ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำหมักกล้วย"
ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าด้วย "=='''ข้อมูลทั่วไป'''== ไฟล์:ภาพที่ 11 น้ำหมักกล้วยน้ำว้า.jpg|600px|thum...") |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (→ข้อมูลทั่วไป) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
=='''ข้อมูลทั่วไป'''== | =='''ข้อมูลทั่วไป'''== | ||
− | [[ไฟล์:ภาพที่ 11 น้ำหมักกล้วยน้ำว้า.jpg| | + | [[ไฟล์:ภาพที่ 11 น้ำหมักกล้วยน้ำว้า.jpg|700px|thumb|center]] |
<p align = "center"> '''น้ำหมักกล้วยน้ำว้า''' </p> | <p align = "center"> '''น้ำหมักกล้วยน้ำว้า''' </p> | ||
===ชื่ออาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม=== | ===ชื่ออาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม=== | ||
แถว 12: | แถว 12: | ||
===ผู้คิดค้น=== | ===ผู้คิดค้น=== | ||
- | - | ||
+ | |||
=='''ข้อมูลจำเพาะ'''== | =='''ข้อมูลจำเพาะ'''== | ||
===ประวัติความเป็นมา=== | ===ประวัติความเป็นมา=== |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:33, 3 มีนาคม 2564
ข้อมูลทั่วไป
น้ำหมักกล้วยน้ำว้า
ชื่ออาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม
น้ำหมักกล้วย
ชื่อเรียกอื่น ๆ
ตะคุยจอ
แหล่ง/ถิ่นอาหาร
บ้านเพชรนิยม หมู่ที่ 2 ตำบลสักงาม อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ประเภทอาหาร/ขนม/เครื่องดื่ม
เครื่องดื่ม
ผู้คิดค้น
-
ข้อมูลจำเพาะ
ประวัติความเป็นมา
-
สรรพคุณ
ช่วยในการเจริญอาหาร
ข้อมูลการประกอบอาหาร
เครื่องปรุง
กล้วยน้ำว้าสุก ปูนขาวหรือปูนแดง ภาชนะบรรจุที่มิดชิด
ขั้นตอนการปรุง
นำผลกล้วยน้ำว้าสุกมาปลอกเปลือก ล้างให้สะอาด และจัดทำน้ำปูนใสที่ได้เทแช่กล้วยน้ำว้าที่เตรียมเอาไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง แล้วค่อยนำกล้วยมาใส่ในภาชนะที่ปิดสนิท ทิ้งเอาไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ กล้วยจะมีน้ำหวานหรือน้ำเชื่อมไหลออกมา รสชาติจะหวาน หอมกลิ่นกล้วยน้ำว้า ถ้าหวานจัดสามารถนำน้ำเปล่าสะอาดผสมลงไปในภาชนะหมักได้นิดหน่อย ถ้าหมักทิ้งไว้นาน รสชาติจะยิ่งหวาน แต่จะมีกลิ่นฉุนคล้ายๆ เหล้า
การเสิร์ฟ/การรับประทาน
เสิร์ฟเป็นแก้ว
ข้อมูลการสำรวจ
วันเดือนปีที่สำรวจ
5 พฤษภาคม 2561
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
-
ผู้สำรวจข้อมูล
อาจารย์ ดร.ประจักษ์ กึกก้อง
คำสำคัญ
กล้วยน้ำว้า