กำลังแก้ไข ร่างทรง เข้าทรง ความหวัง ความเชื่อและความศรัทธา

ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

คำเตือน: คุณมิได้ล็อกอิน สาธารณะจะเห็นเลขที่อยู่ไอพีของคุณหากคุณแก้ไข หากคุณล็อกอินหรือสร้างบัญชี การแก้ไขของคุณจะถือว่าเป็นของชื่อผู้ใช้ของคุณ ร่วมกับประโยชน์อื่น

สามารถย้อนการแก้ไขนี้กลับได้ กรุณาตรวจสอบข้อแตกต่างด้านล่างเพื่อทวนสอบว่านี่เป็นสิ่งที่คุณต้องการทำ แล้วบันทึกการเปลี่ยนแปลงด้านล่างเพื่อเสร็จสิ้นการย้อนการแก้ไขกลับ
รุ่นแก้ไขปัจจุบัน ข้อความของคุณ
แถว 22: แถว 22:
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2''' ขะจ้ำผีฟ้า <br> (ไทยรัฐออนไลน์, 2563)</p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2''' ขะจ้ำผีฟ้า <br> (ไทยรัฐออนไลน์, 2563)</p>
 
           '''3. การแต่งกายและเครื่องเซ่นประกอบพิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคใต้'''
 
           '''3. การแต่งกายและเครื่องเซ่นประกอบพิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคใต้'''
           "ร่างทรง" หรือ "ม้าทรง" ถือเป็นกลุ่มบุคคลที่สำคัญและโดดเด่นที่สุดกลุ่มหนึ่งในเทศกาลถือศีลกินผักของ จ.ภูเก็ต ขบวนแห่ของแต่ละศาลเจ้าที่ประกอบไปด้วยม้าทรงในชุดจีนหลากสีสัน ตามร่างกายมีของแหลมคมทิ่มแทงใส่ พร้อมเกี้ยวที่หามรูปปั้นองค์เทพต่าง ๆ ผ่านท้องถนนที่คลาคล่ำด้วยผู้มีจิตศรัทธา ท่ามกลางเสียงดังและควันประทัดทั่วบริเวณ การอัญเชิญพองค์เทพจีนเข้าประทับทรง จะต้องบวงสรวงในอ้ามโดยมีม้าทรงและพี่เลี้ยง ๒-๓ คน เป็นผู้ช่วย กล่าวบทอัญเชิญพระจีน ตีล่อโก๊ะ ตีกลอง จุดธูป เผาไม้หอม เซ่นไหว้ด้วยผลไม้บูชาหน้ารูปพระจีน เมื่อพระจีนเข้าทรง ม้าทรงตัวสั่นสะท้าน ส่ายหน้าไปมา มือเกร็งสั่นเทิ้มตลอดเวลา ร่างของม้าทรงจะวิ่งไปที่หน้าแท่นบูชา หยิบธงและอาวุธประจำตัวของพระจีนองค์ที่เข้าทรงได้ถูกต้อง พี่เลี้ยงจะช่วยถอดเสื้อม้าทรงออก แล้วเอาเสื้อยันต์ประจำตัวของพระจีนนั้นมาผูกใส่ให้ การแสดงอิทธิฤทธิ์ของพระจีน เมื่อพระจีนเข้าทรงแล้ว บางครั้งจะคว้าอาวุธ คู่มือ มีทั้งดาบจีน ง้าว ขวาน มีด เหล็กแหลม ลูกตุ้มเหล็ก เป็นต้น ออกมาร่ายรำ ฟาดฟัน ทิ่มแทงร่างกายตนเอง เช่น แก้ม ลิ้น แขน หน้าอก หลัง สีข้าง ตัดลิ้นออกมาเขียนยันต์เขียนฮู้ให้ผู้เคารพเลื่อมใสเก็บไว้เป็นสิริมงคล การกระทำของพระจีนม้าทรงจะไม่รู้สึกตัวไม่มีความเจ็บปวด ซึ่งหลังจากพระจีนออกจากการเข้าทรงแล้ว ร่างม้าทรงจะมีร่องรอยบาดแผลอยู่เพียงเล็กน้อย ซึ่งจะหายไปเองโดยใช้ยันต์ปิดไว้ ร่องรอยที่แก้มก็เพียงเอาเถ้าขี้ธูปอุดรูไว้ก็จะหายสนิท
+
           "ร่างทรง" หรือ "ม้าทรง" ถือเป็นกลุ่มบุคคลที่สำคัญและโดดเด่นที่สุดกลุ่มหนึ่งในเทศกาลถือศีลกินผักของ จ.ภูเก็ต ขบวนแห่ของแต่ละศาลเจ้าที่ประกอบไปด้วยม้าทรงในชุดจีนหลากสีสัน ตามร่างกายมีของแหลมคมทิ่มแทงใส่ พร้อมเกี้ยวที่หามรูปปั้นองค์เทพต่าง ๆ ผ่านท้องถนนที่คลาคล่ำด้วยผู้มีจิตศรัทธา ท่ามกลางเสียงดังและควันประทัดทั่วบริเวณ การอัญเชิญพองค์เทพจีนเข้าประทับทรง จะต้องบวงสรวงในอ้ามโดยมีม้าทรงและพี่เลี้ยง ๒-๓ คน เป็นผู้ช่วย กล่าวบทอัญเชิญพระจีน ตีล่อโก๊ะ ตีกลอง จุดธูป เผาไม้หอม เซ่นไหว้ด้วยผลไม้บูชาหน้ารูปพระจีน เมื่อพระจีนเข้าทรง ม้าทรงตัวสั่นสะท้าน ส่ายหน้าไปมา มือเกร็งสั่นเทิ้มตลอดเวลา ร่างของม้าทรงจะวิ่งไปที่หน้าแท่นบูชา หยิบธงและอาวุธประจำตัวของพระจีนองค์ที่เข้าทรงได้ถูกต้อง พี่เลี้ยงจะช่วยถอดเสื้อม้าทรงออก แล้วเอาเสื้อยันต์ประจำตัวของพระจีนนั้นมาผูกใส่ให้ การแสดงอิทธิฤทธิ์ของพระจีน  
 +
เมื่อพระจีนเข้าทรงแล้ว บางครั้งจะคว้าอาวุธ คู่มือ มีทั้งดาบจีน ง้าว ขวาน มีด เหล็กแหลม ลูกตุ้มเหล็ก เป็นต้น ออกมาร่ายรำ ฟาดฟัน ทิ่มแทงร่างกายตนเอง เช่น แก้ม ลิ้น แขน หน้าอก หลัง สีข้าง ตัดลิ้นออกมาเขียนยันต์เขียนฮู้ให้ผู้เคารพเลื่อมใสเก็บไว้เป็นสิริมงคล การกระทำของพระจีนม้าทรงจะไม่รู้สึกตัวไม่มีความเจ็บปวด ซึ่งหลังจากพระจีนออกจากการเข้าทรงแล้ว ร่างม้าทรงจะมีร่องรอยบาดแผลอยู่เพียงเล็กน้อย ซึ่งจะหายไปเองโดยใช้ยันต์ปิดไว้ ร่องรอยที่แก้มก็เพียงเอาเถ้าขี้ธูปอุดรูไว้ก็จะหายสนิท
 
[[ไฟล์:5-3.jpg|400px|thumb|center]]
 
[[ไฟล์:5-3.jpg|400px|thumb|center]]
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3''' ภาพขบวนแห่ในเทศกาลกินเจภูเก็ต ปี 2558 <br> (ทิมมี่ ทิมมี่, ม.ป.ป.)</p>
 
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3''' ภาพขบวนแห่ในเทศกาลกินเจภูเก็ต ปี 2558 <br> (ทิมมี่ ทิมมี่, ม.ป.ป.)</p>
 
           '''4. พิธีกรรมการทรงเจ้าในจังหวัดกำแพงเพชร'''
 
           '''4. พิธีกรรมการทรงเจ้าในจังหวัดกำแพงเพชร'''
 
           การเข้าทรงมีอยู่ทุกภาค ทุกพื้นที่ของประเทศไทย แต่การทรงจะมีความโดดเด่นหรือเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เช่นเดียวกับในจังหวัดกำแพงเพชร พิธีกรรมการทรงเจ้า หรือการเข้าทรงนั้น ไทยรัฐออนไลน์ (2564) กล่าวว่า ร่างทรงจะมี 2 แบบ กลุ่มแรก จะเป็นกลุ่มที่ไม่สืบทอดทางสายเลือด คือ อยากจะอัญเชิญองค์ไหนมาลงก็ได้ (ส่วนมากเป็นสมัยใหม่) ส่วนอีกกลุ่ม คือ การสืบทอดทางสายเลือด (เหมือนกับในภาพยนต์เรื่องร่างทรง) กลุ่มที่มีการสืบทอดทางสายเลือด ร่างทรงไม่ได้เข้าแบบสะเปะสะปะเหมือนสมัยนี้ แต่เขาจะเลือกคนที่จะเข้า เช่น เฉพาะคนในตระกูลนี้เท่านั้น นอกจากนั้นแล้ว ศิรินยา ระวังภัย (แหม่ม) (การสัมภาษณ์, 5 ธันวาคม 2565) กล่าวว่า ไม่พบหลักฐานปรากฏว่าเกิดขึ้นเมื่อใดแต่ได้รับการถ่ายทอดจากพ่อแม่และบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งผู้ที่ให้ข้อมูลคือ นางสาวศิรินยา ระวังภัย (แหม่ม) อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 72 หมู่ 3 บ้านสามเรือน ตำบลวังไทร อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร ได้ให้ข้อมูลว่า พิธีกรรมเข้าทรงเป็นพิธีกรรมที่มีการรับสืบทอดมาจากคนรู้จัก หรือคนในครอบครัว โดยเป็นพิธีกรรมที่ใช้บุคคลที่เป็นร่างทรงเป็นผู้ประกอบพิธีกรรม ใช้เพื่อต้องการปรึกษาหารือเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่การงานเรื่องเงินเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวหรือเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองที่กำลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบัน เช่น คือการที่มีบุคคลในครอบครัวมีอาการป่วยเรื้อรังรักษาทางการแพทย์ไม่หายจึงหาที่พึ่งทางจิตใจโดยการทำพิธีกรรมเข้าทรงเพื่อหาหนทางรักษาให้หายป่วย ในปัจจุบันพิธีกรรมเข้าทรงมีการปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในหลายภูมิภาค และเป็นที่รู้จักในหลายช่วงวัย แต่สำหรับบุคคลที่ไม่เชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมเข้าทรงก็จะมองว่าเป็นเรื่องงมงาย แต่ในทางวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถที่จะหาข้อพิสูจน์ได้ว่าการประกอบพิธีกรรมเข้าทรงทำให้หายจากอาการป่วยได้จริง
 
           การเข้าทรงมีอยู่ทุกภาค ทุกพื้นที่ของประเทศไทย แต่การทรงจะมีความโดดเด่นหรือเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เช่นเดียวกับในจังหวัดกำแพงเพชร พิธีกรรมการทรงเจ้า หรือการเข้าทรงนั้น ไทยรัฐออนไลน์ (2564) กล่าวว่า ร่างทรงจะมี 2 แบบ กลุ่มแรก จะเป็นกลุ่มที่ไม่สืบทอดทางสายเลือด คือ อยากจะอัญเชิญองค์ไหนมาลงก็ได้ (ส่วนมากเป็นสมัยใหม่) ส่วนอีกกลุ่ม คือ การสืบทอดทางสายเลือด (เหมือนกับในภาพยนต์เรื่องร่างทรง) กลุ่มที่มีการสืบทอดทางสายเลือด ร่างทรงไม่ได้เข้าแบบสะเปะสะปะเหมือนสมัยนี้ แต่เขาจะเลือกคนที่จะเข้า เช่น เฉพาะคนในตระกูลนี้เท่านั้น นอกจากนั้นแล้ว ศิรินยา ระวังภัย (แหม่ม) (การสัมภาษณ์, 5 ธันวาคม 2565) กล่าวว่า ไม่พบหลักฐานปรากฏว่าเกิดขึ้นเมื่อใดแต่ได้รับการถ่ายทอดจากพ่อแม่และบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งผู้ที่ให้ข้อมูลคือ นางสาวศิรินยา ระวังภัย (แหม่ม) อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 72 หมู่ 3 บ้านสามเรือน ตำบลวังไทร อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร ได้ให้ข้อมูลว่า พิธีกรรมเข้าทรงเป็นพิธีกรรมที่มีการรับสืบทอดมาจากคนรู้จัก หรือคนในครอบครัว โดยเป็นพิธีกรรมที่ใช้บุคคลที่เป็นร่างทรงเป็นผู้ประกอบพิธีกรรม ใช้เพื่อต้องการปรึกษาหารือเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่การงานเรื่องเงินเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวหรือเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองที่กำลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบัน เช่น คือการที่มีบุคคลในครอบครัวมีอาการป่วยเรื้อรังรักษาทางการแพทย์ไม่หายจึงหาที่พึ่งทางจิตใจโดยการทำพิธีกรรมเข้าทรงเพื่อหาหนทางรักษาให้หายป่วย ในปัจจุบันพิธีกรรมเข้าทรงมีการปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในหลายภูมิภาค และเป็นที่รู้จักในหลายช่วงวัย แต่สำหรับบุคคลที่ไม่เชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมเข้าทรงก็จะมองว่าเป็นเรื่องงมงาย แต่ในทางวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถที่จะหาข้อพิสูจน์ได้ว่าการประกอบพิธีกรรมเข้าทรงทำให้หายจากอาการป่วยได้จริง
 
 
=='''ความแตกต่างของพิธีกรรมการทรงเจ้าของแต่ละภูมิภาค'''==  
 
=='''ความแตกต่างของพิธีกรรมการทรงเจ้าของแต่ละภูมิภาค'''==  
 
           '''1. พิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคอีสาน''' การเข้าทรง หมายถึง การที่สิ่งนอกเหนือธรรมชาติซึ่งได้แก่ ผีสางเทวดาหรือที่เรียกกันทั่วไปว่าเจ้าหรือเทพ ทั้งที่เป็นชายหรือหญิง เด็กและผู้ใหญ่มาสิงสู่หรือเข้าร่างของผู้ที่เรียกว่าร่างทรงเพื่อติดต่อกับมนุษย์รวมตลอดไปถึงการให้ความช่วยเหลือด้วยพิธีกรรมต่าง ๆ เป็นต้นว่ารักษาความเจ็บป่วย ทํานายทายทักดวงชะตาราศีและแม้แต่การให้โชคลาภ โดยขณะที่ทำการเข้าทรงจะแสดงอาการให้เห็น เช่น การเปลี่ยนแปลงของเสียง และกิริยาอาการซึ่งจะแตกต่างไปจากเมื่อยังไม่มีการเข้าเป็นกระบวนการที่มนุษย์ที่เป็นสื่อ หรือ ตัวกลาง ถูกใช้เป็นเครื่องมือจากสิ่งที่เรียกว่าวิญญาณต่าง ๆ เพื่อนําเสนอข่าวสาร หรือ ทำให้มองเห็นผีหรือการถ่ายทอดพลัง หรือแสดงตัวเพื่อทดสอบหรือชี้แจง ดังนั้น การเข้าทรงประกอบด้วย การกระทำร่วมกันระหว่างบุคคลในโลกนี้ (ร่างทรงหมอทรง) กับวิญญาณ (ผู้ติดต่อ) ซึ่งมีพลังเกิดขึ้นร่วมด้วย ความแตกต่างระหว่างการติดต่อผ่านร่างทรง กับวิญญาณกระทำเอง อยู่ที่การพูดที่แตกต่างกัน การเข้าทรงนั้น ร่างทรงทำให้ร่างกายให้ว่างเปล่าเป็นเวลาสั้น ๆ เพื่อให้วิญญาณเข้าใช้ร่าง ใช้กล่องเสียงในการติดต่อสื่อสาร ผ่านทางร่างทรงสู่จิตใจและพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปไม่สามารถควบคุมตัวเองได้สูญเสียความสามารถในการรับรู้และความจําบางครั้งการที่บุคคลหนึ่งถูกวิญญาณเข้าสิงเป็นร่างทรงทำให้บุคคลนั้นสามารถกำหนดหรือสร้างเอกลักษณ์ของตนเองขึ้นมาโดยการบอกเล่าถึงอาการที่ถูกวิญญาณเข้าที่ไม่เป็นเพียงการเสนอภาพของสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวบุคคลนั้นแต่ยังเป็นการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเหตุการณ์เข้ากับประสบการณ์ที่ได้รับซึ่งจะกลายเป็นพื้นฐานของการกระทำต่อไปดังนั้นการเข้าทรงจึงเป็นหนทางหนึ่งของการนําเสนอเอกลักษณ์บางลักษณะของบุคคล
 
           '''1. พิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคอีสาน''' การเข้าทรง หมายถึง การที่สิ่งนอกเหนือธรรมชาติซึ่งได้แก่ ผีสางเทวดาหรือที่เรียกกันทั่วไปว่าเจ้าหรือเทพ ทั้งที่เป็นชายหรือหญิง เด็กและผู้ใหญ่มาสิงสู่หรือเข้าร่างของผู้ที่เรียกว่าร่างทรงเพื่อติดต่อกับมนุษย์รวมตลอดไปถึงการให้ความช่วยเหลือด้วยพิธีกรรมต่าง ๆ เป็นต้นว่ารักษาความเจ็บป่วย ทํานายทายทักดวงชะตาราศีและแม้แต่การให้โชคลาภ โดยขณะที่ทำการเข้าทรงจะแสดงอาการให้เห็น เช่น การเปลี่ยนแปลงของเสียง และกิริยาอาการซึ่งจะแตกต่างไปจากเมื่อยังไม่มีการเข้าเป็นกระบวนการที่มนุษย์ที่เป็นสื่อ หรือ ตัวกลาง ถูกใช้เป็นเครื่องมือจากสิ่งที่เรียกว่าวิญญาณต่าง ๆ เพื่อนําเสนอข่าวสาร หรือ ทำให้มองเห็นผีหรือการถ่ายทอดพลัง หรือแสดงตัวเพื่อทดสอบหรือชี้แจง ดังนั้น การเข้าทรงประกอบด้วย การกระทำร่วมกันระหว่างบุคคลในโลกนี้ (ร่างทรงหมอทรง) กับวิญญาณ (ผู้ติดต่อ) ซึ่งมีพลังเกิดขึ้นร่วมด้วย ความแตกต่างระหว่างการติดต่อผ่านร่างทรง กับวิญญาณกระทำเอง อยู่ที่การพูดที่แตกต่างกัน การเข้าทรงนั้น ร่างทรงทำให้ร่างกายให้ว่างเปล่าเป็นเวลาสั้น ๆ เพื่อให้วิญญาณเข้าใช้ร่าง ใช้กล่องเสียงในการติดต่อสื่อสาร ผ่านทางร่างทรงสู่จิตใจและพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปไม่สามารถควบคุมตัวเองได้สูญเสียความสามารถในการรับรู้และความจําบางครั้งการที่บุคคลหนึ่งถูกวิญญาณเข้าสิงเป็นร่างทรงทำให้บุคคลนั้นสามารถกำหนดหรือสร้างเอกลักษณ์ของตนเองขึ้นมาโดยการบอกเล่าถึงอาการที่ถูกวิญญาณเข้าที่ไม่เป็นเพียงการเสนอภาพของสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวบุคคลนั้นแต่ยังเป็นการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเหตุการณ์เข้ากับประสบการณ์ที่ได้รับซึ่งจะกลายเป็นพื้นฐานของการกระทำต่อไปดังนั้นการเข้าทรงจึงเป็นหนทางหนึ่งของการนําเสนอเอกลักษณ์บางลักษณะของบุคคล

โปรดระลึกว่างานเขียนทั้งหมดใน KPPStudies อาจถูกผู้เขียนอื่นแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือนำออก หากคุณไม่ต้องการให้งานของคุณถูกแก้ไข ก็อย่าส่งเข้ามา
นอกจากนี้ คุณยังสัญญาเราว่าคุณเขียนงานด้วยตนเอง หรือคัดลอกจากสาธารณสมบัติหรือทรัพยากรเสรีที่คล้ายกัน (ดูรายละเอียดที่ KPPStudies:ลิขสิทธิ์) อย่าส่งงานมีลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาต!

ยกเลิก คำอธิบายการแก้ไข (เปิดหน้าต่างใหม่)