองลับแล ถือเป็นไม้กวาดดอกหญ้าดั้งเดิมที่ผลิตกันมาช้านาน โดยมีเอกลักษณ์ประจำ คือ จะมีผ้าแดงผูกติดกับปลายด้ามไม้กวาด เพราะในช่วงแรกนั้นชาวบ้านมีความเชื่อว่า ไม้กวาดถือเป็นของต่ำ ไม่เป็นสิริมงคลที่จะเก็บไว้ในบ้าน ดังนั้น ชาวบ้านจึงแก้เคล็ดด้วยการนำผ้าแดงมาผูกติดที่ปลายด้าม ซึ่งเปลี่ยนความเชื่อเป็นว่า ผู้ใดที่ได้ไม้กวาดดอกหญ้าจากเมืองลับแลที่มีผ้าแดงผูกติดนี้ ถือว่าผู้นั้นจะมีโชคลาภ และเรื่องสิริมงคลตามมา |
− | สำหรับไม้กวาดดอกหญ้าเมืองลับแล ถือเป็นไม้กวาดดอกหญ้าดั้งเดิมที่ผลิตกันมาช้านาน | + | '''ไม้กวาดทางมะพร้าว''' คือ หรือบางท้องถิ่นว่า ตาด เป็นไม้กวาดชนิดหนึ่ง ทำจากทางมะพร้าว (บางแห่งใช้ทางตาล) มามัดรวมกันบนปลายด้ามไม้ไผ่ซึ่งมีลักษณะคล้ายลำทวนและโดยทั่วไป มีเส้นผ่า ศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว แล้วถักและร้อยรัดประกอบกันให้แน่นหนา ผลิตขึ้นเนื่องจากไม้กวาดดอกหญ้าหรือหญ้าขัดมอญแบบทั่วไปอาจใช้ไม่สะดวกนัก และอาจใช้เวลานานในการใช้ทำความสะอาด |
− | ไม้กวาดทางมะพร้าว คือ หรือบางท้องถิ่นว่า ตาด เป็นไม้กวาดชนิดหนึ่ง ทำจากทางมะพร้าว (บางแห่งใช้ทางตาล) มามัดรวมกันบนปลายด้ามไม้ไผ่ซึ่งมีลักษณะคล้ายลำทวนและโดยทั่วไป มีเส้นผ่า ศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว แล้วถักและร้อยรัดประกอบกันให้แน่นหนา ผลิตขึ้นเนื่องจากไม้กวาดดอกหญ้าหรือหญ้าขัดมอญแบบทั่วไปอาจใช้ไม่สะดวกนัก และอาจใช้เวลานานในการใช้ทำความสะอาด | ||
การใช้ไม้กวาดทางมะพร้าว พบมากในกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นพระธุดงค์ เพราะต้องอาศัยอยู่ในป่าและแมกไม้ จึงต้องปัดกวาดมูลฝอยที่เกิดจากขยะใบไม้ด้วยไม้กวาดประเภทนี้ | การใช้ไม้กวาดทางมะพร้าว พบมากในกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นพระธุดงค์ เพราะต้องอาศัยอยู่ในป่าและแมกไม้ จึงต้องปัดกวาดมูลฝอยที่เกิดจากขยะใบไม้ด้วยไม้กวาดประเภทนี้ | ||
− | + | ==='''สถานที่'''=== | |
− | ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว ตั้งอยู่ บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร | + | ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว ตั้งอยู่ บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร |
− | + | '''ประวัติไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว''' | |
− | เริ่มแรกเป็นลูกจ้างเขาอยู่ที่กรุงเทพมหานคร แล้วขายได้กำไรดี เลยคิดลงทุนทำกันเอง | + | เริ่มแรกเป็นลูกจ้างเขาอยู่ที่กรุงเทพมหานคร แล้วขายได้กำไรดี เลยคิดลงทุนทำกันเอง จึงรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มไม้กวาดบ้านบ่อแก้วขึ้นมา โดยลงทุนซื้ออุปกรณ์ทั้งหมดมาทำไม้กวาดกันเอง ส่งสินค้าเอง ซึ่งมีสมาชิกในกลุ่มทั้งหมด 8 คน |
− | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 3 ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว.jpg|500px|thumb|center]] | |
− | ภาพที่ 3 ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว | + | <p align = "center"> '''ภาพที่ 3 ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว''' </p> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:17, 23 เมษายน 2564
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อเรียก
ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว
ชื่อเรียกอื่น ๆ
ไม้กวาด
คำอธิบาย
ประวัติบ้านบ่อแก้ว บ้านบ่อแก้ว ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2506 ประชาชนส่วนใหญ่ย้ายถิ่นฐานมาจากจังหวัดอุดรธานี มาตั้งรกรากที่ลาดยาว แล้วย้ายมาตั้งหมู่บ้านชื่อว่า บ้านหนองตะโกน (บางคนก็ว่าบ้านทุ่งตะโกน) ประมาณในปี พ.ศ.2509 โดย นายสมบิน ธนูทอง เป็นผู้นำย้ายมาตั้งอยู่ชายทุ่ง ซึ่งเป็นบริเวณที่แคบประกอบกับมีบุคคลย้ายถิ่นฐานมาอีกหลายครอบครัวอยู่ได้ประมาณ 6 ปี ที่หนองตะโกนเกิดโรคระบาดจึงพากันย้ายหมู่บ้านใหม่มาอยู่ในบริเวณที่กว้างขวาง ชาวบ้านได้พากันไปขุดบ่อน้ำที่บริเวณหมู่บ้าน (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งอนามัยของหมู่บ้าน) เมื่อขุดลงไปได้พบน้ำสะอาดเหมือนแก้วเลยตั้งชื่อว่า บ่อแก้ว จึงนำชื่อบ่อแก้วนี้ ไปตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านบ่อแก้ว” เดิมบ้านบ่อแก้วขึ้นอยู่กับตำบลหนองคล้า ต่อมาในปี พ.ศ.2517 ขึ้นอยู่กับตำบลหนองทอง และจากนั้นเมื่อแยกเป็นตำบลพานทองบ้านบ่อแก้วจึงขึ้นกับตำบลพานทอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2521 เป็นต้นมา ในสมัยก่อนพื้นที่เป็นป่า มีสัตว์ป่ามากมาย อาชีพแรกเริ่มของชาวบ้าน คือ การทำนา แต่ในปัจจุบัน นอกจากการทำนาแล้วยังทำสวนปลูกผลไม้ ปลูกส้ม ปลูกกล้วย และชาวบ้านบางรายมีรายได้เสริมอีกอย่างหนึ่งคือ การทำหัตถกรมไม้กวาดทางมะพร้าวบ้านบ่อแก้ว มีผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ดังนี้ 1. นายสวัสดิ์ สัญญา 2. นายปัญญา รวมธรรม 3. นายสุเวชย์ ธนูทอง 4. นายฉ่ำ บุคควัน 5. นายทวี เที่ยงบุญ (คนปัจจุบัน) บ้านบ่อแก้ว ตั้งอยู่ในตำบลพานทองห่างออกจากอำเภอไทรงามไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่ 2 บ้านวังโขน ตำบลหนองคล้า ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ 10 บ้านบ่อแก้วพัฒนา ตำบลพานทอง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่ 6 บ้านไร่นาขวัญ ตำบลพานทอง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ 8 บ้านแก้วสระ ตำบลพานทอง ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย 37.5 องศาเซลเซียส ฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย 23 องศาเซลเซียส ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ 3,226 ไร่ ใช้ทำเกษตร 3,087 ไร่ มีระบบชลประทานที่ใช้ทำการเกษตรทั่วทั้งพื้นที่ การคมนาคม การเดินทางติดต่อกับอำเภอถนนลาดยางระยะทาง 11 กิโลเมตร ส่วนถนนภายในหมู่บ้านมีเป็นถนนคอนกรีตเป็นส่วนใหญ่ มีลูกรังตามซอยภายในหมู่บ้าน สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพชุมชน ชาวบ้านส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ทำนา ซึ่งมีเนื้อที่ 2,948 ไร่ จากเนื้อที่ทั้งหมด 3,087 ไร่ คิดเป็นร้อย 98 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกนั้น ทำไร่อ้อย ข้าวโพด ถั่วเขียว เลี้ยงสัตว์ และรับจ้าง รายได้/รายได้เฉลี่ย รายได้เฉลี่ยตามข้อมูล จปฐ. ปี 2554 ของคนในหมู่บ้าน 103,160.38 บาท/คน/ปี กลุ่มอาชีพ มีกลุ่มส่งเสริมอาชีพ เป็นรายได้เสริม คือ • ทำไม้กวาดแข็ง • กลุ่มทอพรมเช็ดเท้า • กลุ่มทำเปลยวน ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ - ไม้กวาดทางมะพร้าว - ทอพรมเช็ดเท้า - ไม้กวาดดอกหญ้า - ไม้กวาดหยากไย่ - เปลยวน - โมบายหลอดสี สภาพทางสังคม สังคมโดยทั่วไปของประชาชนเป็นระบบเครือญาติ ปลูกบ้านเรือนอยู่เป็นกลุ่มและมีการแบ่งเป็นคุ้ม 12 คุ้ม มีการแบ่งการรับผิดชอบเป็นสังคมชนบท แต่ละคุ้มจะมีประมาณ 10 - 15 หลัง มีหัวหน้าคุ้มคอยดูแลรับข่าวสารข้อมูลเป็นผู้ประสานงาน มีคณะกรรมการหมู่บ้าน มีอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน อยู่ประจำคุ้ม มีการประชุมของหมู่บ้านประจำทุกเดือน โดยผู้ใหญ่บ้านไปร่วมประชุมประจำเดือนที่อำเภอ แล้วนำข้อมูลข่าวสารมาแจ้งชาวบ้านทราบ วัฒนธรรม/ประเพณี ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา มีทำบุญกลางบ้าน บุญสลักภัต สงกรานต์ ตักบาตรเทโว และมีประเพณีที่สำคัญที่สืบทอดมาแต่ดั้งเดิม คือ ประเพณีบุญบั้งไฟ เทศกาลที่สำคัญ งานลอยกระทง เทศกาลสงกรานต์ ซึ่งมีการจัดกิจกรรมรดน้ำดำหัวขอพรผู้สูงอายุ สรงน้ำพระ ศักยภาพชุมชน กลุ่มอาชีพ 1. กลุ่มทำไม้กวาด 2. กลุ่มพรมเช็ดเท้า 3. กลุ่มทำเปลยวน 4. โมบายหลอดสี ทักษะฝีมือแรงงานของชุมชน - เกษตรกรรม - ทำไม้กวาดแข็ง ไม้กวาดหยากไย่ - ทอพรมเช็ดเท้า - ทำเปลยวน - ทอผ้าไหม,ฝ้าย ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชุมชน/ผู้นำอาชีพก้าวหน้า 1. นายบุญธรรม วงค์จันทร์ มีความรู้เรื่องวัฒนธรรมประเพณี 2. นางไหม เทิงด้วง มีความรู้เรื่องการทำบายศรีสู่ขวัญในพิธีต่าง ๆและงานฝีมือ 3. นางปาน โสดาจันทร์ มีความรู้เรื่องวัฒนธรรมประเพณี และการทำบายศรี 4. นายที บัวเผื่อน มีความรู้เรื่องการทำไม้กวาด และการจักสานต่าง ๆ 5. นายทอง สาขำ มีความรู้เรื่องงานช่างไม้ และการสร้างบ้าน 6. นายสุริยันต์ คิมเข้ม มีความรู้เรื่องการสะเดาะเคราะห์ต่อชะตาและหมอน้ำมัน 7. นางทองไสย์ มาป้อง มีความรู้เรื่องการทำผ้าไหม และการเลี้ยงหม่อน 8. นายแปลง สีเชียงสา มีความรู้เรื่องการสานกระติบข้าว 9. นางสมร จำปามั่น มีความรู้เรื่องการทอเสื่อ, การทอผ้า 10. นางหนูพิน นาคไธสง มีความรู้เรื่องทำไม้กวาดแข็ง, ไม้กวาดดอกหญ้า โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เชื่อมโยงภูมิปัญญา วิถีชุมชน ความเป็นมาและเป้าหมายเกี่ยวกับโครงการ สำหรับโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ถูกขับเคลื่อนพัฒนาประเทศตามโครงการ “ไทยนิยม ยั่งยืน” จากการที่รัฐบาลปัจจุบัน มีนโยบายลดความเหลื่อมล้ำของสังคมที่มุ่งสร้างรายได้และความเจริญ ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ โดยให้ภาคเอกชนและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการร่วมกันภาครัฐ เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ที่เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 ในแต่ละภูมิภาค ทั่วประเทศ และมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชนเป็นผู้รับผิดชอบหลักส่งเสริมดำเนินงาน OTOP โดยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ยกระดับผลิตภัณฑ์ และพัฒนาช่องทางการตลาดที่หลากหลายเพื่อให้ขายสินค้าได้ อีกทั้งยังมุ่งปรับตัวสู่การค้าแบบสากล โดยต้องมีการเปลี่ยนผ่านยุคการผลักดันขายสินค้า OTOP ออกจากชุมชนสู่รายได้ตามความต้องการ (Demand Driven Local Economy) โดยการจำหน่ายสินค้าที่อยู่ในชุมชนจากการท่องเที่ยว มีการใช้เสน่ห์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์ แปลงเป็นรายได้ รวมทั้งทำให้มีคุณค่าเพียงพอ เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมเยือน และใช้จ่ายเงินในทุกกิจกรรมของชุมชน ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้อยู่กับคนในชุมชนโดยรอบ เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างแท้จริง นโยบายของกรมการพัฒนาชุมชนซึ่งเป็นหน่วยงานหลัก จะมีการรองรับการปฏิบัติตามแนวนโยบายของรัฐบาลใน “โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี” จึงต้องเร่งทาการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานโครงการฯ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตลอดจนสร้างการรับรู้สู่สาธารณชนในวงกว้าง กรมการพัฒนาชุมชนจึงจัดทำแผนการประชาสัมพันธ์และการตลาดออนไลน์ขึ้น โดยเป้าหมาย คือ ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง โดยเชื่อมโยงชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีจำนวน 3,273 หมู่บ้าน กับเส้นทางการท่องเที่ยวกระแสหลัก เมืองรอง และแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดรายได้ที่กระจายไปสู่ผู้ประกอบการกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และประชาชนเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่ม Quadrant D เพิ่มขึ้น จำนวน 64,570ผลิตภัณฑ์ ให้เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (Strength with in) และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง อย่างแท้จริง เพื่อสร้างรอยยิ้ม คืนความสุข เพื่อคนไทยทุกคน
ภาพที่ 1 โลโก้ผู้จัดทำโครงการ
หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านบ่อแก้ว วันที่ 31 ตุลาคม 2561 เวลา 15.30 น. บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ได้เข้าร่วมเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ซึ่งมีนายทวีพงศ์ แสงสุวรรณ นายอำเภอไทรงาม พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านเข้าร่วมงาน โดยมีนายอำเภอไทรงามให้เกียรติร่วมเป็นประธานในการเปิดงานโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ภายใต้โครงการไทยนิยมยั่งยืน อำเภอไทรงาม ณ บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง ตามสโลแกน "ท่องเที่ยวเก๋ไก๋ กินข้าวกระติ๊บใหญ่ ชมไม้กวาดยักษ์"
ภาพที่ 2 บรรยากาศพิธีเปิดงานโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
ประวัติของไม้กวาด ไม้กวาดดอกหญ้า คือ จากการสืบค้นเอกสารที่ได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของการทำไม้กวาดดอกหญ้า พบว่า มีการริเริ่มทำครั้งแรกที่เมืองลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีพระศรี พนมมาศเป็นผู้ริเริ่ม และส่งเสริมให้ราษฎรทำเป็นอาชีพ ซึ่งคาดว่าน่าจะอยู่ในช่วงการ รับราชการของพระศรีพนมมาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2444-2451 หรือหลังจากนั้น พระศรีพนมมาศ คนไทยเชื้อสายจีน เกิดในปี พ.ศ. 2404 ซึ่งมีชื่อเดิม คือ นายทองอิน ทำอาชีพพ่อค้าหาบเร่ และต่อมาค่อยผันอาชีพเข้ามารับราชการในตำแหน่งนายอาการสุราโดยในปี พ.ศ.2444 ได้ชักชวนราษฎรในพื้นที่ร่วมกันสร้างถนนจากเมืองลับแลไปถึงบางโพ (ท่าอิฐ) รวมระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ซึ่งการก่อสร้างนั้นไม่ได้ใช้งบประมาณแผ่นดินเลย ภายหลังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงทราบถึงความดี จึงได้พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็น “ขุนพิศาลจีนะกิจ” และในปี พ.ศ.2447 ได้รับเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงศรีพนมมาศ” และหลังจากนั้น ได้พัฒนาบ้านเมืองให้รุ่งเรือง จนในปี พ.ศ.2451 จึงได้รับเลื่อนบรรดาศักดิ์อีกครั้งเป็น “พระศรีพนมมาศ” ซึ่งพระศรีพนมมาศ ถือเป็นนายอำเภอคนแรกของเมืองลับแล หรือ อำเภอลับแลในปัจจุบัน และท่านได้ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2464 สิริอายุได้ 60 ปี และชาวเมืองได้จัดสร้างอนุสาวรีย์ไว้บริเวณทางแยกตลาดลับแลเพื่อให้ผู้คนได้สักการะและระลึกถึงคุณงามความดีที่ท่านได้สร้างไว้ สำหรับไม้กวาดดอกหญ้าเมืองลับแล ถือเป็นไม้กวาดดอกหญ้าดั้งเดิมที่ผลิตกันมาช้านาน โดยมีเอกลักษณ์ประจำ คือ จะมีผ้าแดงผูกติดกับปลายด้ามไม้กวาด เพราะในช่วงแรกนั้นชาวบ้านมีความเชื่อว่า ไม้กวาดถือเป็นของต่ำ ไม่เป็นสิริมงคลที่จะเก็บไว้ในบ้าน ดังนั้น ชาวบ้านจึงแก้เคล็ดด้วยการนำผ้าแดงมาผูกติดที่ปลายด้าม ซึ่งเปลี่ยนความเชื่อเป็นว่า ผู้ใดที่ได้ไม้กวาดดอกหญ้าจากเมืองลับแลที่มีผ้าแดงผูกติดนี้ ถือว่าผู้นั้นจะมีโชคลาภ และเรื่องสิริมงคลตามมา ไม้กวาดทางมะพร้าว คือ หรือบางท้องถิ่นว่า ตาด เป็นไม้กวาดชนิดหนึ่ง ทำจากทางมะพร้าว (บางแห่งใช้ทางตาล) มามัดรวมกันบนปลายด้ามไม้ไผ่ซึ่งมีลักษณะคล้ายลำทวนและโดยทั่วไป มีเส้นผ่า ศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว แล้วถักและร้อยรัดประกอบกันให้แน่นหนา ผลิตขึ้นเนื่องจากไม้กวาดดอกหญ้าหรือหญ้าขัดมอญแบบทั่วไปอาจใช้ไม่สะดวกนัก และอาจใช้เวลานานในการใช้ทำความสะอาด
การใช้ไม้กวาดทางมะพร้าว พบมากในกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นพระธุดงค์ เพราะต้องอาศัยอยู่ในป่าและแมกไม้ จึงต้องปัดกวาดมูลฝอยที่เกิดจากขยะใบไม้ด้วยไม้กวาดประเภทนี้
สถานที่
ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว ตั้งอยู่ บ้านบ่อแก้ว หมู่ที่ 5 ตำบลพานทอง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร ประวัติไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว เริ่มแรกเป็นลูกจ้างเขาอยู่ที่กรุงเทพมหานคร แล้วขายได้กำไรดี เลยคิดลงทุนทำกันเอง จึงรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มไม้กวาดบ้านบ่อแก้วขึ้นมา โดยลงทุนซื้ออุปกรณ์ทั้งหมดมาทำไม้กวาดกันเอง ส่งสินค้าเอง ซึ่งมีสมาชิกในกลุ่มทั้งหมด 8 คน
ภาพที่ 3 ไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว
1. ไม้กวาดอ่อน
วัสดุผลิตภัณฑ์
1. ดอกหญ้า
2. เข็มเย็บกระสอบ
3. เชือกไนล่อน
4. ตะปู
5. ค้อน
6. ไม้ไผ่ลวกเขา
7. น้ำมันยาง
8. ชันบด
ภาพที่ 4 วัสดุและอุปกรณ์ในการทำไม้กวาดอ่อน ประเภทการใช้งาน สำหรับทำความสะอาด กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน 1. นำเชือกไนล่อนมามัดกับไม้ไผ่ โดยไม้ไผ่มีขนาด 75 เซนติเมตร 2. นำดอกหญ้าที่ทำความสะดาดและตากแดดแห้งแล้วมาคัดเป็น 2 แบบ คือ ดอกหญ้าขนาดสั้น และดอกหญ้าขนาดยาว แล้วชั่งดอกหญ้าให้ได้ 2 ขีด 2 มิลลิเมตร 3. นำดอกหญ้าขนาดยาวหุ้มดอกหญ้าขนาดเล็กให้ได้ 12 ช่อ โดยจำนวนดอกหญ้าทั้งสองแบบเมื่อมารวมกันแล้ว ต้องไม่น้อยหรือมากเกินไป 4. เมื่อเสร็จแล้วนำดอกหญ้ามัดกับไม้ไผ่ที่ทำไว้ในข้อ 2 โดยทำทีละช่อทีละข้าง แล้วใช้เข็มเย็บกระสอบร้อยเชือกไนล่อนรัดและถักไปเรื่อย ๆ จนหุ้มปลายดอกหญ้าหมด 5. นำตะปูมาตอกให้ติดกับด้ามไม้ไผ่ทั้ง 2 ด้าน 6. นำน้ำมันยางผสมกับชันบด แล้วนำมาทาบริเวณที่เต้าไม้กวาดทั้งสองด้าน (ตรงเชือกที่ถัก) แล้วตากแดดให้แห้ง ซึ่งกระบวนการทำไม้กวาดดอกหญ้าสามารถอธิบายเป็นรูปภาพตั้งแต่กระบวนการ ที่ 1 – กระบวนการที่ 6 ได้ดังนี้
ภาพที่ 5 กระบวนการที่ 1 นำเชือกไนล่อนมามัดกับไม้ไผ่
ภาพที่ 6 กระบวนการที่ 2 นำดอกหญ้าที่ทำความสะดาดและตากแดดแห้งแล้วมาคัดเป็น 2 แบบ คือ ดอกหญ้าขนาดสั้น และดอกหญ้าขนาดยาว
ภาพที่ 7 กระบวนการที่ 3 นำดอกหญ้าขนาดยาวหุ้มดอกหญ้าขนาดเล็กให้ได้ 12 ช่อ
ภาพที่ 8 กระบวนการที่ 4 นำดอกหญ้ามัดกับไม้ไผ่ที่ทำไว้ในข้อ 2 โดยทำทีละช่อทีละข้าง แล้วใช้เข็มเย็บกระสอบร้อยเชือกไนล่อนรัดและถักไปเรื่อย ๆ จนเสร็จ
ภาพที่ 9 กระบวนการที่ 5 นำตะปูมาตอกให้ติดกับด้ามไม้ไผ่ทั้ง 2 ด้าน
ภาพที่ 10 กระบวนการที่ 6 นำน้ำมันยางผสมกับชันบด แล้วนำมาทาบริเวณที่เต้าไม้กวาด ทั้งสองด้าน (ตรงเชือกที่ถัก) แล้วตากแดดให้แห้ง จากกระบวนการทำตั้งแต่กระบวนการที่ 1 – กระบวนการที่ 6 ทำให้ได้ไม้กวาดดอกหญ้า ที่เป็นผลิตภัณฑ์ของบ้านบ่อแก้ว ได้ดังภาพที่ 11
ภาพที่ 11 ได้ไม้กวาดดอกหญ้าพร้อมจำหน่าย และใช้งาน ราคาของไม้กวาดดอกหญ้า ราคาส่งมี 2 ราคา คือ 1. ด้ามละ 30 บาท ขนาด 1 ขีดครึ่ง มัดละ 10 ด้าม 2. ด้ามละ 35 บาท ขนาด 2 ขีด 2 มิลลิเมตร มัดละ 10 ด้าม 2. ไม้กวาดแข็ง วัสดุผลิตภัณฑ์ 1. แส้มะพร้าว 2. ลวด 3. ครีมตัดลวด 4. ตะปู 5. ค้อน 6. เลื่อย 7. เชือกพลาสติก 8. ไม้ไผ่ลวกเขา 9. น้ำมันเบนซิน 10. น้ำมันยางมะตอย
ภาพที่ 12 วัสดุและอุปกรณ์ในการทำไม้กวาดแข็ง
ประเภทการใช้งาน
สำหรับทำความสะอาด
กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการใช้งาน
1. นำไม้ไผ่ขนาด 1 เมตร 15 เซนติเมตร ที่เหลาและทำความสะอาดเรียบร้อยแล้ว มาเลื่อยตรงหัวไม้ไผ่ โดยห่างจากหัวไม้ไผ่ประมาณข้อนิ้วมือ เลื่อยทั้งสองด้านให้กว้างพอดีกับไม้ไผ่เล็กที่จะแทงเข้าไปในไม่ไผ่ใหญ่ เพื่อดามตัวแส้มะพร้าว
2. นำไม้มาตอกไม้ไผ่เล็กที่ตัดไว้แล้วเข้าไปในไม้ไผ่ที่เลื่อยไว้ โดยตอกให้ทะลุถึงอีกด้านหนึ่ง แล้วใช้ลวดมัดยึดไว้ให้แน่น
3. นำแส้มะพร้าวที่ใช้ลวดมัดทำสำเร็จไว้แล้วที่และใช้ค้อนทุบให้แบน มามัดติดกับ ไม้ไผ่เล็กที่ใช้ดาม โดยมัดไว้ทั้งสองข้าง โดยใช้เชือกพลาสติกมัด
4. นำแส้มะพร้าวที่ใช้ลวดมัดทำสำเร็จไว้และทุบแล้ว มาวางบนไม้ไผ่เล็กที่ใช้ดามแล้ว โดยแต่ละด้านใช้แส้มะพร้าวข้างละ 3 กำ และใช้เชือกพลาสติกมัดและถักจนเสร็จ
5. ตอกตะปูไปตรงกลางไม้ไผ่ แต่ให้หัวตะปูโผล่มาหน่อยเพื่อที่จะได้นำลวดมาพันได้ โดยพันทั้งหมด 3 รอบ ดึงให้ตึงและลวดต้องพันให้อยู่เหนือตะปู เมื่อเสร็จแล้วก็ตอกตะปูเข้าไป
6. พลิกกลับอีกด้านทำเหมือนกับข้อที่ 5 แต่ทำตรงปลายแส้มะพร้าวแต่ไม่ต้องล่างมากให้เผื่อไว้ตัด เมื่อเสร็จแล้วใช้เลื่อยตัดส่วนปลายออกซึ่งห่างจากลวดประมาณ 2 เซนติเมตร
7. นำน้ำมันยางมะตอยที่ต้มผสมกับน้ำมันเบนซิน มาทาลงบนแส้มะพร้าวและลวด แล้วตากให้แห้ง
ซึ่งกระบวนการทำไม้กวาดแข็งสามารถอธิบายเป็นรูปภาพตั้งแต่กระบวนการ ที่ 1 – กระบวนการที่ 7 ได้ดังนี้
ภาพที่ 13 กระบวนการที่ 1 นำไม้ไผ่ขนาด 1 เมตร 15 เซนติเมตร ที่เหลาและทำความสะอาดเรียบร้อยแล้ว มาเลื่อยตรงหัวไม้ไผ่ โดยห่างจากหัวไม้ไผ่ประมาณข้อนิ้วมือ เลื่อยทั้งสองด้านให้กว้างพอดีกับไม้ไผ่เล็กที่จะแทงเข้าไปในไม่ไผ่ใหญ่ เพื่อดามตัวแส้มะพร้าว
ภาพที่ 14 กระบวนการที่ 2 นำไม้มาตอกไม้ไผ่เล็กที่ตัดไว้แล้วเข้าไปในไม้ไผ่ที่เลื่อยไว้ โดยตอกให้ทะลุถึงอีกด้านหนึ่ง แล้วใช้ลวดมัดยึดไว้ให้แน่น
ภาพที่ 15 กระบวนการที่ 3 นำแส้มะพร้าวที่ใช้ลวดมัดทำสำเร็จไว้แล้วที่ไม่ต้องทุบ มามัดติดกับไม้ไผ่เล็กที่ใช้ดาม มัดไว้ทั้งสองข้าง โดยใช้เชือกพลาสติกมัด
ภาพที่ 16 กระบวนการที่ 4 นำแส้มะพร้าวที่ใช้ลวดมัดทำสำเร็จไว้และใช้ค้อนทุบให้แบน มาวางบนไม้ไผ่เล็กที่ใช้ดามแล้ว โดยแต่ละด้านใช้แส้มะพร้าวฝั่งละ 3 กำ และใช้เชือกพลาสติกมัดและถักจนเสร็จ
ภาพที่ 17 กระบวนการที่ 5 ตอกตะปูไปตรงกลางไม้ไผ่ แต่ให้หัวตะปูโผล่มาหน่อย เพื่อที่จะได้นำลวดมาพันได้ โดยพันทั้งหมด 3 รอบ ดึงให้ตึงและลวดต้องพันให้อยู่เหนือตะปู เมื่อเสร็จแล้วก็ตอกตะปูเข้าไป
ภาพที่ 18 กระบวนการที่ 6 พลิกกลับอีกด้านทำเหมือนกับข้อที่ 5 แต่ทำตรงปลาย แส้มะพร้าว แต่ไม่ต้องล่างมากให้เผื่อไว้ตัด เมื่อเสร็จแล้วใช้เลื่อยตัดส่วนปลายออก ซึ่งห่างจากลวดประมาณ 2 เซนติเมตร
ภาพที่ 19 กระบวนการที่ 7 นำน้ำมันยางมะตอยที่ต้มผสมกับน้ำมันเบนซิน มาทาลงบนแส้มะพร้าวและลวด แล้วตากให้แห้ง จากกระบวนการทำตั้งแต่กระบวนการที่ 1 – กระบวนการที่ 6 ทำให้ได้ไม้กวาดดอกหญ้าที่เป็นผลิตภัณฑ์ของบ้านบ่อแก้ว ได้ดังภาพที่ 20
ภาพที่ 20 ได้ไม้กวาดแข็งพร้อมจำหน่าย และใช้งาน ราคาของไม้กวาดแข็ง ราคาส่งขึ้นอยู่กับราคาต้นทุนอุปกรณ์ในแต่ละช่วง เช่น ถ้าราคาต้นทุนถูกจะอยู่ที่ราคา 280 บาท ถ้าราคาต้นทุนสูงจะอยู่ที่ราคา 300 บาท 2. ข้อมูลการสำรวจ
วันเดือนปีที่สำรวจ 1. วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2562 ณ งานนบพระ-เล่นเพลง และงานกาชาดจังหวัดกำแพงเพชร ประจำปี 2562 2. วันที่ 3 มีนาคม 2562 ณ กลุ่มไม้กวาดบ้านบ่อแก้ว ตำบลพานทอง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร วันปรับปรุงข้อมูล - ผู้สำรวจข้อมูล นางสาวจีรวรรณ ผึ่งบางแก้ว คำสำคัญ (tag) ไม้กวาด, บ้านบ่อแก้ว