ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบำพุทธบูชา"

จาก ฐานข้อมูลการละเล่นพื้นฐานจังหวัดกำแพงเพชร
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 64: บรรทัดที่ 64:
[[ไฟล์:ภาพที่ 3 การแต่งกายผู้แสดง.jpg|350px|thumb|center]]
[[ไฟล์:ภาพที่ 3 การแต่งกายผู้แสดง.jpg|350px|thumb|center]]
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3 การแต่งกายผู้แสดง''' </p>
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3 การแต่งกายผู้แสดง''' </p>
=='''ข้อมูลเพลง/ดนตรี'''==
          เพลงแต่งขึ้นใหม่โดยใช้เพลงสาธุการ (สาธุการเปิดโลก) เป็นโครงสร้างของเพลง
'''แนวคิดในการประพันธ์เพลง'''
          ระบำชุดนี้เป็นการแสดงความเคารพและบูชาพระรัตนตรัย  นบไหว้พระซึ่งในการประกอบพิธีทางศาสนาได้นำเพลงสาธุการมาบรรเลงในการไหว้และเคารพบูชาใช้ได้กับศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ ผู้ประพันธ์ได้นำช่วงเพลงสาธุการเปิดโลกมาประพันธ์เป็นโครงสร้างของเพลง
          จากการสัมภาษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชชัย พวกดี ได้เล่าให้ฟังว่าการต่อเพลงสาธุการอย่างถูกต้อง จะทราบว่าในเพลงสาธุการจะมีวรรคพิเศษอยู่วรรคหนึ่งเรียกว่า “พระเจ้าเปิดโลก” วรรคพระเจ้าเปิดโลกนี้ ได้นำมาประพันธ์เพลง ระบำพุทธบูชาเป็นโครงสร้างของเพลงระบำพุทธบูชา “นบพระ-มาฆปุรณมี”
          อัตราจังหวะเพลง เป็น 2 ชั้น ท่อน 1 และท่อน 2
          อัตราจังหวะเพลงชั้นเดียว ท่อน 1 และท่อน 2
'''โน้ตเพลงพุทธบูชา “นบพระ – มาฆปุรณมี”'''
          ประพันธ์ โดย ชัชชัย  พวกดี
'''2 ชั้น/ท่อน 1'''
{| class="wikitable"
|-
| ---ท || ---รํ || -ล-ท || -รํ-- || ซํมํรํท || -รํ-- || -ทรํล || ทลซม
|-
| ----|| -ท-ล || -ซ-ล || -ท-รํ || -ททท || รํมํ-รํ || -ร-ม || -ซ-ล
|-
| ---ล || -ล-ล || -มํรํท || -ล-ซ || ---ร || ---รํ || --ซํมํ || รํท-ล
|-
| ---ล || -ล-ล || -ร-ม || -ซ-ล || ---- || -ซ-ม || ซมลซ || -ม-ร
|}
'''ท่อน 2'''
{| class="wikitable"
|-
| รํรํมรํ || ทรํมํล || (รํรํมํรํ || ทรํมํล) || ลลทล || ซลทม || (ลลทล || ซลทม)
|-
| --มม || ซมนทฺ || --ซซ || ลซมร || --ลล || ทลซม || มํรํทล || ----
|-
| ---ล || -ล-ล || -มํรํท || -ล-ซ || --รํรํ || รํรํ-ดํ || ดํดํ-ท || ทท-ล
|-
| ---ล || -ล-ล || -ร-ม || -ซ-ล || ---- || -ซ-ม || ซมลซ || -ม-ร
|}
'''ชั้นเดียว/ท่อน 1'''
{| class="wikitable"
|-
| -รรร || -มํ-รํ || -ทรํล || ทลซม || -มมม || -ซ-ม || -ล-ม || -ซ-ล
|-
| -ลลล || ซลทรํ || -มํ-รํ || -ท-ล || ทลซม || ซล-- || ซมลซ || -ม-ร
|}
'''ท่อน 2'''
{| class="wikitable"
|-
| รํรํมรํ || ทรํมํล || (ลลทล || ซลทม) || ลลทล || ซลทม || (มมซม || รมซล)
|-
| --ลล || ทลซม || --มม || รมซล || --รม || ซล-- || ซมลซ || -ม-ร
|}                                         
เครื่องดนตรีประกอบด้วยใช้วงโบราณ
          ปี่ใน 1 เลา
          ฆ้องใหญ่ 1 วง
          ซอสามสาย 1 คัน
          ตะโพน 1 ใบ
          ฉิ่ง 1 คู่
          กระจับปี่ 1 ตัว
          กรับพวง 1 คู่
==='''เพลงที่ใช้ในการแสดง'''===
          เพลงสาธุการเปิดโลก
==='''เนื้อร้อง/ทำนอง'''===
          คำร้อง เพลงระบำพุทธบูชา “นบพระ-มาฆปุรณมี”
                    นบพระมาฆะฤกษ์ อมรเบิกทุกสถาน
          โบราณเก่าเล่าตำนาน น้อมสักการพระศาสดา
          ถึงพร้อมพระไตรรัตน์ เจิดจำรัสพระพุทธา
          เป็นเอกพระศาสดา ทั่วโลกาสรรเสริญคุณ
          ด้วยเดชสักการะ พลวะช่วยนำหนุน
          นบพระบูชาคุณ จงถึงพร้อมบูชาเทอญฯ
                                                                อาจารย์อนุลักษณ์  อาสาสู้
                                                                13 กุมภาพันธ์ 2559
==='''ผู้แต่งเพลง เนื้อร้อง/ทำนอง'''===
          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชชัย  พวกดี
==='''เครื่องดนตรีประกอบ'''===
          - วงปี่พาทย์เครื่องคู่
          - วงเครื่องสายโบราณ
=='''ข้อมูลการสำรวจ'''==
==='''วันเดือนปีที่สำรวจ'''===
          ปี พ.ศ  2550-2560
==='''วันปรับปรุงข้อมูล'''=== 
          ปี พ.ศ.2561
==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''===
          ผู้ช่วยศาสตราจารย์เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:13, 7 ธันวาคม 2566

ข้อมูลทั่วไป[แก้ไข]

ชื่อการแสดง[แก้ไข]

         ระบำพุทธบูชา - นบพระมาฆ-ปุรณมี

ชื่อเรียกอื่น ๆ[แก้ไข]

         ระบำพุทธบูชา ระบำนบพระ-มาฆ-ปุรณมี

ประเภทการแสดง [แก้ไข]

         - เป็นการแสดงสร้างสรรค์เพื่อใช้ในงานประเพณีเพื่อเป็นอัตลักษณ์จังหวัดกำแพงเพชร
         - เพื่อใช้ในโอกาสเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมระดับชาติ และระดับนานาชาติ

โอกาสที่ใช้ในการแสดง[แก้ไข]

         - ใช้ในโอกาสพิธีเปิดงานประเพณีนบพระ-เล่นเพลง
         - ใช้ในโอกาสการแสดงเวทีงานเทศกาลของจังหวัดกำแพงเพชร

ผู้คิดค้น [แก้ไข]

         - ประพันธ์เพลง โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชชัย พวกดี
         - ท่ารำ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา

สถานที่ริเริ่ม/สถานที่จัดแสดง[แก้ไข]

         - อุทยานประวัติศาสตร์จังหวัดกำแพงเพชรเมืองมรดกโลก
         - วัดพระบรมธาตุเจดีย์หลวง นครชุม จังหวัดกำแพงเพชร
         - งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่
         - งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย	
         - แสดงเวทีกลางประเพณีนบพระ-เล่นเพลง		

ข้อมูลการแสดง[แก้ไข]

         ระบำพุทธบูชาเป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้ในโอกาสต่าง ๆ และสามารถนำไปประกอบการแสดงในงานประเพณีนบพระ-เล่นเพลงได้

ประวัติความเป็นมา[แก้ไข]

         ระบำพุทธบูชา-มาฆ-ปรุณมี มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแสดงในงานประเพณีนบพระ-เล่นเพลงวันเพ็ญเดือนสามหรือวันมาฆบูชา วิธีดำเนินการใช้หลักการสร้างสรรค์โดยยึดหลักการสร้างสรรค์ระบำชุดใหม่ที่มีองค์ประกอบของการแสดงระบำ การออกแบบท่ารำ การออกแบบเครื่องแต่งกาย การทำเพลงและดนตรีประกอบการแสดง การแปรรูปแบบแถว อุปกรณ์ประกอบการแสดง การคัดเลือกนักแสดง ในการดำเนินการได้ศึกษาท่าหลักจากท่ารำพื้นฐาน รำแม่บท รำเพลงช้าเพลงเร็วและมีท่าประดิษฐ์ขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นท่าเฉพาะในชุดการแสดงเช่น ท่ารำบูชาไหว้พระโดยเลียนแบบท่ามาจากภาพรูปปั้นนางรำที่ปรากฏให้พิพิธภัณฑ์สถานจังหวัดกำแพงเพชร เครื่องแต่งกายได้เลียนแบบมาจากภาพแกะสลักของรูปปั้นนางรำ บางส่วน การแปรรูปแถวให้เกิดความงามและเปลี่ยนแปลงสายตาผู้ชม ในการแสดงชุดนี้ได้แบ่งการแสดงออกเป็นสองช่วง ช่วงที่หนึ่งเป็นการเกริ่นนำเพื่อบูชาพระไตรรัตน์มีบทร้องกำกับในการแสดงและตีภาษาท่าตามบทร้อง ช่วงที่สองเป็นการแสดงตามทำนองเพลงที่กำหนดไว้มีท่อนช้าและเร็วตามลำดับลักษณะ การแสดงของกระบวนท่ารำได้ประดิษฐ์ขึ้นให้สอดคล้องกับทำนองเพลงและมีความหมายชองท่ารำในการบูชาพระรัตนตรัย
         การสร้างสรรค์ระบำชุดนี้สามารถนำไปใช้เพื่อการแสดงในพิธีเปิดงานนบพระ-เล่นเพลง และสามารถนำไปใช้แสดงในโอกาสต่าง ๆ ได้และยังเป็นการแสดงชุดหนึ่งที่เป็นการสืบสานนาฏศิลป์ไทยและยังเป็นการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของไทยได้อีกทางหนึ่งด้วย

อุปกรณ์ประกอบ[แก้ไข]

ภาพที่ 1 พานดอกบัวบูชา อุปกรณ์ประกอบการแสดง

         ใช้พานพุ่มดอกบัวบูชา การบูชาพระพุทธเจ้ามีอยู่ 2 วิธี คือ			
         - อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยสิ่งของ อันได้แก่ ดอกไม้ ธูป เทียน ภัตตาหาร คาว หวาน สิ่งที่เป็นวัตถุทั้งปวงเป็นการเสียสละ ฝึกตนให้รู้จักการแบ่งปัน การบริจาค และการให้ทาน
         - ปฏิบัติบูชา คือการบูชาด้วยการกระทำ ด้วยการประพฤติปฏิบัติ ลงมือกระทำจริง ปฏิบัติจริง ทั้งทางกาย วาจา และที่สำคัญที่สุด คือ ทางใจ ทางจิตวิญญาณ

ขั้นตอน/วิธี/กระบวนการ[แก้ไข]

         - เก็บรวมรวมข้อมูลจากเอกสาร
         - ศึกษาข้อมูลงานประเพณีนพระ-เล่นเพลงโดยการสัมภาษณ์ นายรุ่งธรรม ศรีวรรธศิลป์
         - ประพันธ์เพลง
         - ออกแบบท่ารำ
         - ออกแบบเครื่องแต่งกาย
         - คัดเลือกนักแสดง
         - ฝึกซ้อม
         - ออกแสดง 

ท่าทางการแสดงจำเพาะ[แก้ไข]

         - การศึกษาและกระบวนการสร้างสรรค์ 
         - ท่ารำ ประดิษฐ์ท่ารำโดยใช้ท่ารำในท่ารำแม่บท และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ มาร้อยเรียงให้สอดคล้องและมีความหมายในการสักการบูชาพระพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดความงามตามลักษณะนาฏศิลป์ไทย    
         - ท่ารำพิเศษ โดยแกะท่ารำมาจากรูปปั้นที่ปรากฏในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดกำแพงเพชร ท่าไหว้ ท่าภมรเคล้า

ข้อมูลผู้แสดง[แก้ไข]

         นักศึกษาชมรมนาฏศิลป์และการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

เพศผู้แสดง[แก้ไข]

         ใช้นักแสดงหญิงล้วน

จำนวนผู้แสดง[แก้ไข]

         บนเวที จำนวน 8 คน 10 คน  
         โดยแสดงกลางแจ้ง ณ วัดพระบรมธาตุในพิธีเปิดงานประเพณี นบพระ-เล่นเพลง ประจำปี 2561 จำนวน 3,365 คน และปี 2562 จำนวน 665 คน

ลักษณะผู้แสดง[แก้ไข]

         นิยมใช้นักแสดงเป็นสุภาพสตรี

การแต่งกายผู้แสดง/เครื่องประดับ[แก้ไข]

         - นายรุ่งธรรม ศรีวรรธนศิลป์
         - ผู้ช่วยศาสตราจารย์เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา
         แนวคิดการออกแบบเครื่องแต่งกาย เนื่องจากการแสดงเป็นการบูชาพระรัตนตรัย จึงมีความสงบ การออกแบบจึงเลือกให้มีสีนวลตา เย็นตา ลักษณะคล้ายชุดไทยจีบหน้านาง แต่ตกแต่งให้ดูแปลกตา ห้อยด้วยชายผ้าจีบหนึ่งชิ้น ใส่เสื้อสีครีม คอปิดมิดชิด มีแขนเพื่อให้เกิดความสุภาพเรียบร้อย เพราะแสดงที่วัดวาอาราม ประดับด้วยเครื่องประดับพองาม

ภาพที่ 2 การแต่งกายผู้แสดง

ภาพที่ 3 การแต่งกายผู้แสดง

ข้อมูลเพลง/ดนตรี[แก้ไข]

         เพลงแต่งขึ้นใหม่โดยใช้เพลงสาธุการ (สาธุการเปิดโลก) เป็นโครงสร้างของเพลง
แนวคิดในการประพันธ์เพลง 
         ระบำชุดนี้เป็นการแสดงความเคารพและบูชาพระรัตนตรัย  นบไหว้พระซึ่งในการประกอบพิธีทางศาสนาได้นำเพลงสาธุการมาบรรเลงในการไหว้และเคารพบูชาใช้ได้กับศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ ผู้ประพันธ์ได้นำช่วงเพลงสาธุการเปิดโลกมาประพันธ์เป็นโครงสร้างของเพลง 
         จากการสัมภาษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชชัย พวกดี ได้เล่าให้ฟังว่าการต่อเพลงสาธุการอย่างถูกต้อง จะทราบว่าในเพลงสาธุการจะมีวรรคพิเศษอยู่วรรคหนึ่งเรียกว่า “พระเจ้าเปิดโลก” วรรคพระเจ้าเปิดโลกนี้ ได้นำมาประพันธ์เพลง ระบำพุทธบูชาเป็นโครงสร้างของเพลงระบำพุทธบูชา “นบพระ-มาฆปุรณมี”
         อัตราจังหวะเพลง เป็น 2 ชั้น ท่อน 1 และท่อน 2
         อัตราจังหวะเพลงชั้นเดียว ท่อน 1 และท่อน 2
โน้ตเพลงพุทธบูชา “นบพระ – มาฆปุรณมี”
         ประพันธ์ โดย ชัชชัย  พวกดี

2 ชั้น/ท่อน 1

---ท ---รํ -ล-ท -รํ-- ซํมํรํท -รํ-- -ทรํล ทลซม
---- -ท-ล -ซ-ล -ท-รํ -ททท รํมํ-รํ -ร-ม -ซ-ล
---ล -ล-ล -มํรํท -ล-ซ ---ร ---รํ --ซํมํ รํท-ล
---ล -ล-ล -ร-ม -ซ-ล ---- -ซ-ม ซมลซ -ม-ร

ท่อน 2

รํรํมรํ ทรํมํล (รํรํมํรํ ทรํมํล) ลลทล ซลทม (ลลทล ซลทม)
--มม ซมนทฺ --ซซ ลซมร --ลล ทลซม มํรํทล ----
---ล -ล-ล -มํรํท -ล-ซ --รํรํ รํรํ-ดํ ดํดํ-ท ทท-ล
---ล -ล-ล -ร-ม -ซ-ล ---- -ซ-ม ซมลซ -ม-ร

ชั้นเดียว/ท่อน 1

-รรร -มํ-รํ -ทรํล ทลซม -มมม -ซ-ม -ล-ม -ซ-ล
-ลลล ซลทรํ -มํ-รํ -ท-ล ทลซม ซล-- ซมลซ -ม-ร

ท่อน 2

รํรํมรํ ทรํมํล (ลลทล ซลทม) ลลทล ซลทม (มมซม รมซล)
--ลล ทลซม --มม รมซล --รม ซล-- ซมลซ -ม-ร
เครื่องดนตรีประกอบด้วยใช้วงโบราณ
         ปี่ใน	 1 เลา
         ฆ้องใหญ่ 1 วง
         ซอสามสาย 1 คัน
         ตะโพน	 1 ใบ
         ฉิ่ง 1 คู่
         กระจับปี่ 1 ตัว
         กรับพวง 1 คู่

เพลงที่ใช้ในการแสดง[แก้ไข]

         เพลงสาธุการเปิดโลก

เนื้อร้อง/ทำนอง[แก้ไข]

         คำร้อง เพลงระบำพุทธบูชา “นบพระ-มาฆปุรณมี”
                   นบพระมาฆะฤกษ์		อมรเบิกทุกสถาน
         โบราณเก่าเล่าตำนาน			น้อมสักการพระศาสดา
         ถึงพร้อมพระไตรรัตน์			เจิดจำรัสพระพุทธา
         เป็นเอกพระศาสดา			ทั่วโลกาสรรเสริญคุณ
         ด้วยเดชสักการะ				พลวะช่วยนำหนุน
         นบพระบูชาคุณ				จงถึงพร้อมบูชาเทอญฯ
                                                               อาจารย์อนุลักษณ์  อาสาสู้
                                                               13 กุมภาพันธ์ 2559

ผู้แต่งเพลง เนื้อร้อง/ทำนอง[แก้ไข]

         ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชชัย  พวกดี

เครื่องดนตรีประกอบ[แก้ไข]

         - วงปี่พาทย์เครื่องคู่
         - วงเครื่องสายโบราณ

ข้อมูลการสำรวจ[แก้ไข]

วันเดือนปีที่สำรวจ[แก้ไข]

         ปี พ.ศ   2550-2560

วันปรับปรุงข้อมูล[แก้ไข]

         ปี พ.ศ.2561

ผู้สำรวจข้อมูล[แก้ไข]

         ผู้ช่วยศาสตราจารย์เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา