ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงกล่อมเด็กนครไตรตรึงษ์"
ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (→ประวัติความเป็นมาของเพลงกล่อมเด็ก) |
||
แถว 4: | แถว 4: | ||
=='''ประวัติความเป็นมาของเพลงกล่อมเด็'''ก== | =='''ประวัติความเป็นมาของเพลงกล่อมเด็'''ก== | ||
เรื่องราวเฉพาะเกี่ยวกับเพลงกล่อมเด็กของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า มีมาดั้งเดิมแต่ครั้งอดีตโดยผูกพันกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนมาช้านาน โดยเพลงที่ร้องกล่อมนั้นสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการเลี้ยงลูกของคนไทยในแถบภาคกลางสะท้อนความเป็นอยู่ ความเชื่อ วิธีคิดตลอดจนโลกทัศน์ของชาวบ้านไตรตรึงษ์ ได้เป็นอย่างดี บทเพลงกล่อมเด็กเป็นเพลงที่ใช้คำง่าย ๆ ไพเราะ ใช้ภาษาในท้องถิ่นที่ตนอาศัยอยู่ มีเนื้อหาแสดงความรักและความผูกพันของแม่กับลูก สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ทางวัฒนธรรมการเลี้ยงลูกของคนไทยที่ให้เด็กนอนเปลสาย โดยแม่หรือคนในครอบครัวขับร้องเพลงกล่อมมีทั้งขู่ ทั้งปลอบ และร้องเล่านิทาน เพื่อให้เด็กเพลิดเพลินนอนหลับได้เร็วขึ้น บทเพลงที่ร้องนั้นช่วยกระตุ้นพัฒนาการและช่วยอบรมกล่อมเกลาเด็กมาแต่เยาว์วัย และสามารถช่วยให้เกิดความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก ได้เป็นอย่างดี อีกประการหนึ่งจะเห็นว่าในการดำเนินชีวิตประจำวันหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมไทยตั้งแต่เกิดจนตายมักจะเกี่ยวข้องกับบทร้องที่เป็นกาพย์กลอนอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเพลงกล่อมเด็ก เพลงการละเล่นของเด็ก เพลงทำขวัญนาค และเพลงกล่อมหอ เป็นต้น (สุวรรณี ทองรอด, 2551, หน้า 5) แสดงให้เห็นว่า เป็นประวัติที่มีมาแต่เนิ่นนานสืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่นจึงไม่สามารถระบุได้ว่าใครเป็นคนแต่งขึ้น ฉะนั้นผู้เขียนจึงค้นคว้าข้อมูลที่มีจากตำบลไตรตรึงษ์ แล้วได้รู้ว่ามีเพลงกล่อมเด็กมากถึง 28 เพลง แล้วแต่ละเพลงมีความแตกต่างกัน โดยแต่ละเพลงมีทั้งการขู่ให้กลัวการเพลินเพลินแล้วแต่สถานการณ์ เพื่อสอนให้รู้ถึงความหมายของเพลง | เรื่องราวเฉพาะเกี่ยวกับเพลงกล่อมเด็กของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า มีมาดั้งเดิมแต่ครั้งอดีตโดยผูกพันกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนมาช้านาน โดยเพลงที่ร้องกล่อมนั้นสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการเลี้ยงลูกของคนไทยในแถบภาคกลางสะท้อนความเป็นอยู่ ความเชื่อ วิธีคิดตลอดจนโลกทัศน์ของชาวบ้านไตรตรึงษ์ ได้เป็นอย่างดี บทเพลงกล่อมเด็กเป็นเพลงที่ใช้คำง่าย ๆ ไพเราะ ใช้ภาษาในท้องถิ่นที่ตนอาศัยอยู่ มีเนื้อหาแสดงความรักและความผูกพันของแม่กับลูก สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ทางวัฒนธรรมการเลี้ยงลูกของคนไทยที่ให้เด็กนอนเปลสาย โดยแม่หรือคนในครอบครัวขับร้องเพลงกล่อมมีทั้งขู่ ทั้งปลอบ และร้องเล่านิทาน เพื่อให้เด็กเพลิดเพลินนอนหลับได้เร็วขึ้น บทเพลงที่ร้องนั้นช่วยกระตุ้นพัฒนาการและช่วยอบรมกล่อมเกลาเด็กมาแต่เยาว์วัย และสามารถช่วยให้เกิดความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก ได้เป็นอย่างดี อีกประการหนึ่งจะเห็นว่าในการดำเนินชีวิตประจำวันหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมไทยตั้งแต่เกิดจนตายมักจะเกี่ยวข้องกับบทร้องที่เป็นกาพย์กลอนอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเพลงกล่อมเด็ก เพลงการละเล่นของเด็ก เพลงทำขวัญนาค และเพลงกล่อมหอ เป็นต้น (สุวรรณี ทองรอด, 2551, หน้า 5) แสดงให้เห็นว่า เป็นประวัติที่มีมาแต่เนิ่นนานสืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่นจึงไม่สามารถระบุได้ว่าใครเป็นคนแต่งขึ้น ฉะนั้นผู้เขียนจึงค้นคว้าข้อมูลที่มีจากตำบลไตรตรึงษ์ แล้วได้รู้ว่ามีเพลงกล่อมเด็กมากถึง 28 เพลง แล้วแต่ละเพลงมีความแตกต่างกัน โดยแต่ละเพลงมีทั้งการขู่ให้กลัวการเพลินเพลินแล้วแต่สถานการณ์ เพื่อสอนให้รู้ถึงความหมายของเพลง | ||
− | ในด้านเพลงกล่อมเด็กที่ปรากฏในภาคกลางนั้น ถือว่าเป็นที่รู้จักแพร่หลาย และมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานมากกว่าภาคอื่น ๆ นับว่าสะดวกและเป็นประโยชน์แก่การศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างยิ่ง สำหรับในพื้นที่ภาคกลางนั้น จะเห็นได้ว่าวิถีชีวิตของผู้คนมีความเกี่ยวข้องและผูกพันกับ เพลงกล่อมเด็กมาช้านานจากหลักฐานที่ปรากฏพบว่าในพื้นที่ตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร | + | ในด้านเพลงกล่อมเด็กที่ปรากฏในภาคกลางนั้น ถือว่าเป็นที่รู้จักแพร่หลาย และมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานมากกว่าภาคอื่น ๆ นับว่าสะดวกและเป็นประโยชน์แก่การศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างยิ่ง สำหรับในพื้นที่ภาคกลางนั้น จะเห็นได้ว่าวิถีชีวิตของผู้คนมีความเกี่ยวข้องและผูกพันกับ เพลงกล่อมเด็กมาช้านานจากหลักฐานที่ปรากฏพบว่าในพื้นที่ตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร เป็นชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมริมแม่น้ำปิงที่มีวิถีชีวิตบทเพลงต่าง ๆ การละเล่นพื้นบ้านความเชื่อวัฒนธรรม ประเพณีที่สืบทอดมายาวนาน รวมไปถึงบทเพลงกล่อมเด็กที่เคยมีผู้ศึกษาและเก็บข้อมูล ไปแล้วจำนวนหนึ่งตั้งแต่ปี พ.ศ.2524 (พูนพงษ์ งามเกษม, ม.ป.ป. อ้างถึงใน สุวรรณี ทองรอด, 2551 หน้า 2) หากแต่สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์และการไหล่บ่าของข้อมูลสารสนเทศยุคปัจจุบัน ทำให้เพลงกล่อมเด็กดั้งเดิมซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นค่อย ๆ เลื่อนหายไปจากสังคมไทย จากงานวิจัยเรื่อง “ความเชื่อและค่านิยมในการอบรมเลี้ยงดูเด็กไทยพื้นที่ 4 ภาค ของประเทศไทย” พบว่าเพลงกล่อมเด็กได้หายไปจากกระบวนการเลี้ยงดูเด็กไทย โดยอาจพบหลงเหลือบ้างในบางภูมิภาคแต่เนื้อร้องก็ผิดเพี้ยนไปมาก ส่วนในกรุงเทพมหานครแทบจะไม่พบ การกล่อมเด็กด้วยเพลงดั้งเดิมเลย จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอาจกล่าวได้ว่า แนวโน้มของผู้ที่ร้องเพลงกล่อมเด็ก หรือใช้เพลงกล่อมเด็กเป็นเครื่องมือในการเลี้ยงดูบุตรมีอัตราลดลงกว่าในสมัยก่อนมาก ทั้งนี้อาจมาจากปัจจัยภายนอก เช่น พ่อแม่ไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตรคนรุ่นปัจจุบันไม่คุ้นเคยกับเนื้อร้องเพลิงกล่อมเด็กแบบดั้งเดิม ตลอดจนความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นต้น จึงทำให้น่าวิตกว่าหากไม่มีการสืบทอดเพลงกล่อมเด็กไปสู่คนรุ่นหนุ่มสาวในปัจจุบัน แล้วคนในรุ่นลูกหลานต่อไปอาจไม่รู้จักเพลงกล่อมเด็กแบบดั้งเดิมเลยก็เป็นได้ และอาจส่งผลกระทบต่อระบบความคิด ความเชื่อ และโลกทัศน์ของคนในชุมชนท้องถิ่น (สุวรรณี ทองรอด, 2551, หน้า 2) ผู้เขียนได้เลือกเพลงกล่อมเด็กของตำบลไตรตรึงษ์มา เพราะเป็นเพลงที่เข้าใจง่ายฟังสบายเพลิดเพลิน มีท่วงทำนองไพเราะและที่สำคัญเหมาะกับการกล่อมเด็ก ที่ผมเลือกทำงานวิจัยนี้เพราะอยากรักษาวัฒนธรรมของเพลงกล่อมเด็กเอาไว้ ด้วยเนื้อหาเพลงกล่อมเด็กมีให้ฟังทั่วประเทศไทย |
− | การศึกษาเพลงกล่อมเด็กของตําบลไตรตรึงษ์ จากการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ.2551 พบว่า มีเพลงกล่อมเด็กจํานวนทั้งสิ้น 28 เพลง ผลการศึกษาวิเคราะห์พบว่า เพลงกล่อมเด็กที่ปรากฏนั้นไม่มีรูปแบบคําประพันธ์ตายตัว มีสัมผัสคล้องจองมากบ้างน้อยบ้าง ส่วนใหญ่มีลักษณะคล้ายกับกลอนทั่วไป | + | การศึกษาเพลงกล่อมเด็กของตําบลไตรตรึงษ์ จากการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ.2551 พบว่า มีเพลงกล่อมเด็กจํานวนทั้งสิ้น 28 เพลง ผลการศึกษาวิเคราะห์พบว่า เพลงกล่อมเด็กที่ปรากฏนั้นไม่มีรูปแบบคําประพันธ์ตายตัว มีสัมผัสคล้องจองมากบ้างน้อยบ้าง ส่วนใหญ่มีลักษณะคล้ายกับกลอนทั่วไป มีสัมผัสระหว่างวรรค ใช้ถ้อยคําเรียบง่าย ไม่มีทํานอง ตายตัว ในส่วนความยาวของเพลงแต่ละเพลงมีไม่เท่ากัน กําหนดแน่นอนไม่ได้ ผู้ร้องอาจขยายออกไป ได้เรื่อยๆ หรือตัดให้สั้นเข้าก็ได้ โดยมีคําเห่กล่อมแทรกเป็นระยะ เช่น เอย เอ๊ย เอเอ้ โอละเห่ เป็นต้น (สุวรรณี ทองรอด, 2551, ออนไลน์) ทั้งนี้เพลงกล่อมเด็กไตรตรึงษ์นั้น มีทำนองที่ไพเราะ ไม่มีรูปแบบคำประพันธ์ตายตัว ใช้ถ้อยคำที่เรียบง่าย มีสัมผัสคล้องจอง เหมาะสมกับเด็ก เพื่อทำให้นอนหลับ สมกับเป็นเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กนั้นทำให้ได้รู้ถึงของบทเพลงที่มีมาแต่เนิ่นนาน ทำให้เหมาะสมแก่การรักษาต่อไป |
การศึกษาประวัติความเป็นมาของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร พบว่าเมืองไตรตรึงษ์เป็นท้องถิ่นที่ตั้งของเมืองโบราณที่มีอยู่จริงและเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยทวารวดี คือ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 และมีร่องรอยของความเจริญทั้งในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา จวบจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการปรากฏหลักฐานจากโบราณสถานอย่างชัดเจน เช่น เจดีย์วัดพระธาตุ เจดีย์วัดเจ็ดยอด ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้เสด็จประพาสเมื่อ พ.ศ.2449 และมีพระราชวินิจฉัยถึงประวัติความเป็นมาและลักษณะของศิลปกรรมไว้ในจดหมายเหตุเสด็จประพาสต้นครั้งที่ 2 ในครั้งนั้น (สันติ อภัยราช, 2551, หน้า 26) ไตรตรึงษ์นั้นเป็นเมืองเก่า เป็นที่ตั้งถิ่นฐานสำคัญของเมืองโบราณ จึงได้รู้ประวัติอย่างเห็นได้ชัด มีทั้งร่องรอยการค้นพบต่าง ๆ เพราะฉะนั้นผู้เขียนจึงได้รวบรวมและศึกษาข้อมูลของเพลงกล่อมเด็กตำบลไตรตรึงษ์นี้ ว่ามีเรื่องราวของเพลงกล่อมเด็กที่สำคัญต่อตัวผู้เขียนและคนอื่น | การศึกษาประวัติความเป็นมาของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร พบว่าเมืองไตรตรึงษ์เป็นท้องถิ่นที่ตั้งของเมืองโบราณที่มีอยู่จริงและเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยทวารวดี คือ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 และมีร่องรอยของความเจริญทั้งในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา จวบจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการปรากฏหลักฐานจากโบราณสถานอย่างชัดเจน เช่น เจดีย์วัดพระธาตุ เจดีย์วัดเจ็ดยอด ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้เสด็จประพาสเมื่อ พ.ศ.2449 และมีพระราชวินิจฉัยถึงประวัติความเป็นมาและลักษณะของศิลปกรรมไว้ในจดหมายเหตุเสด็จประพาสต้นครั้งที่ 2 ในครั้งนั้น (สันติ อภัยราช, 2551, หน้า 26) ไตรตรึงษ์นั้นเป็นเมืองเก่า เป็นที่ตั้งถิ่นฐานสำคัญของเมืองโบราณ จึงได้รู้ประวัติอย่างเห็นได้ชัด มีทั้งร่องรอยการค้นพบต่าง ๆ เพราะฉะนั้นผู้เขียนจึงได้รวบรวมและศึกษาข้อมูลของเพลงกล่อมเด็กตำบลไตรตรึงษ์นี้ ว่ามีเรื่องราวของเพลงกล่อมเด็กที่สำคัญต่อตัวผู้เขียนและคนอื่น | ||
+ | |||
=='''ฉันทลักษณ์และเพลงกล่อมเด็กไตรตรึงษ์'''== | =='''ฉันทลักษณ์และเพลงกล่อมเด็กไตรตรึงษ์'''== | ||
สุวรรณี ทองรอด (2551) เพลงบทเพลงกล่อมเด็กทั้ง 28 เพลง | สุวรรณี ทองรอด (2551) เพลงบทเพลงกล่อมเด็กทั้ง 28 เพลง |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:38, 2 กุมภาพันธ์ 2565
บทนำ
เพลงกล่อมเด็ก เป็นบทเพลงที่จัดอยู่ในเพลงพื้นบ้านโดยมีจุดประสงค์ใช้ร้องกล่อมเด็ก หรือปลอบเด็ก เพื่อให้เด็กนอนหลับ การร้องเพลงกล่อมเด็กมักสืบทอดกันด้วยวิธีการจดจำจากรุ่นสู่รุ่น เป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรมมขุปาฐะ โดยใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดที่สำคัญส่วนเนื้อหาและท่วงทำนองจะแตกต่างกัน ตามลักษณะท้องถิ่นนั่น ๆ เช่น เพลงกล่อมเด็กในภาคเหนือเรียก “เพลงอื่อลูก” ภาคอีสานเรียก “เพลงนอนสาหล่า” “เพลงนอนสาเดอ” ภาคกลางเรียก “เพลงกล่อมเด็ก” “เพลงกล่อมลูก” ภาคใต้ เรียก “เพลงชาน้อง” “เพลงร้องเรือ” เป็นต้น ซึ่งไม่ว่าท้องถิ่นใดล้วนมีลักษณะเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีบทบาทและหน้าที่แสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน บทความมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมา 2) ฉันทลักษณ์เพลงกล่อมเด็ก 3) วิเคราะห์เพลงกล่อมเด็กตำบลไตรตรึงษ์ และ 4) การอนุรักษ์และรักษาเพลงกล่อมเด็ก
คำสำคัญ: เพลงกล่อมเด็ก, ตำบลไตรตรึงษ์, เพลงกล่อมเด็กไตรตรึงษ์
ประวัติความเป็นมาของเพลงกล่อมเด็ก
เรื่องราวเฉพาะเกี่ยวกับเพลงกล่อมเด็กของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า มีมาดั้งเดิมแต่ครั้งอดีตโดยผูกพันกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนมาช้านาน โดยเพลงที่ร้องกล่อมนั้นสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการเลี้ยงลูกของคนไทยในแถบภาคกลางสะท้อนความเป็นอยู่ ความเชื่อ วิธีคิดตลอดจนโลกทัศน์ของชาวบ้านไตรตรึงษ์ ได้เป็นอย่างดี บทเพลงกล่อมเด็กเป็นเพลงที่ใช้คำง่าย ๆ ไพเราะ ใช้ภาษาในท้องถิ่นที่ตนอาศัยอยู่ มีเนื้อหาแสดงความรักและความผูกพันของแม่กับลูก สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ทางวัฒนธรรมการเลี้ยงลูกของคนไทยที่ให้เด็กนอนเปลสาย โดยแม่หรือคนในครอบครัวขับร้องเพลงกล่อมมีทั้งขู่ ทั้งปลอบ และร้องเล่านิทาน เพื่อให้เด็กเพลิดเพลินนอนหลับได้เร็วขึ้น บทเพลงที่ร้องนั้นช่วยกระตุ้นพัฒนาการและช่วยอบรมกล่อมเกลาเด็กมาแต่เยาว์วัย และสามารถช่วยให้เกิดความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก ได้เป็นอย่างดี อีกประการหนึ่งจะเห็นว่าในการดำเนินชีวิตประจำวันหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมไทยตั้งแต่เกิดจนตายมักจะเกี่ยวข้องกับบทร้องที่เป็นกาพย์กลอนอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเพลงกล่อมเด็ก เพลงการละเล่นของเด็ก เพลงทำขวัญนาค และเพลงกล่อมหอ เป็นต้น (สุวรรณี ทองรอด, 2551, หน้า 5) แสดงให้เห็นว่า เป็นประวัติที่มีมาแต่เนิ่นนานสืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่นจึงไม่สามารถระบุได้ว่าใครเป็นคนแต่งขึ้น ฉะนั้นผู้เขียนจึงค้นคว้าข้อมูลที่มีจากตำบลไตรตรึงษ์ แล้วได้รู้ว่ามีเพลงกล่อมเด็กมากถึง 28 เพลง แล้วแต่ละเพลงมีความแตกต่างกัน โดยแต่ละเพลงมีทั้งการขู่ให้กลัวการเพลินเพลินแล้วแต่สถานการณ์ เพื่อสอนให้รู้ถึงความหมายของเพลง ในด้านเพลงกล่อมเด็กที่ปรากฏในภาคกลางนั้น ถือว่าเป็นที่รู้จักแพร่หลาย และมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานมากกว่าภาคอื่น ๆ นับว่าสะดวกและเป็นประโยชน์แก่การศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างยิ่ง สำหรับในพื้นที่ภาคกลางนั้น จะเห็นได้ว่าวิถีชีวิตของผู้คนมีความเกี่ยวข้องและผูกพันกับ เพลงกล่อมเด็กมาช้านานจากหลักฐานที่ปรากฏพบว่าในพื้นที่ตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร เป็นชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมริมแม่น้ำปิงที่มีวิถีชีวิตบทเพลงต่าง ๆ การละเล่นพื้นบ้านความเชื่อวัฒนธรรม ประเพณีที่สืบทอดมายาวนาน รวมไปถึงบทเพลงกล่อมเด็กที่เคยมีผู้ศึกษาและเก็บข้อมูล ไปแล้วจำนวนหนึ่งตั้งแต่ปี พ.ศ.2524 (พูนพงษ์ งามเกษม, ม.ป.ป. อ้างถึงใน สุวรรณี ทองรอด, 2551 หน้า 2) หากแต่สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์และการไหล่บ่าของข้อมูลสารสนเทศยุคปัจจุบัน ทำให้เพลงกล่อมเด็กดั้งเดิมซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นค่อย ๆ เลื่อนหายไปจากสังคมไทย จากงานวิจัยเรื่อง “ความเชื่อและค่านิยมในการอบรมเลี้ยงดูเด็กไทยพื้นที่ 4 ภาค ของประเทศไทย” พบว่าเพลงกล่อมเด็กได้หายไปจากกระบวนการเลี้ยงดูเด็กไทย โดยอาจพบหลงเหลือบ้างในบางภูมิภาคแต่เนื้อร้องก็ผิดเพี้ยนไปมาก ส่วนในกรุงเทพมหานครแทบจะไม่พบ การกล่อมเด็กด้วยเพลงดั้งเดิมเลย จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอาจกล่าวได้ว่า แนวโน้มของผู้ที่ร้องเพลงกล่อมเด็ก หรือใช้เพลงกล่อมเด็กเป็นเครื่องมือในการเลี้ยงดูบุตรมีอัตราลดลงกว่าในสมัยก่อนมาก ทั้งนี้อาจมาจากปัจจัยภายนอก เช่น พ่อแม่ไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตรคนรุ่นปัจจุบันไม่คุ้นเคยกับเนื้อร้องเพลิงกล่อมเด็กแบบดั้งเดิม ตลอดจนความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นต้น จึงทำให้น่าวิตกว่าหากไม่มีการสืบทอดเพลงกล่อมเด็กไปสู่คนรุ่นหนุ่มสาวในปัจจุบัน แล้วคนในรุ่นลูกหลานต่อไปอาจไม่รู้จักเพลงกล่อมเด็กแบบดั้งเดิมเลยก็เป็นได้ และอาจส่งผลกระทบต่อระบบความคิด ความเชื่อ และโลกทัศน์ของคนในชุมชนท้องถิ่น (สุวรรณี ทองรอด, 2551, หน้า 2) ผู้เขียนได้เลือกเพลงกล่อมเด็กของตำบลไตรตรึงษ์มา เพราะเป็นเพลงที่เข้าใจง่ายฟังสบายเพลิดเพลิน มีท่วงทำนองไพเราะและที่สำคัญเหมาะกับการกล่อมเด็ก ที่ผมเลือกทำงานวิจัยนี้เพราะอยากรักษาวัฒนธรรมของเพลงกล่อมเด็กเอาไว้ ด้วยเนื้อหาเพลงกล่อมเด็กมีให้ฟังทั่วประเทศไทย การศึกษาเพลงกล่อมเด็กของตําบลไตรตรึงษ์ จากการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ.2551 พบว่า มีเพลงกล่อมเด็กจํานวนทั้งสิ้น 28 เพลง ผลการศึกษาวิเคราะห์พบว่า เพลงกล่อมเด็กที่ปรากฏนั้นไม่มีรูปแบบคําประพันธ์ตายตัว มีสัมผัสคล้องจองมากบ้างน้อยบ้าง ส่วนใหญ่มีลักษณะคล้ายกับกลอนทั่วไป มีสัมผัสระหว่างวรรค ใช้ถ้อยคําเรียบง่าย ไม่มีทํานอง ตายตัว ในส่วนความยาวของเพลงแต่ละเพลงมีไม่เท่ากัน กําหนดแน่นอนไม่ได้ ผู้ร้องอาจขยายออกไป ได้เรื่อยๆ หรือตัดให้สั้นเข้าก็ได้ โดยมีคําเห่กล่อมแทรกเป็นระยะ เช่น เอย เอ๊ย เอเอ้ โอละเห่ เป็นต้น (สุวรรณี ทองรอด, 2551, ออนไลน์) ทั้งนี้เพลงกล่อมเด็กไตรตรึงษ์นั้น มีทำนองที่ไพเราะ ไม่มีรูปแบบคำประพันธ์ตายตัว ใช้ถ้อยคำที่เรียบง่าย มีสัมผัสคล้องจอง เหมาะสมกับเด็ก เพื่อทำให้นอนหลับ สมกับเป็นเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กนั้นทำให้ได้รู้ถึงของบทเพลงที่มีมาแต่เนิ่นนาน ทำให้เหมาะสมแก่การรักษาต่อไป การศึกษาประวัติความเป็นมาของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร พบว่าเมืองไตรตรึงษ์เป็นท้องถิ่นที่ตั้งของเมืองโบราณที่มีอยู่จริงและเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยทวารวดี คือ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 และมีร่องรอยของความเจริญทั้งในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา จวบจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการปรากฏหลักฐานจากโบราณสถานอย่างชัดเจน เช่น เจดีย์วัดพระธาตุ เจดีย์วัดเจ็ดยอด ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้เสด็จประพาสเมื่อ พ.ศ.2449 และมีพระราชวินิจฉัยถึงประวัติความเป็นมาและลักษณะของศิลปกรรมไว้ในจดหมายเหตุเสด็จประพาสต้นครั้งที่ 2 ในครั้งนั้น (สันติ อภัยราช, 2551, หน้า 26) ไตรตรึงษ์นั้นเป็นเมืองเก่า เป็นที่ตั้งถิ่นฐานสำคัญของเมืองโบราณ จึงได้รู้ประวัติอย่างเห็นได้ชัด มีทั้งร่องรอยการค้นพบต่าง ๆ เพราะฉะนั้นผู้เขียนจึงได้รวบรวมและศึกษาข้อมูลของเพลงกล่อมเด็กตำบลไตรตรึงษ์นี้ ว่ามีเรื่องราวของเพลงกล่อมเด็กที่สำคัญต่อตัวผู้เขียนและคนอื่น
ฉันทลักษณ์และเพลงกล่อมเด็กไตรตรึงษ์
สุวรรณี ทองรอด (2551) เพลงบทเพลงกล่อมเด็กทั้ง 28 เพลง 1. เพลงลิ้นทอง
เอ.. เฮ.. เฮย แม่จะกล่าวถึงเรื่องราวลิ้น ทองเอย |
ชายมีเมียสอง รักเมียเอย ไม่เท่ากัน |
เมียหลวงจะตีด้วยท่อนอ้อย.. เอย |
เมียน้อยจะตีด้วยท่อนจันทร์.. เอย |
รักเมียไม่เท่ากัน .. เอย |
บาปนั้น เอย.. มาถึงตัว |