กำลังแก้ไข ฐานข้อมูล เรื่อง หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์ จังหวัดกำแพงเพชร

ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

คำเตือน: คุณมิได้ล็อกอิน สาธารณะจะเห็นเลขที่อยู่ไอพีของคุณหากคุณแก้ไข หากคุณล็อกอินหรือสร้างบัญชี การแก้ไขของคุณจะถือว่าเป็นของชื่อผู้ใช้ของคุณ ร่วมกับประโยชน์อื่น

สามารถย้อนการแก้ไขนี้กลับได้ กรุณาตรวจสอบข้อแตกต่างด้านล่างเพื่อทวนสอบว่านี่เป็นสิ่งที่คุณต้องการทำ แล้วบันทึกการเปลี่ยนแปลงด้านล่างเพื่อเสร็จสิ้นการย้อนการแก้ไขกลับ
รุ่นแก้ไขปัจจุบัน ข้อความของคุณ
แถว 1: แถว 1:
 
           หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์ อยู่ในตำบลนครชุม จังหวัดกำแพงเพชร เป็นพระพุทธรูปแบบเชียงแสนขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 2.87 เมตร สูงเกือบ 3 เมตร ขัดสมาธิราบ พระองค์อวบอ้วน พระอุระนูน ชายสังฆาฏิ อยู่บริเวณพระนาภี พระพักตร์กลมสั้น พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่ ฐานมีบัวรอง ทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย มีลักษณะเป็นเนื้อดิน เดิมเป็นสีดำแต่ชาวบ้านได้จัดให้มีการปิดทอง ลักษณะภายในโปร่ง มีพุทธลักษณะที่งดงามยิ่งเป็นหลักฐานสำคัญประกอบข้อเท็จจริงถึงความสัมพันธ์ระหว่างกำแพงเพชรและหัวเมืองฝ่ายเหนือ หลวงพ่ออุโมงค์เป็นพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน จากการบอกเล่าพบหลวงพ่อในดินลักษณะคล้ายจอมปลวกจึงขุดกันออกมา มองดูคล้ายท่านอยู่ในอุโมงค์ สันนิษฐานว่าคงหลบพวกพม่าที่มาตีเมืองในสมัยนั้น หรือปาฏิหาริย์ของท่านก็ไม่อาจทราบได้ หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นที่พึ่งทางใจของชาวนครชุมและใกล้เคียง มีความศักดิ์สิทธิ์เรื่องความสัตย์ ชาวบ้านนิยมมากล่าวคำสาบานถ้าผิดคำสาบาน ก็จะเป็นไปตามคำสัญญานั้น จนเป็นที่เลื่องลือ และยังขอพรได้ดั่งประสงค์ มักจะมีผู้มาแก้บนด้วยลิเก พวงมาลัย และหัวหมู ปัจจุบันชมรมพระเครื่องแห่งประเทศไทยได้ยกย่องหลวงพ่ออุโมงค์ให้เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำจังหวัดกำแพงเพชร ทางวัดสว่างอารมณ์ได้จัดให้มีการสมโภชในวันเพ็ญ เดือน 4  
 
           หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์ อยู่ในตำบลนครชุม จังหวัดกำแพงเพชร เป็นพระพุทธรูปแบบเชียงแสนขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 2.87 เมตร สูงเกือบ 3 เมตร ขัดสมาธิราบ พระองค์อวบอ้วน พระอุระนูน ชายสังฆาฏิ อยู่บริเวณพระนาภี พระพักตร์กลมสั้น พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่ ฐานมีบัวรอง ทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย มีลักษณะเป็นเนื้อดิน เดิมเป็นสีดำแต่ชาวบ้านได้จัดให้มีการปิดทอง ลักษณะภายในโปร่ง มีพุทธลักษณะที่งดงามยิ่งเป็นหลักฐานสำคัญประกอบข้อเท็จจริงถึงความสัมพันธ์ระหว่างกำแพงเพชรและหัวเมืองฝ่ายเหนือ หลวงพ่ออุโมงค์เป็นพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน จากการบอกเล่าพบหลวงพ่อในดินลักษณะคล้ายจอมปลวกจึงขุดกันออกมา มองดูคล้ายท่านอยู่ในอุโมงค์ สันนิษฐานว่าคงหลบพวกพม่าที่มาตีเมืองในสมัยนั้น หรือปาฏิหาริย์ของท่านก็ไม่อาจทราบได้ หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นที่พึ่งทางใจของชาวนครชุมและใกล้เคียง มีความศักดิ์สิทธิ์เรื่องความสัตย์ ชาวบ้านนิยมมากล่าวคำสาบานถ้าผิดคำสาบาน ก็จะเป็นไปตามคำสัญญานั้น จนเป็นที่เลื่องลือ และยังขอพรได้ดั่งประสงค์ มักจะมีผู้มาแก้บนด้วยลิเก พวงมาลัย และหัวหมู ปัจจุบันชมรมพระเครื่องแห่งประเทศไทยได้ยกย่องหลวงพ่ออุโมงค์ให้เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำจังหวัดกำแพงเพชร ทางวัดสว่างอารมณ์ได้จัดให้มีการสมโภชในวันเพ็ญ เดือน 4  
[[ไฟล์:1 หลวงพ่ออุโมงค์.jpg|400px|thumb|center]]
+
[[ไฟล์:1 หลวงพ่ออุโมงค์.jpg|500px|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 หลวงพ่ออุโมงค์ ''' </p>  
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 หลวงพ่ออุโมงค์ ''' </p>  
[[ไฟล์:2 หลวงพ่ออุโมงค์.jpg|400px|thumb|center]]
+
[[ไฟล์:2 หลวงพ่ออุโมงค์.jpg|500px|thumb|center]]
 
  <p align = "center"> '''ภาพที่ 2 หลวงพ่ออุโมงค์ ''' </p>
 
  <p align = "center"> '''ภาพที่ 2 หลวงพ่ออุโมงค์ ''' </p>
 
=='''ข้อมูลทั่วไป'''==
 
=='''ข้อมูลทั่วไป'''==
แถว 29: แถว 29:
 
           ผู้เก็บข้อมูลสรุปได้ว่า แต่เดิมหลวงพ่ออุโมงค์อยู่ริมคลองสวนหมาก พบในลักษณะคล้ายจอมปลวกใหญ่มีลักษณะประหลาด คือมีลักษณะดินหุ้มไม่มิด ทางด้านที่หันหน้าสู่คลองสวนหมากมีเถาวัลย์ขนาดใหญ่รกทึบปกคลุมอยู่ หลวงพ่อบุญมีจึงขอให้หลานชายซึ่งขณะนั้นเป็นกำนันชิน โตพุ่ม นำราษฎร และควาญช้างช่วยกันถางเถาวัลย์ออก จึงพบพระพุทธรูปแบบเชียงแสนขนาดใหญ่ เห็นพระพักตร์เหมือนอยู่ในอุโมงค์ จึงเรียกกันว่าหลวงพ่ออุโมงค์ สันนิษฐานว่าคงหลบพวกพม่าที่มาตีเมืองในสมัยนั้น หรือปราฏิหารย์ของท่านก็ไม่อาจทราบได้ หลังจากนั้นได้ทำวิหารถวายหลวงพ่ออุโมงค์ ปิดทองหลวงพ่ออุโมงค์ใหม่ทั้งองค์
 
           ผู้เก็บข้อมูลสรุปได้ว่า แต่เดิมหลวงพ่ออุโมงค์อยู่ริมคลองสวนหมาก พบในลักษณะคล้ายจอมปลวกใหญ่มีลักษณะประหลาด คือมีลักษณะดินหุ้มไม่มิด ทางด้านที่หันหน้าสู่คลองสวนหมากมีเถาวัลย์ขนาดใหญ่รกทึบปกคลุมอยู่ หลวงพ่อบุญมีจึงขอให้หลานชายซึ่งขณะนั้นเป็นกำนันชิน โตพุ่ม นำราษฎร และควาญช้างช่วยกันถางเถาวัลย์ออก จึงพบพระพุทธรูปแบบเชียงแสนขนาดใหญ่ เห็นพระพักตร์เหมือนอยู่ในอุโมงค์ จึงเรียกกันว่าหลวงพ่ออุโมงค์ สันนิษฐานว่าคงหลบพวกพม่าที่มาตีเมืองในสมัยนั้น หรือปราฏิหารย์ของท่านก็ไม่อาจทราบได้ หลังจากนั้นได้ทำวิหารถวายหลวงพ่ออุโมงค์ ปิดทองหลวงพ่ออุโมงค์ใหม่ทั้งองค์
 
           ประวัติหลวงหลวงพ่อบุญมี  ธมฺมสโร เนื้อเหมือนเนื้อ ถ้าไม่เอื้อก็เหมือนเนื้อกลางป่า เนื้อไม่เหมือนเนื้อ ถ้าเอื้อ ถ้าเฝี้อ ก็เหมือนเนื้ออาตมา นี่คือวาถะของพระภิกษุชาวมอญ ที่มาธุดงค์จากจังหวัดตากมาจำพรรษาที่วัดสองพี่น้อง แห่งนี้ มีครอบครัวน้องสาวชื่อแม่สายทอง สะใภ้ของตระกูลโตพุ่ม เป็นโยมอุปัฏฐาก ท่านเป็นผู้สังเกตุเห็นจอมปลวกประดริมคลองสวนหมาก เมื่อแผ้วถางก็พบวิหารคล้ายอุโมงค์ มีพระพุทธรูปขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่ภายในต่อมาท่านได้เป็นเจ้าโอวาสองค์แรกของวัดสว่างอารมณ์ ท่านมีเมตตาสูง ในสมัยของท่านนั้น โรงครัวจะมีอาหารสำหรับคนเดินทางไม่เคยขาด และท่านมีฌานถึงขั้นวาโยกสิณ เรื่องจริงมีว่า ในปี 2485 ไฟไหม้ตลาดนครชุมลามมาตามบ้านเรือนริมคลอง ถึงบ้านเลขที่ 059 ท่านได้ไปเพ่งกสิณใกล้บริเวณนั้นโบอกพัดในมือ 3 ครั้ง ลมก็เปลี่ยนทิศ ไฟก็หยุดลุกลามท่านมรณภาพในท่านั่งสมาธิ เมื่อมีการฌาปณกิจท่าน เหรียญรูปเหมือนของท่านที่ทำแจกในงาน ก็มีพุทธคุณแคล้วคลาด ปลอดภัยอีกด้วย
 
           ประวัติหลวงหลวงพ่อบุญมี  ธมฺมสโร เนื้อเหมือนเนื้อ ถ้าไม่เอื้อก็เหมือนเนื้อกลางป่า เนื้อไม่เหมือนเนื้อ ถ้าเอื้อ ถ้าเฝี้อ ก็เหมือนเนื้ออาตมา นี่คือวาถะของพระภิกษุชาวมอญ ที่มาธุดงค์จากจังหวัดตากมาจำพรรษาที่วัดสองพี่น้อง แห่งนี้ มีครอบครัวน้องสาวชื่อแม่สายทอง สะใภ้ของตระกูลโตพุ่ม เป็นโยมอุปัฏฐาก ท่านเป็นผู้สังเกตุเห็นจอมปลวกประดริมคลองสวนหมาก เมื่อแผ้วถางก็พบวิหารคล้ายอุโมงค์ มีพระพุทธรูปขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่ภายในต่อมาท่านได้เป็นเจ้าโอวาสองค์แรกของวัดสว่างอารมณ์ ท่านมีเมตตาสูง ในสมัยของท่านนั้น โรงครัวจะมีอาหารสำหรับคนเดินทางไม่เคยขาด และท่านมีฌานถึงขั้นวาโยกสิณ เรื่องจริงมีว่า ในปี 2485 ไฟไหม้ตลาดนครชุมลามมาตามบ้านเรือนริมคลอง ถึงบ้านเลขที่ 059 ท่านได้ไปเพ่งกสิณใกล้บริเวณนั้นโบอกพัดในมือ 3 ครั้ง ลมก็เปลี่ยนทิศ ไฟก็หยุดลุกลามท่านมรณภาพในท่านั่งสมาธิ เมื่อมีการฌาปณกิจท่าน เหรียญรูปเหมือนของท่านที่ทำแจกในงาน ก็มีพุทธคุณแคล้วคลาด ปลอดภัยอีกด้วย
[[ไฟล์:3 หลวงพ่อบุญมี.jpg|500px|thumb|center]]
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3 หลวงพ่อบุญมี ธมฺมสโร เจ้าอาวาสองค์แรงของวัดสว่างอารมณ์ ''' </p>
+
รูปที่ 3 หลวงพ่อบุญมี ธมฺมสโร เจ้าอาวาสองค์แรงของวัดสว่างอารมณ์
==='''ลักษณะทางสถาปัตยกรรม'''===
+
 
[[ไฟล์:4 หลวงพ่ออุโมงค์.jpg|500px|thumb|center]]
+
2.2. ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
<p align = "center"> '''ภาพที่ 4 หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์ ''' </p>
+
          ได้อธิบายไว้ว่า พระเกศาเป็นก้นหอย พระเกตุมาลาเป็นดอกบัวตูม พระพักตร์ค่อนข้างกลม พระขนงโก่ง พระเนตรโต เหลือบต่ำ พระนาสิกงุ้ม พระหนุเป็นปม มีเส้นปล้องพระศอสามเส้น  
+
[[ไฟล์:5 หลวงพ่ออุโมงค์.jpg|500px|thumb|center]]
+
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5 หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์ ''' </p>   
+
ได้อธิบายไว้ว่า พระเกศาเป็นก้นหอย พระเกตุมาลาเป็นดอกบัวตูม พระพักตร์ค่อนข้างกลม     พระขนงโก่ง พระเนตรโต เหลือบต่ำ พระนาสิกงุ้ม พระหนุเป็นปม มีเส้นปล้องพระศอสามเส้น  
          พระโอษฐ์เล็ก อวบอ้วน พระอุระนูน ครองจีวรห่มเฉียงไปทางด้านขวา ขัดสมาธิราบ ฐานมีบัวรอง ทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย
+
   
[[ไฟล์:6 หลวงพ่ออุโมงค์.jpg|500px|thumb|center]]
+
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 6 หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์ ''' </p>  
+
 
หลวงพ่ออุโมงค์เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 2 เมตร สูงกว่า 3 เมตร ขัดสมาธิราบพระองค์อวบอ้วน พระอุระนูน ชายสังฆาฏิอยู่บริเวณพระนาภี พระพักตร์กลมสั้น พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่ ฐานมีบัวรอง ทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย พระเมาลีของหลวงพ่ออุโมงค์สามารถเปิดได้เหมือนฝาหม้อ
+
   
==='''บุคคลเกี่ยวข้อง'''===
+
รูปที่ 4 หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์
          พระครูโอภาสวชีรานุกูล เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ รองเจ้าคณะอำเภอเมืองกำแพงเพชร
+
พระโอษฐ์เล็ก อวบอ้วน พระอุระนูน ครองจีวรห่มเฉียงไปทางด้านขวา ขัดสมาธิราบ ฐานมีบัวรอง ทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย
==='''วิธี/ขั้นตอน/กระบวนการในการสะการะ'''===
+
 
          เข้าไปในวิหารหลวงพ่ออุโมงค์ จะพบกับจุดกราบไหว้ หน้าหลวงพ่ออุโมงค์องค์จำลอง โดยการกราบไหว้หรือสักการะจะใช้ธูปทั้งหมด 3 ดอก และกล่าวคาถาบูชาหลวงพ่ออุโมงค์ จะมีคาถาบูชาหลวงพ่ออุโมงค์อยู่ด้านหน้าของหลวงพ่ออุโมงค์ หรือ คนส่วนมากจะกราบไหว้บูชาหลวงพ่ออุโมงค์ด้วยพวงมาลัยดอกไม้สด หรือพวงมาลัยดอกไม้แห้ง  
+
   
=='''ข้อมูลการสำรวจ'''==
+
หลวงพ่ออุโมงค์เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 2 เมตร สูงกว่า 3 เมตร ขัดสมาธิราบพระองค์อวบอ้วน พระอุระนูน ชายสังฆาฏิอยู่บริเวณพระนาภี พระพักตร์กลมสั้น พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่ ฐานมีบัวรอง ทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย พระเมาลีของหลวงพ่ออุโมงค์สามารถเปิดได้เหมือนฝาหม้อ (สันติ อภัยราช, 2549. ออนไลน์)
==='''วันเดือนปีสำรวจ'''==
+
 
          22 สิงหาคม 2563
+
          2.3. บุคคลเกี่ยวข้อง
==='''วันปรับปรุงข้อมูล'''=== 
+
พระครูโอภาสวชีรานุกูล เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ รองเจ้าคณะอำเภอเมืองกำแพงเพชร
          27 สิงหาคม 2563
+
2.4. วิธี/ขั้นตอน/กระบวนการในการสะการะ
==='''ผู้สำรวจข้อมูล'''===
+
    เข้าไปในวิหารหลวงพ่ออุโมงค์ จะพบกับจุดกราบไหว้ หน้าหลวงพ่ออุโมงค์องค์จำลอง โดยการกราบไหว้หรือสักการะจะใช้ธูปทั้งหมด 3 ดอก และกล่าวคาถาบูชาหลวงพ่ออุโมงค์ จะมีคาถาบูชาหลวงพ่ออุโมงค์อยู่ด้านหน้าของหลวงพ่ออุโมงค์ หรือ คนส่วนมากจะกราบไหว้บูชาหลวงพ่ออุโมงค์ด้วยพวงมาลัยดอกไม้สด หรือพวงมาลัยดอกไม้แห้ง (พระครูโอภาสชีรานุกูล,22 สิงหาคม 2563, สัมภาษณ์)
          นายเทพทัต  ทองคุ้ม
+
 
          นางสาวพรรณพร เทวโลก
+
3.ข้อมูลการสำรวจ
          นายพันธการต์ ฤมิตร
+
3.1. แหล่งอ้างอิง
==='''คำสำคัญ (Tag)'''===
+
ชูชีพ ชาญเชี่ยว. (2540). กำแพงเพชร อัญมณีเม็ดงามแห่งลุ่มน้ำปิง.กำแพงเพชร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=653&code_db=610006&code_type=01.
          หลวงพ่ออุโมงค์, วัดสว่างอารมณ์, จังหวัดกำแพงเพชรร, ความเป็นมา
+
พระครูโอภาสชีรานุกูล. 22 สิงหาคม 2563, สัมภาษณ์.
 +
วัดสว่างอารมณ์. (2563). แผ่นผับโฆษณาและประชาสัมพันธ์วัดสว่างอารมณ์
 +
สันติ อภัยราช, (2549). หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=1423&code_db=610012&code_type=01
 +
3.2. วันเดือนปีสำรวจ : 22 สิงหาคม 2563
 +
3.3. วันปรับปรุงข้อมูล : 27 สิงหาคม 2563
 +
3.4. ผู้สำรวจข้อมูล
 +
นายเทพทัต  ทองคุ้ม
 +
นางสาวพรรณพร เทวโลก
 +
นายพันธการต์ ฤมิตร
 +
3.5. คำสำคัญ (Tag)
 +
  หลวงพ่ออุโมงค์, วัดสว่างอารมณ์, จังหวัดกำแพงเพชรร, ความเป็นมา

โปรดระลึกว่างานเขียนทั้งหมดใน KPPStudies อาจถูกผู้เขียนอื่นแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือนำออก หากคุณไม่ต้องการให้งานของคุณถูกแก้ไข ก็อย่าส่งเข้ามา
นอกจากนี้ คุณยังสัญญาเราว่าคุณเขียนงานด้วยตนเอง หรือคัดลอกจากสาธารณสมบัติหรือทรัพยากรเสรีที่คล้ายกัน (ดูรายละเอียดที่ KPPStudies:ลิขสิทธิ์) อย่าส่งงานมีลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาต!

ยกเลิก คำอธิบายการแก้ไข (เปิดหน้าต่างใหม่)