ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกปัดแก้วทวารวดี เมืองกำแพงเพชร"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 2: แถว 2:
 
           ลูกปัด ในความหมายทางโบราณคดี หมายถึง วัตถุต่างๆที่เจาะรู สามารถนำมาร้อยได้ เช่น ลูกปัดหิน ลูกปัดดิน ลูกปัดแก้ว ลูกปัดที่ทำมาจากกระดูก เปลือกหอย หรือ ลูกปัดที่ทำมาจากโลหะอื่นๆเช่น ทอง ดีบุก สัมฤทธิ์ เป็นต้น ลูกปัดแก้วทวารวดี จังหวัดกำแพงเพชรลูกปัดโบราณถูกใช้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากมีการขุดพบลูกปัดมากมายในแหล่งอารายธรรมเก่าแก่ทั้งหลาย ลูกโบราณที่ขุดพบนั้นทำมาจากวัสดุต่างๆลูกปัดสีต่าง ๆ นี้อายุไม่ต่ำกว่า 500 – 1,000 ปีขึ้นไปในยุคทวาราวดี ศรีวิชัย ลูกปัดจำนวนมากมายบอกเล่าถึงรสนิยม ความเชื่อ ภูมิปัญญา ศิลปะ กระบวนการผลิต เส้นทางการค้า เศรษฐกิจ อายุหรือสมัยที่ผลิตและอาจสื่อถึงนัยยะการเมืองอีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทำให้ลูกปัดเป็นมากกว่าเครื่องประดับหรือเครื่องรางของขลังตามความเชื่อของมนุษย์ ซึ่งคนโบราณได้สรรหาหินสีต่าง ๆ และหินแก้วศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ที่หายากยิ่งมาฝน กลึง เจาะ ทำเป็นลูกปัดคล้องคอและข้อมือ เพื่อป้องกันปัดเป่าภัยอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น บันดาลโชคลาภ สวมใส่เพื่อเป็นสิริมงคล เป็นเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น ยิ่งผู้ใดทำบุญเป็นเนืองนิตย์ ผู้นั้นก็จะพบแต่ความสุข ความเจริญ จากเคราะห์ร้ายก็จะกลายเป็นดี ข้าวของเงินทองไหลมาเทมา ผู้ใดมีลูกปัดอยู่ในครอบครอง ไม่ว่าสีใดก็ตามบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาของลูกปัดทวารวดี เมืองกำแพงเพชร 2) แหล่งค้นพบลูกปัดโบราณในจังหวัดกำแพงเพชร 3) วัสดุผลิตภัณฑ์ และ 4) ประเภทการใช้งาน
 
           ลูกปัด ในความหมายทางโบราณคดี หมายถึง วัตถุต่างๆที่เจาะรู สามารถนำมาร้อยได้ เช่น ลูกปัดหิน ลูกปัดดิน ลูกปัดแก้ว ลูกปัดที่ทำมาจากกระดูก เปลือกหอย หรือ ลูกปัดที่ทำมาจากโลหะอื่นๆเช่น ทอง ดีบุก สัมฤทธิ์ เป็นต้น ลูกปัดแก้วทวารวดี จังหวัดกำแพงเพชรลูกปัดโบราณถูกใช้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากมีการขุดพบลูกปัดมากมายในแหล่งอารายธรรมเก่าแก่ทั้งหลาย ลูกโบราณที่ขุดพบนั้นทำมาจากวัสดุต่างๆลูกปัดสีต่าง ๆ นี้อายุไม่ต่ำกว่า 500 – 1,000 ปีขึ้นไปในยุคทวาราวดี ศรีวิชัย ลูกปัดจำนวนมากมายบอกเล่าถึงรสนิยม ความเชื่อ ภูมิปัญญา ศิลปะ กระบวนการผลิต เส้นทางการค้า เศรษฐกิจ อายุหรือสมัยที่ผลิตและอาจสื่อถึงนัยยะการเมืองอีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทำให้ลูกปัดเป็นมากกว่าเครื่องประดับหรือเครื่องรางของขลังตามความเชื่อของมนุษย์ ซึ่งคนโบราณได้สรรหาหินสีต่าง ๆ และหินแก้วศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ที่หายากยิ่งมาฝน กลึง เจาะ ทำเป็นลูกปัดคล้องคอและข้อมือ เพื่อป้องกันปัดเป่าภัยอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น บันดาลโชคลาภ สวมใส่เพื่อเป็นสิริมงคล เป็นเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น ยิ่งผู้ใดทำบุญเป็นเนืองนิตย์ ผู้นั้นก็จะพบแต่ความสุข ความเจริญ จากเคราะห์ร้ายก็จะกลายเป็นดี ข้าวของเงินทองไหลมาเทมา ผู้ใดมีลูกปัดอยู่ในครอบครอง ไม่ว่าสีใดก็ตามบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาของลูกปัดทวารวดี เมืองกำแพงเพชร 2) แหล่งค้นพบลูกปัดโบราณในจังหวัดกำแพงเพชร 3) วัสดุผลิตภัณฑ์ และ 4) ประเภทการใช้งาน
 
'''คำสำคัญ :''' ลูกปัดเเก้ว, ลูกปัดทวารวดี
 
'''คำสำคัญ :''' ลูกปัดเเก้ว, ลูกปัดทวารวดี
 +
== ประวัติความเป็นมาของลูกปัดทวารวดี เมืองกำแพงเพชร ==
 +
          ลูกปัดเเก้ว เป็นเรื่องราวของวัตถุที่มีลักษณะเป็นเม็ด มีหลายรูปทรง เจาะรูเพื่อใช้ร้อยเข้าไปในเส้นด้ายหรือเชือก ซึ่งเป็นวัสดุที่ทนและไม่ขาดง่าย ลูกปัดเป็นสิ่งที่มนุษย์ทำขึ้นและใช้เมื่อหลายพันและหลายหมื่นปีมาแล้ว  มนุษย์ในสมัยแรกๆ  ทำลูกปัดจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ เช่น กระดูกสัตว์ เขี้ยว เปลือกหอย เมล็ดพืช เปลือกไม้ ยางไม้ ต่อมามนุษย์ทำลูกปัดจากวัสดุที่ทำขึ้นเอง เช่น ดินเผา แก้ว สำริด ทอง เป็นต้น ลูกปัดถูกใช้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากมีการขุดพบลูกปัดมากมายในแหล่งอารายธรรมเก่าแก่ทั้งหลาย ลูกโบราณที่ขุดพบนั้นทำมาจากวัสดุต่างๆ
 +
          ลูกปัดเกิดพร้อมพัฒนาการของมนุษย์ในทุกๆมุมโลก ลูกปัดจำนวนมากมายบอกเล่าถึงรสนิยม ความเชื่อ ภูมิปัญญา ศิลปะ กระบวนการผลิต เส้นทางการค้า  เศรษฐกิจ อายุหรือสมัยที่ผลิตและอาจสื่อถึงนัยยะการเมืองอีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทำให้ลูกปัดเป็นมากกว่าเครื่องประดับหรือเครื่องรางของขลังตามความเชื่อของมนุษย์ ความสำคัญของลูกปัดโบราณ รองอธิบดีกรมศิลปากร เขมชาติ เทพไชย กล่าวว่า “การค้นพบลูกปัดโบราณนั้นคนทั่วไปอาจมองว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่นี่คือหลักฐานสำคัญที่บอกเล่าเรื่องราวในอดีตได้หลายเรื่อง อาทิ เส้นทางการค้าโบราณ ที่ทำให้รู้ว่าในอดีตมีการเชื่อมโยงกัน เพราะลูกปัดมีทุกทวีป ลูกปัด เป็นเครื่องบ่งบอกถึงอารยธรรมโบราณ ลูกปัดเป็นหนึ่งในสินค้าสำคัญที่เชื่อมโยงยุคสมัย และช่วยเปิดมุมมองด้าน การสร้างสรรค์ศิลปะที่ส่งผลถึงโลกในยุคปัจจุบันให้นักโบราณคดีได้รับทราบ ลูกปัดโบราณเม็ดหนึ่งมีเรื่องราวมากมายให้ค้นหา ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การผลิต การค้า และวิถีชีวิตของผู้คนยุคโบราณ ดังนั้นเมื่อค้นพบแล้วก็ไม่ควรจะสูญหายไป ลูกปัดโบราณ วัตถุโบราณทุกชิ้น สำหรับนักโบราณคดี ในทางโบราณคดีถือว่ามีคุณค่าทุกชิ้น เพราะเปรียบเสมือนเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ เสมือนหนังสือเล่มหนึ่งที่บอกเรื่องราว เสมือนตำราการเรียนรู้เล่มโตที่ให้เราได้ศึกษาแง่มุมต่าง ๆ ดังนั้น ทุกชิ้นที่ค้นพบล้วนแล้วแต่มีคุณค่าสูงมาก ๆ จนไม่สามารถประเมินค่าออกมาเป็นตัวเงินได้
 +
          ลูกปัดโบราณจะไม่ใช่เพียงของเก่าเม็ดเล็กๆ ที่มีคุณค่าในแง่ของความเก่าเท่านั้น แต่มันมีคุณค่ามาก ลูกปัดเม็ดเล็กที่เดินทางผ่านกาลเวลามาจนถึงปัจจุบัน มีเรื่องราวมากมายแอบแฝงอยู่ ทำให้เราได้ศึกษาเรียนรู้อดีต ลูกปัดโบราณช่วยในการเชื่อมโยงภาพของการติดต่อสื่อสารกันระหว่างชุมชนในอดีตจากแหล่งที่ขุดค้นพบจากข้อมูลแวดล้อม  ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงระหว่างอดีตกับปัจจุบัน
 +
          ลูกปัดเป็นเครื่องประดับที่ได้รับความสนใจจากผู้คนทั่วโลกมาทุกยุคทุกสมัย การค้นคว้าเรื่องราวของลูกปัดนั้นเชื่อว่ามีมายาวนานนับหมื่นปี ซึ่งลูกปัดในยุคนั้นทำมาจากเมล็ดพืช กระดูกสัตว์ เปลือกหอย และหินที่มีรูอยู่แล้วตามธรรมชาติ เมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการมากขึ้น การทำลูกปัดก็ซับซ้อนขึ้น สวยงาม แปลกตาเพิ่มขึ้นเช่นการตกแต่งลวดลายลงไปบนเนื้อหินมีค่า เช่นอาเกตและคาร์เนเลียน ที่ถูกเรียกว่า เอตช์คาร์เนเลียนของอินเดีย และซีบีทของทิเบต เมื่อประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว เชื่อว่ามีการผลิตลูกปัดแก้วเพื่อทดแทนลูกปัดจากหินมีค่า เช่น อาเกตและคาร์เนเลียนที่ได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ซึ่งหินเหล่านี้เริ่มหายากและราคาแพง ทำให้ผู้คนในยุคนโบราณใช้ลูกปัดแก้วที่ถูกผลิตขึ้นมา สวมใส่แทนลูกปัดที่ทำจากหินมีค่า
 +
          ก่อนมาเป็นลูกปัดแก้วที่แท้จริงนั้น พบหลักฐานการใช้แก้วหรือการผลิตแก้ว นับว่ามีอายุการค้นพบเท่ากับประวัติศาสตร์ของมนุษย์ซึ่งมีประวัติความเป็นมาและการพัฒนาควบคู่กันไป เป็นที่เข้าใจกันว่า เมื่อประมาณ 75,000 ปี มาแล้ว มนุษย์ได้รู้จักนำแก้วธรรมชาติที่เกิดจากภูเขาไฟ ที่เรียกว่า obsidian นำมาทำเป็นหัวธนู หรืออาวุธต่างๆ ต่อมาประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว มนุษย์ได้ค้นพบวิธีการผลิตแก้วโดยบังเอิญ ได้มีบันทึกกล่าวไว้ว่าชาวฟีนิเชียนได้ขนดินประสิวมาจากอียิปต์ ขณะเตรียมอาหารอยู่บนชายหาดริมแม่น้ำบีลัส ได้นำก้อนดินประสิวมาใช้แทนก้อนหินเพื่อทำเป็นฐานเตาไฟ เมื่อถูกความร้อน ก้อนดินประสิวเกิดการลุกไหม้และหลอมละลายผสมกับทรายในบริเวณนั้น เกิดของเหลวใสไหลออกมาซึ่งก็คือ แก้ว ส่วนในอียิปต์พบลูกปัดที่มีลักษณะกึ่งเคลือบ-กึ่งแก้วอายุประมาณ 6,000 กว่าปีมาแล้ว ซึ่งสันนิษฐานว่าพัฒนามาจากการผลิตแก้วน้ำเคลือบหรือฟายองซ์ (Faience) ซึ่งมีลักษณะเหมือนแก้ว โดยนำมาเคลือบลูกปัดดินเผา แต่ฟายองซ์นั้นผลิตในอุณหภูมิที่ต่ำกว่าแก้ว และต่อมาจึงได้พัฒนาเป็นแก้วที่แท้จริง
 +
          ลูกปัดสีต่าง ๆ นี้อายุไม่ต่ำกว่า 500 – 1,000 ปีขึ้นไปในยุคทวาราวดี ศรีวิชัย ซึ่งคนโบราณได้สรรหาหินสีต่างๆ และหินแก้วศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ที่หายากยิ่งมาฝน กลึง เจาะ ทำเป็นลูกปัดคล้องคอและข้อมือ เพื่อป้องกันปัดเป่าภัยอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น บันดาลโชคลาภ สวมใส่เพื่อเป็นสิริมงคล เป็นเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น ยิ่งผู้ใดทำบุญเป็นเนืองนิตย์ ผู้นั้นก็จะพบแต่ความสุข ความเจริญ จากเคราะห์ร้ายก็จะกลายเป็นดี ข้าวของ เงินทองไหลมาเทมา ผู้ใดมีลูกปัดอยู่ในครอบครอง ไม่ว่าสีใดก็ (วิรัช สินจินา, 2556, ออนไลน์)
 +
          ฉะนั้นในการจำแนกลูกปัดจึงมีหลายรูปแบบต่างๆหลายสี และมีความหมายแตกต่างกันไปดังนี้
 +
              1. ลายนกยุง จะมีหลายสีเรียกอีกอย่างว่า สีนานาชาติจะทำการสิ่งใดจะสำเร็จผลทุกอย่าง
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 1 ลายนกยูง.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1 ลายนกยูง''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ลูกบัว เปี่ยมสิริ, 2562, ออนไลน์ </p>
 +
              2. ทวาหัวเทียน ที่หัวท้ายจะมีสีดำ ขาว น้ำตาล อยู่ยงคงกระพัน มีสติปัญญาดี
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 2 ทวาหัวเทียน.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 2 ทวาหัวเทียน''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : กาญจน์ กาญจนกิจ, 2557, ออนไลน์ </p>
 +
              3. ลูกยอน้ำทิพย์ มีหลายสี มีตารอบด้าน รู้เหตุการณ์ข้างหน้า ค้าขายดี
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 3 ลูกยอน้ำทิพย์.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 3 ลูกยอน้ำทิพย์''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ศรเงิน  กลิ่นมะลิ, 2556, ออนไลน์ </p>
 +
              4. อำพันทอง เงิน การงาน การค้า ทำให้เงินไหลมาไม่ขาดสาย
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 4 อำพันทอง.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 4 อำพันทอง''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : กรรณิกา  เรืองอารีรัชต์, 2551, ออนไลน์ </p>
 +
              5. หยกเขียว อยู่ร่มเย็นเป็นสุข สุขกายและใจ เป็นมหามงคลเพิ่มพูน
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 5 หยกเขียว.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 5 หยกเขียว''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ธีรวัจน์ พิทักษ์รณชัย, 2558, ออนไลน์ </p>
 +
              6. หยกเหลือง เมตตามหานิยม ค้าขายดี
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 6 หยกเหลือง.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 6 หยกเหลือง''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2562, ออนไลน์ </p>
 +
              7. หยกขาว สีสะอาด ทำให้ร่างกายแข็งแรงไม่เจ็บไข้ ดูไม่แก่ สดใส อายุยืน
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 7 หยกขาว.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 7 หยกขาว''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ธีรวัจน์ พิทักษ์รณชัย, 2558, ออนไลน์ </p>
 +
              8. ฟ้าแก่ ฟ้าอ่อน ฟ้าสวิง ร่ำรวยเงินทองพร้อมญาติมิตรการงานและการค้าดี
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 8 .jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 8 ฟ้าแก่ ฟ้าอ่อน ฟ้าสวิง''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : กรรณิกา เรืองอารีย์รัชต์, 2551, ออนไลน์ </p>
 +
              9. เหลืองตองอ่อน เสน่ห์แรงคนรักใคร่ คนรักซื่อตรง
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 9 เหลืองตองอ่อน.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 9 เหลืองตองอ่อน''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : กรรณิกา เรืองอารีย์รัชต์, 2551, ออนไลน์ </p>
 +
              10. น้ำเงินเนื้อกษัตริย์ สีไพรินมีอำนาจวาสนา
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 10 น้ำเงินเนื้อกษัตริย์.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 10 น้ำเงินเนื้อกษัตริย์''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : กาญจน์ กาญจนกิจ, 2553, ออนไลน์ </p>
 +
              11. ดำทึบ เสริมโชคลาภ กันภัย มนต์ดำ ผีสาง และผู้ที่คิดร้ายต่อเรา
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 11 ดำทึบ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 11 ดำทึบ''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : กฤตธัช วัฒนมะโน, 2559, ออนไลน์ </p>
 +
              12. ส้ม หรือส้มเงินแสนคือเรืองแสง ส่องสว่าง นึกคิดสิ่งใดสมความปรารถนาเป็นแสนเป็นล้าน
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 12 ส้ม หรือส้มเงินแสนคือเรือง.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 12 ส้มหรือส้มเงินแสนคือเรืองแสง''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2552, ออนไลน์ </p>
 +
              13. ส้มมันปู มีเงินทองคงกระพัน กันพิษสัตว์ร้าย
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 13 ส้มมันปู.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 13 ส้มมันปู''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2552, ออนไลน์ </p>
 +
              14. สีแดงอิฐ แคล้วคลาดอยู่ยงคงกระพันป้องกันภัยอันตรายต่างๆ
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 14 สีแดงอิฐ.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 14 สีแดงอิฐ''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : กรรณิกา เรืองอารีย์รัชต์ , 2551, ออนไลน์ </p>
 +
              15. แดง มีโชคลาภ มีอำนาจบารมี บริวารเกรง
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 15 แดง.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 15 แดง''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2559, ออนไลน์ </p>
 +
              16. ม่วง คนเมตตา มหานิยม คนรักใคร่ นำทรัพย์สินมาให้มีคนอุปถัมภ์ตลอด ช่วยเสริมบารมี
 +
[[ไฟล์:ภาพที่ 16 ม่วง.jpg|500px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 16 ม่วง''' </p>
 +
<p align = "center"> ที่มา : ดนัย พรหมพฤกษ์, 2557, ออนไลน์ </p>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:31, 19 มกราคม 2564

บทนำ

         ลูกปัด ในความหมายทางโบราณคดี หมายถึง วัตถุต่างๆที่เจาะรู สามารถนำมาร้อยได้ เช่น ลูกปัดหิน ลูกปัดดิน ลูกปัดแก้ว ลูกปัดที่ทำมาจากกระดูก เปลือกหอย หรือ ลูกปัดที่ทำมาจากโลหะอื่นๆเช่น ทอง ดีบุก สัมฤทธิ์ เป็นต้น ลูกปัดแก้วทวารวดี จังหวัดกำแพงเพชรลูกปัดโบราณถูกใช้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากมีการขุดพบลูกปัดมากมายในแหล่งอารายธรรมเก่าแก่ทั้งหลาย ลูกโบราณที่ขุดพบนั้นทำมาจากวัสดุต่างๆลูกปัดสีต่าง ๆ นี้อายุไม่ต่ำกว่า 500 – 1,000 ปีขึ้นไปในยุคทวาราวดี ศรีวิชัย ลูกปัดจำนวนมากมายบอกเล่าถึงรสนิยม ความเชื่อ ภูมิปัญญา ศิลปะ กระบวนการผลิต เส้นทางการค้า เศรษฐกิจ อายุหรือสมัยที่ผลิตและอาจสื่อถึงนัยยะการเมืองอีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทำให้ลูกปัดเป็นมากกว่าเครื่องประดับหรือเครื่องรางของขลังตามความเชื่อของมนุษย์ ซึ่งคนโบราณได้สรรหาหินสีต่าง ๆ และหินแก้วศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ที่หายากยิ่งมาฝน กลึง เจาะ ทำเป็นลูกปัดคล้องคอและข้อมือ เพื่อป้องกันปัดเป่าภัยอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น บันดาลโชคลาภ สวมใส่เพื่อเป็นสิริมงคล เป็นเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น ยิ่งผู้ใดทำบุญเป็นเนืองนิตย์ ผู้นั้นก็จะพบแต่ความสุข ความเจริญ จากเคราะห์ร้ายก็จะกลายเป็นดี ข้าวของเงินทองไหลมาเทมา ผู้ใดมีลูกปัดอยู่ในครอบครอง ไม่ว่าสีใดก็ตามบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาของลูกปัดทวารวดี เมืองกำแพงเพชร 2) แหล่งค้นพบลูกปัดโบราณในจังหวัดกำแพงเพชร 3) วัสดุผลิตภัณฑ์ และ 4) ประเภทการใช้งาน

คำสำคัญ : ลูกปัดเเก้ว, ลูกปัดทวารวดี

ประวัติความเป็นมาของลูกปัดทวารวดี เมืองกำแพงเพชร

         ลูกปัดเเก้ว เป็นเรื่องราวของวัตถุที่มีลักษณะเป็นเม็ด มีหลายรูปทรง เจาะรูเพื่อใช้ร้อยเข้าไปในเส้นด้ายหรือเชือก ซึ่งเป็นวัสดุที่ทนและไม่ขาดง่าย ลูกปัดเป็นสิ่งที่มนุษย์ทำขึ้นและใช้เมื่อหลายพันและหลายหมื่นปีมาแล้ว  มนุษย์ในสมัยแรกๆ  ทำลูกปัดจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ เช่น กระดูกสัตว์ เขี้ยว เปลือกหอย เมล็ดพืช เปลือกไม้ ยางไม้ ต่อมามนุษย์ทำลูกปัดจากวัสดุที่ทำขึ้นเอง เช่น ดินเผา แก้ว สำริด ทอง เป็นต้น ลูกปัดถูกใช้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากมีการขุดพบลูกปัดมากมายในแหล่งอารายธรรมเก่าแก่ทั้งหลาย ลูกโบราณที่ขุดพบนั้นทำมาจากวัสดุต่างๆ
         ลูกปัดเกิดพร้อมพัฒนาการของมนุษย์ในทุกๆมุมโลก ลูกปัดจำนวนมากมายบอกเล่าถึงรสนิยม ความเชื่อ ภูมิปัญญา ศิลปะ กระบวนการผลิต เส้นทางการค้า  เศรษฐกิจ อายุหรือสมัยที่ผลิตและอาจสื่อถึงนัยยะการเมืองอีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทำให้ลูกปัดเป็นมากกว่าเครื่องประดับหรือเครื่องรางของขลังตามความเชื่อของมนุษย์ ความสำคัญของลูกปัดโบราณ รองอธิบดีกรมศิลปากร เขมชาติ เทพไชย กล่าวว่า “การค้นพบลูกปัดโบราณนั้นคนทั่วไปอาจมองว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่นี่คือหลักฐานสำคัญที่บอกเล่าเรื่องราวในอดีตได้หลายเรื่อง อาทิ เส้นทางการค้าโบราณ ที่ทำให้รู้ว่าในอดีตมีการเชื่อมโยงกัน เพราะลูกปัดมีทุกทวีป ลูกปัด เป็นเครื่องบ่งบอกถึงอารยธรรมโบราณ ลูกปัดเป็นหนึ่งในสินค้าสำคัญที่เชื่อมโยงยุคสมัย และช่วยเปิดมุมมองด้าน การสร้างสรรค์ศิลปะที่ส่งผลถึงโลกในยุคปัจจุบันให้นักโบราณคดีได้รับทราบ ลูกปัดโบราณเม็ดหนึ่งมีเรื่องราวมากมายให้ค้นหา ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การผลิต การค้า และวิถีชีวิตของผู้คนยุคโบราณ ดังนั้นเมื่อค้นพบแล้วก็ไม่ควรจะสูญหายไป ลูกปัดโบราณ วัตถุโบราณทุกชิ้น สำหรับนักโบราณคดี ในทางโบราณคดีถือว่ามีคุณค่าทุกชิ้น เพราะเปรียบเสมือนเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ เสมือนหนังสือเล่มหนึ่งที่บอกเรื่องราว เสมือนตำราการเรียนรู้เล่มโตที่ให้เราได้ศึกษาแง่มุมต่าง ๆ ดังนั้น ทุกชิ้นที่ค้นพบล้วนแล้วแต่มีคุณค่าสูงมาก ๆ จนไม่สามารถประเมินค่าออกมาเป็นตัวเงินได้
         ลูกปัดโบราณจะไม่ใช่เพียงของเก่าเม็ดเล็กๆ ที่มีคุณค่าในแง่ของความเก่าเท่านั้น แต่มันมีคุณค่ามาก ลูกปัดเม็ดเล็กที่เดินทางผ่านกาลเวลามาจนถึงปัจจุบัน มีเรื่องราวมากมายแอบแฝงอยู่ ทำให้เราได้ศึกษาเรียนรู้อดีต ลูกปัดโบราณช่วยในการเชื่อมโยงภาพของการติดต่อสื่อสารกันระหว่างชุมชนในอดีตจากแหล่งที่ขุดค้นพบจากข้อมูลแวดล้อม  ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงระหว่างอดีตกับปัจจุบัน
         ลูกปัดเป็นเครื่องประดับที่ได้รับความสนใจจากผู้คนทั่วโลกมาทุกยุคทุกสมัย การค้นคว้าเรื่องราวของลูกปัดนั้นเชื่อว่ามีมายาวนานนับหมื่นปี ซึ่งลูกปัดในยุคนั้นทำมาจากเมล็ดพืช กระดูกสัตว์ เปลือกหอย และหินที่มีรูอยู่แล้วตามธรรมชาติ เมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการมากขึ้น การทำลูกปัดก็ซับซ้อนขึ้น สวยงาม แปลกตาเพิ่มขึ้นเช่นการตกแต่งลวดลายลงไปบนเนื้อหินมีค่า เช่นอาเกตและคาร์เนเลียน ที่ถูกเรียกว่า เอตช์คาร์เนเลียนของอินเดีย และซีบีทของทิเบต เมื่อประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว เชื่อว่ามีการผลิตลูกปัดแก้วเพื่อทดแทนลูกปัดจากหินมีค่า เช่น อาเกตและคาร์เนเลียนที่ได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ซึ่งหินเหล่านี้เริ่มหายากและราคาแพง ทำให้ผู้คนในยุคนโบราณใช้ลูกปัดแก้วที่ถูกผลิตขึ้นมา สวมใส่แทนลูกปัดที่ทำจากหินมีค่า
         ก่อนมาเป็นลูกปัดแก้วที่แท้จริงนั้น พบหลักฐานการใช้แก้วหรือการผลิตแก้ว นับว่ามีอายุการค้นพบเท่ากับประวัติศาสตร์ของมนุษย์ซึ่งมีประวัติความเป็นมาและการพัฒนาควบคู่กันไป เป็นที่เข้าใจกันว่า เมื่อประมาณ 75,000 ปี มาแล้ว มนุษย์ได้รู้จักนำแก้วธรรมชาติที่เกิดจากภูเขาไฟ ที่เรียกว่า obsidian นำมาทำเป็นหัวธนู หรืออาวุธต่างๆ ต่อมาประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว มนุษย์ได้ค้นพบวิธีการผลิตแก้วโดยบังเอิญ ได้มีบันทึกกล่าวไว้ว่าชาวฟีนิเชียนได้ขนดินประสิวมาจากอียิปต์ ขณะเตรียมอาหารอยู่บนชายหาดริมแม่น้ำบีลัส ได้นำก้อนดินประสิวมาใช้แทนก้อนหินเพื่อทำเป็นฐานเตาไฟ เมื่อถูกความร้อน ก้อนดินประสิวเกิดการลุกไหม้และหลอมละลายผสมกับทรายในบริเวณนั้น เกิดของเหลวใสไหลออกมาซึ่งก็คือ แก้ว ส่วนในอียิปต์พบลูกปัดที่มีลักษณะกึ่งเคลือบ-กึ่งแก้วอายุประมาณ 6,000 กว่าปีมาแล้ว ซึ่งสันนิษฐานว่าพัฒนามาจากการผลิตแก้วน้ำเคลือบหรือฟายองซ์ (Faience) ซึ่งมีลักษณะเหมือนแก้ว โดยนำมาเคลือบลูกปัดดินเผา แต่ฟายองซ์นั้นผลิตในอุณหภูมิที่ต่ำกว่าแก้ว และต่อมาจึงได้พัฒนาเป็นแก้วที่แท้จริง
         ลูกปัดสีต่าง ๆ นี้อายุไม่ต่ำกว่า 500 – 1,000 ปีขึ้นไปในยุคทวาราวดี ศรีวิชัย ซึ่งคนโบราณได้สรรหาหินสีต่างๆ และหินแก้วศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ที่หายากยิ่งมาฝน กลึง เจาะ ทำเป็นลูกปัดคล้องคอและข้อมือ เพื่อป้องกันปัดเป่าภัยอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น บันดาลโชคลาภ สวมใส่เพื่อเป็นสิริมงคล เป็นเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น ยิ่งผู้ใดทำบุญเป็นเนืองนิตย์ ผู้นั้นก็จะพบแต่ความสุข ความเจริญ จากเคราะห์ร้ายก็จะกลายเป็นดี ข้าวของ เงินทองไหลมาเทมา ผู้ใดมีลูกปัดอยู่ในครอบครอง ไม่ว่าสีใดก็ (วิรัช สินจินา, 2556, ออนไลน์)
         ฉะนั้นในการจำแนกลูกปัดจึงมีหลายรูปแบบต่างๆหลายสี และมีความหมายแตกต่างกันไปดังนี้ 
             1. ลายนกยุง จะมีหลายสีเรียกอีกอย่างว่า สีนานาชาติจะทำการสิ่งใดจะสำเร็จผลทุกอย่าง
ภาพที่ 1 ลายนกยูง.jpg

ภาพที่ 1 ลายนกยูง

ที่มา : ลูกบัว เปี่ยมสิริ, 2562, ออนไลน์

             2. ทวาหัวเทียน ที่หัวท้ายจะมีสีดำ ขาว น้ำตาล อยู่ยงคงกระพัน มีสติปัญญาดี
ภาพที่ 2 ทวาหัวเทียน.jpg

ภาพที่ 2 ทวาหัวเทียน

ที่มา : กาญจน์ กาญจนกิจ, 2557, ออนไลน์

             3. ลูกยอน้ำทิพย์ มีหลายสี มีตารอบด้าน รู้เหตุการณ์ข้างหน้า ค้าขายดี
ภาพที่ 3 ลูกยอน้ำทิพย์.jpg

ภาพที่ 3 ลูกยอน้ำทิพย์

ที่มา : ศรเงิน กลิ่นมะลิ, 2556, ออนไลน์

             4. อำพันทอง เงิน การงาน การค้า ทำให้เงินไหลมาไม่ขาดสาย
ภาพที่ 4 อำพันทอง.jpg

ภาพที่ 4 อำพันทอง

ที่มา : กรรณิกา เรืองอารีรัชต์, 2551, ออนไลน์

             5. หยกเขียว อยู่ร่มเย็นเป็นสุข สุขกายและใจ เป็นมหามงคลเพิ่มพูน
ภาพที่ 5 หยกเขียว.jpg

ภาพที่ 5 หยกเขียว

ที่มา : ธีรวัจน์ พิทักษ์รณชัย, 2558, ออนไลน์

             6. หยกเหลือง เมตตามหานิยม ค้าขายดี
ภาพที่ 6 หยกเหลือง.jpg

ภาพที่ 6 หยกเหลือง

ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2562, ออนไลน์

             7. หยกขาว สีสะอาด ทำให้ร่างกายแข็งแรงไม่เจ็บไข้ ดูไม่แก่ สดใส อายุยืน
ภาพที่ 7 หยกขาว.jpg

ภาพที่ 7 หยกขาว

ที่มา : ธีรวัจน์ พิทักษ์รณชัย, 2558, ออนไลน์

             8. ฟ้าแก่ ฟ้าอ่อน ฟ้าสวิง ร่ำรวยเงินทองพร้อมญาติมิตรการงานและการค้าดี
ภาพที่ 8 .jpg

ภาพที่ 8 ฟ้าแก่ ฟ้าอ่อน ฟ้าสวิง

ที่มา : กรรณิกา เรืองอารีย์รัชต์, 2551, ออนไลน์

             9. เหลืองตองอ่อน เสน่ห์แรงคนรักใคร่ คนรักซื่อตรง
ภาพที่ 9 เหลืองตองอ่อน.jpg

ภาพที่ 9 เหลืองตองอ่อน

ที่มา : กรรณิกา เรืองอารีย์รัชต์, 2551, ออนไลน์

             10. น้ำเงินเนื้อกษัตริย์ สีไพรินมีอำนาจวาสนา
ภาพที่ 10 น้ำเงินเนื้อกษัตริย์.jpg

ภาพที่ 10 น้ำเงินเนื้อกษัตริย์

ที่มา : กาญจน์ กาญจนกิจ, 2553, ออนไลน์

             11. ดำทึบ เสริมโชคลาภ กันภัย มนต์ดำ ผีสาง และผู้ที่คิดร้ายต่อเรา
ภาพที่ 11 ดำทึบ.jpg

ภาพที่ 11 ดำทึบ

ที่มา : กฤตธัช วัฒนมะโน, 2559, ออนไลน์

             12. ส้ม หรือส้มเงินแสนคือเรืองแสง ส่องสว่าง นึกคิดสิ่งใดสมความปรารถนาเป็นแสนเป็นล้าน
ภาพที่ 12 ส้ม หรือส้มเงินแสนคือเรือง.jpg

ภาพที่ 12 ส้มหรือส้มเงินแสนคือเรืองแสง

ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2552, ออนไลน์

             13. ส้มมันปู มีเงินทองคงกระพัน กันพิษสัตว์ร้าย
ภาพที่ 13 ส้มมันปู.jpg

ภาพที่ 13 ส้มมันปู

ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2552, ออนไลน์

             14. สีแดงอิฐ แคล้วคลาดอยู่ยงคงกระพันป้องกันภัยอันตรายต่างๆ
ภาพที่ 14 สีแดงอิฐ.jpg

ภาพที่ 14 สีแดงอิฐ

ที่มา : กรรณิกา เรืองอารีย์รัชต์ , 2551, ออนไลน์

             15. แดง มีโชคลาภ มีอำนาจบารมี บริวารเกรง
ภาพที่ 15 แดง.jpg

ภาพที่ 15 แดง

ที่มา : ดวงจันทร์ ลาดี, 2559, ออนไลน์

             16. ม่วง คนเมตตา มหานิยม คนรักใคร่ นำทรัพย์สินมาให้มีคนอุปถัมภ์ตลอด ช่วยเสริมบารมี
ภาพที่ 16 ม่วง.jpg

ภาพที่ 16 ม่วง

ที่มา : ดนัย พรหมพฤกษ์, 2557, ออนไลน์