ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร่างทรง เข้าทรง ความหวัง ความเชื่อและความศรัทธา"

จาก KPPStudies
ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(บทนำ)
แถว 9: แถว 9:
 
=='''ความเชื่อเรื่องพิธีกรรมการเข้าทรงของคนไทย'''==  
 
=='''ความเชื่อเรื่องพิธีกรรมการเข้าทรงของคนไทย'''==  
 
           พระครูโสภิตสิริธรรม (สิริธโร ทาอ่อน), บุญส่ง สินธุ์นอก และ สมเดช นามเกตุ (2564) กล่าวว่า ความเชื่อเรื่องพิธีกรรมการเข้าทรงของคนไทยทุกภูมิภาคมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความเชื่อและพิธีกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีการถ่ายทอดซึ่งความเชื่อนั้นเป็นเรื่องนามธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนและระหว่างกลุ่มชนกับสภาพแวดล้อมแม้ว่าบุคคลแต่ละบุคคลจะมีความเชื่อเป็นของตนเองแต่ระบบความเชื่อของบุคคลก็เป็นพื้นฐานในการรองรับการอยู่ร่วมกันของกลุ่มเพราะบุคคลที่อยู่ในกลุ่มชนเดียวกันจะผ่านสถาบันแห่งการเรียนรู้ทางสังคมมาคล้ายคลึงกันและสื่อที่จะให้การเรียนรู้ทางสังคมก็จะนำจริยธรรมของศาสนาในสังคมนั้นๆ มาให้การกล่อมเกลาสมาชิกของกลุ่มชนเพื่อให้มีความเชื่อที่คล้ายคลึงกันในทางวัฒนธรรมสำหรับในส่วนของพิธีกรรมนั้นเป็นสัญลักษณ์ที่ตอกย้ำคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แสดงออกโดยการกระทำและถ้อยคำซึ่งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของขนบธรรมเนียมประเพณีของกลุ่มชนพิธีกรรมเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ความคิดเห็นความรู้สึกของสมาชิกในชุมชนนั้นด้วยการประกอบพิธีกรรมช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ทางสังคมในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติและมนุษย์กับสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติความเชื่อภายในชุมชนประกอบไปด้วยความเชื่อแบบผีพราหมณ์พุทธซึ่งความเชื่อแบบผีนี้นับเป็นความเชื่อดั้งเดิมที่เป็นรากฐานความเชื่อของคนชนบทและมีผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตเป็นอย่างมากและยังคงยึดถือศรัทธามาจนถึงปัจจุบันเสมือนเป็นการให้คุณค่ากับธรรมชาติให้ความเคารพต่อบรรพบุรุษและความเชื่อความเกรงกลัวต่ออำนาจเหนือธรรมชาติโดยได้แสดงออกมาในรูปของพฤติกรรมที่ทำให้เห็นว่าคนในสังคมนั้นมีความเชื่อในเรื่องใดบ้างเช่นการแสดงออกมาในรูปของกฎข้อห้ามข้อนิยมต่างๆคำสอนตลอดจนประเพณีพิธีกรรมต่างๆจนกลายเป็นตัวกำหนดวิถีชีวิตและพัฒนาการของคนในสังคมนั้นๆ ความเชื่อของในสังคมไทยแต่เดิมนั้นไม่ได้มีความแตกต่างจากชนชาติอื่นๆกล่าวคือมีความเชื่อในสิ่งที่มองไม่เห็นว่ามีอำนาจเหนือคนและสามารถบันดาลให้ทั้งคุณและโทษโดยความเชื่อในที่นี้ปรากฏมาในรูปเฉพาะของความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี อาทิ การนับถือผีเป็นเทวดาอารักษ์ เช่น รุกขเทวดา เจ้าทุ่ง เจ้าป่าเจ้าเขา การนับถือผีปู่ย่าตายายหรือผีบรรพบุรุษ การถือผีวีรบุรุษ เช่น ผีฟ้า การนับถือผีร้าย เช่น ผีห่า ผีกะ ผีปอบ เป็นต้น ถึงแม้ว่าในทางพุทธศาสนาจะถือว่า การเข้าทรงหรือการทรงเจ้าเป็นเดรัจฉานวิชาแต่กระนั้นความเชื่อเรื่องการเข้าทรงยังคงมีอยู่ในสภาพของสังคมในปัจจุบันที่เป็นสังคมแห่งการแข่งขันเป็นสังคมแห่งการแย่งชิงแบบมือใครยาวสาวได้สาวเอาความเจริญในด้านวัตถุความสะดวกสบายในการดำรงชีวิตเป็นสังคมแห่งเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้ทำให้ส่งผลให้เกิดความแตกต่างของการดำรงชีวิตระหว่างสังคมชนบทและสังคมเมืองผู้คนในสังคมเริ่มเคยชินกับการอยู่คนเดียวหรือเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นเวลามีปัญหาต่างๆในชีวิตก็จะแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือการที่หันไปพึ่งสิ่งที่ตนเองคิดว่าเป็นที่ปรึกษาที่รอบรู้และสามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้อย่างเช่นการไปหา “ร่างทรง” เพื่อขอให้ประกอบพิธีกรรมการ “เข้าทรง” เพื่อต้องการปรึกษาหารือเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่การงานเรื่องเงินเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวหรือเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองที่กาลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบันอย่างเช่นบางคนเป็นโรคชนิดหนึ่งที่แพทย์ไม่อาจวินิจฉัยได้ว่าเป็นโรคอะไรหรือยังไม่มีวิธีการรักษาการเกิดภัยพิบัติที่ร้ายแรงที่ไม่สามารถหาคาตอบได้สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ทำให้ผู้คนหันหน้าไปพึ่งการเข้าทรงมากขึ้นจะเห็นได้จากตำหนักของร่างทรงที่มีจำนวนมากไม่ว่าตำหนักทรงเจ้าเสด็จพ่อ ร.5 ตำหนักทรงเจ้าพระแม่อุมาตำหนักทรงกุมารทองเป็นต้นกระจายไปในตามที่ต่างๆไม่ว่าจะอยู่ในเขตชนบทหรือในเมืองใหญ่แสดงให้เห็นถึงสภาวะการอ่อนแอทางจิตความต้องการหาที่พักพิงผู้ที่ให้คำปรึกษาในด้านต่างๆเพราะมีความเชื่อว่าเทพที่มาเข้าทรงโดยผ่านร่างทรงเป็นเทพที่อยู่บนสวรรค์ต้องการมาช่วยเหลือมนุษย์ยามที่เดือดร้อนเป็นผู้ที่มีอิทธิฤทธิ์สามารถดลปันดาลให้สิ่งที่ตนขอหรือร้องขอได้และเป็นผู้ที่ให้คำตอบทุกปัญหาโดยผ่านกระบวนการ “เข้าทรง”
 
           พระครูโสภิตสิริธรรม (สิริธโร ทาอ่อน), บุญส่ง สินธุ์นอก และ สมเดช นามเกตุ (2564) กล่าวว่า ความเชื่อเรื่องพิธีกรรมการเข้าทรงของคนไทยทุกภูมิภาคมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความเชื่อและพิธีกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีการถ่ายทอดซึ่งความเชื่อนั้นเป็นเรื่องนามธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนและระหว่างกลุ่มชนกับสภาพแวดล้อมแม้ว่าบุคคลแต่ละบุคคลจะมีความเชื่อเป็นของตนเองแต่ระบบความเชื่อของบุคคลก็เป็นพื้นฐานในการรองรับการอยู่ร่วมกันของกลุ่มเพราะบุคคลที่อยู่ในกลุ่มชนเดียวกันจะผ่านสถาบันแห่งการเรียนรู้ทางสังคมมาคล้ายคลึงกันและสื่อที่จะให้การเรียนรู้ทางสังคมก็จะนำจริยธรรมของศาสนาในสังคมนั้นๆ มาให้การกล่อมเกลาสมาชิกของกลุ่มชนเพื่อให้มีความเชื่อที่คล้ายคลึงกันในทางวัฒนธรรมสำหรับในส่วนของพิธีกรรมนั้นเป็นสัญลักษณ์ที่ตอกย้ำคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แสดงออกโดยการกระทำและถ้อยคำซึ่งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของขนบธรรมเนียมประเพณีของกลุ่มชนพิธีกรรมเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ความคิดเห็นความรู้สึกของสมาชิกในชุมชนนั้นด้วยการประกอบพิธีกรรมช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ทางสังคมในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติและมนุษย์กับสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติความเชื่อภายในชุมชนประกอบไปด้วยความเชื่อแบบผีพราหมณ์พุทธซึ่งความเชื่อแบบผีนี้นับเป็นความเชื่อดั้งเดิมที่เป็นรากฐานความเชื่อของคนชนบทและมีผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตเป็นอย่างมากและยังคงยึดถือศรัทธามาจนถึงปัจจุบันเสมือนเป็นการให้คุณค่ากับธรรมชาติให้ความเคารพต่อบรรพบุรุษและความเชื่อความเกรงกลัวต่ออำนาจเหนือธรรมชาติโดยได้แสดงออกมาในรูปของพฤติกรรมที่ทำให้เห็นว่าคนในสังคมนั้นมีความเชื่อในเรื่องใดบ้างเช่นการแสดงออกมาในรูปของกฎข้อห้ามข้อนิยมต่างๆคำสอนตลอดจนประเพณีพิธีกรรมต่างๆจนกลายเป็นตัวกำหนดวิถีชีวิตและพัฒนาการของคนในสังคมนั้นๆ ความเชื่อของในสังคมไทยแต่เดิมนั้นไม่ได้มีความแตกต่างจากชนชาติอื่นๆกล่าวคือมีความเชื่อในสิ่งที่มองไม่เห็นว่ามีอำนาจเหนือคนและสามารถบันดาลให้ทั้งคุณและโทษโดยความเชื่อในที่นี้ปรากฏมาในรูปเฉพาะของความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี อาทิ การนับถือผีเป็นเทวดาอารักษ์ เช่น รุกขเทวดา เจ้าทุ่ง เจ้าป่าเจ้าเขา การนับถือผีปู่ย่าตายายหรือผีบรรพบุรุษ การถือผีวีรบุรุษ เช่น ผีฟ้า การนับถือผีร้าย เช่น ผีห่า ผีกะ ผีปอบ เป็นต้น ถึงแม้ว่าในทางพุทธศาสนาจะถือว่า การเข้าทรงหรือการทรงเจ้าเป็นเดรัจฉานวิชาแต่กระนั้นความเชื่อเรื่องการเข้าทรงยังคงมีอยู่ในสภาพของสังคมในปัจจุบันที่เป็นสังคมแห่งการแข่งขันเป็นสังคมแห่งการแย่งชิงแบบมือใครยาวสาวได้สาวเอาความเจริญในด้านวัตถุความสะดวกสบายในการดำรงชีวิตเป็นสังคมแห่งเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้ทำให้ส่งผลให้เกิดความแตกต่างของการดำรงชีวิตระหว่างสังคมชนบทและสังคมเมืองผู้คนในสังคมเริ่มเคยชินกับการอยู่คนเดียวหรือเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นเวลามีปัญหาต่างๆในชีวิตก็จะแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือการที่หันไปพึ่งสิ่งที่ตนเองคิดว่าเป็นที่ปรึกษาที่รอบรู้และสามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้อย่างเช่นการไปหา “ร่างทรง” เพื่อขอให้ประกอบพิธีกรรมการ “เข้าทรง” เพื่อต้องการปรึกษาหารือเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่การงานเรื่องเงินเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวหรือเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองที่กาลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบันอย่างเช่นบางคนเป็นโรคชนิดหนึ่งที่แพทย์ไม่อาจวินิจฉัยได้ว่าเป็นโรคอะไรหรือยังไม่มีวิธีการรักษาการเกิดภัยพิบัติที่ร้ายแรงที่ไม่สามารถหาคาตอบได้สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ทำให้ผู้คนหันหน้าไปพึ่งการเข้าทรงมากขึ้นจะเห็นได้จากตำหนักของร่างทรงที่มีจำนวนมากไม่ว่าตำหนักทรงเจ้าเสด็จพ่อ ร.5 ตำหนักทรงเจ้าพระแม่อุมาตำหนักทรงกุมารทองเป็นต้นกระจายไปในตามที่ต่างๆไม่ว่าจะอยู่ในเขตชนบทหรือในเมืองใหญ่แสดงให้เห็นถึงสภาวะการอ่อนแอทางจิตความต้องการหาที่พักพิงผู้ที่ให้คำปรึกษาในด้านต่างๆเพราะมีความเชื่อว่าเทพที่มาเข้าทรงโดยผ่านร่างทรงเป็นเทพที่อยู่บนสวรรค์ต้องการมาช่วยเหลือมนุษย์ยามที่เดือดร้อนเป็นผู้ที่มีอิทธิฤทธิ์สามารถดลปันดาลให้สิ่งที่ตนขอหรือร้องขอได้และเป็นผู้ที่ให้คำตอบทุกปัญหาโดยผ่านกระบวนการ “เข้าทรง”
 +
          '''ทำไมต้องเข้าทรง'''
 +
          ยโสธารา ศิริภาประภากร (2557) กล่าวว่า เพื่อขอคำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่การงานเรื่องเงินเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวหรือเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองที่กำลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบัน เช่น ปรึกษาเกี่ยวกับรักษาโรคภัยไข้เจ็บชาวบ้านปรึกษาเกี่ยวกับการพยากรณ์ดวงชะตาการสะเดาะเคราะห์การตั้งชื่อและหาฤกษ์ยามการให้ศีลให้พรเสริมบารมีเชื่อว่าร่างทรงคือตัวแทนของผู้เทพผู้มีอำนาจมีอิทธิฤทธิ์เชื่อว่าเจ้าทรงสามารถยกฐานะทางสังคมและฐานะทางเศรษฐกิจให้ดีขึ้นและเชื่อว่าเจ้าทรงสามารถรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆให้หายได้
 +
=='''การเข้าทรงในแต่ละพื้นที่'''==
 +
          พระครูโสภิตสิริธรรม (สิริธโร/ทาอ่อน), บุญส่ง สินธุ์นอก และ สมเดช นามเกตุ (2564) กล่าวว่า การเข้าทรงเป็นความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับจิตวิญญาณ มีรากเหง้าก่อเกิดขึ้นมาพร้อมกับพัฒนาการทางจิตวิญญาณของมนุษย์ สำหรับสังคมไทยการทรงเจ้าเริ่มปรากฏเป็นหลักฐานที่ชัดเจน แต่การทรงเจ้าถูกปลูกฝังไปพร้อมกับความเชื่อของไทยโบราณ ซึ่งในสังคมไทยโบราณนั้นมีการนับถือผีมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นพลังเหนือธรรมชาติ พลังจากบรรพบุรุษ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ ความเชื่อแบบนี้อยู่ในสังคมไทยมาอย่างยาวนาน และการทรงเจ้านั้นก็ยังถูกปลูกฝังไปพร้อมกับหลักธรรมคำสอนของศาสนาต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศาสนาฮินดู ที่นับถือเทพเจ้ามากมายจนหล่อหลอมเกิดเป็นวัฒนธรรมร่างทรงขึ้นมา การทรงเจ้าและร่างทรงนั้นมีมานานแล้ว ย้อนกลับไปในสมัยรัชกาลที่ ๔ บันทึกไว้ว่ามีการลงโทษคนทรงเจ้า เพราะว่าคนเหล่านี้ก่อให้เกิดความวุ่นวาย รวมถึงปล่อยข่าวลือก่อนเกิดเหตุไฟไหม้อยู่เสมอ เพื่อเป็นการข่มขู่ให้ราษฎรหวาดกลัวไม่กล้าเอาเยี่ยงอย่าง อีกทั้งคนกลุ่มนี้ยังอยู่ในกลุ่มผู้ต้องสงสัยคดีลอบวางเพลิง ดังคำกล่าวที่ว่า “เมื่อกลัวจะมิสมคำดังว่า ก็คิดอ่านการทุจริตทิ้งไฟประกอบเหตุ”
 +
          '''1. การแต่งกายและเครื่องเซ่นประกอบพิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคเหนือ'''
 +
          ก่อนวันงานจะมีการจัดเตรียม "ผาม" หรือ "ปะรำ" ขนาดผามแล้วแต่จำนวนคนในตระกูลและผู้เข้าร่วมพิธี หลังคาผามมุงด้วยทางมะพร้าว หญ้าคา หรือใบตองตึง ตกแต่งประดับผามให้สวยงามด้วยทางมะพร้าว ต้นกล้วย ขี้ผึ้ง หม้อน้ำ น้ำต้น ฯลฯ มีผ้าขาวยาวโยงอยู่ตรงกลางผามสำหรับให้ร่างทรงโหนเชิญผีมาเข้าทรง ด้านหน้าผามจะยกพื้นสำหรับวางเครื่องเซ่น เครื่องเซ่นก็จะมีหัวหมูต้ม ไก่ต้มทั้งตัว เหล้า ข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน ขนม ผลไม้ เช่น กล้วย อ้อย มะพร้าว ฯลฯ ถัดจากอาหารคาวหวานจะมีที่สำหรับจัดวางเครื่องแต่งกายของร่างทรงจำพวก ผ้าโสร่ง ผ้าโพกหัวสีต่างๆ สำหรับผู้ที่จะฟ้อนนุ่งทับลงไปเวลาผีเข้าแล้ว
 +
[[ไฟล์:5-1.jpg|400px|thumb|center]]
 +
<p align = "center"> '''ภาพที่ 1''' “ผีมดผีเม็ง” พิธีมอญล้านนา <br> (ไทยรัฐออนไลน์, 2561)</p>
 +
          '''2. การแต่งกายและเครื่องเซ่นประกอบพิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคอีสาน'''
 +
          ฟ้อนผีฟ้า เพื่อเป็นการเซ่นสรวงที่พระองค์เจ้าตื้อ ได้บันดาลให้พวกเขามีความร่มเย็น เป็นสุขในรอบปีที่ผ่านมาอีกด้วย นางเทียมทุกคนจะนั่งสงบในท่าสมาธิ และ ประนมมือ ในระหว่างทำพิธีจะมีหมอแคนขับกล่อมนางเทียม เมื่อผีฟ้าเข้าสิงจะมีอาการตัวสั่น กระทืบเท้า แล้วสั่งให้หาเครื่องแต่งตัวตามที่ชอบมาสวมใส่ ซึ่งแต่ละคนจะทราบแล้วว่าแต่ละองค์นั้น ชอบแต่งตัว ชนิดใด เช่นผีฟ้าผาแดง ชอบผ้าสีแดง สไบแดงและดอกไม้แดง เป็นต้น บางคนก็โพกผ้าขามม้าผ้าไหม เคี้ยวหมากพลู กินเหล้า บางคนก็สูบบุหรี่ ผสมพริกขี้หนู โดยปราศจากอาการไอหรือจาม เมื่อแต่งตัวเสร็จก็ลุกขึ้นรำ บางองค์ ก็ลุกขึ้นร่ายรำเป็นจังหวะเข้ากับเสียงแคน สุดแต่ทำนอง แคนจะพาไป ซึ่งโดยมากเป็นพญาลอบทจรนี้ภาษาพื้นเมืองเรียกว่า "ล่องโขง" บ้าง "แมลงภู่ชมดอกไม้" บ้าง ชาวบ้านตามแถบนั้นถ้าใคร เจ็บป่วยต้องการอยากรู้ข่าวถึงญาติพี่น้องที่อยู่ห่างไกลว่าเป็นอย่างไร โดยมากมักจะบอกได้เป็นที่ถูกต้อง แผ่นหินที่แกะสลักเป็นรูปพระเจ้าองค์เจ้าตื้อ แห่งภูพระได้เหลืองอร่ามด้วยแผ่นเปลวที่ผู้คนนำมาปิด ยามลมอ่อนโชยมาเกิดประกายระยิบระยับ อีกทั้งเบื้องหน้าดาด้วยพุ่มบายศรีขนาดเล็ก ที่ชาวบ้านทำมากับมืออย่างง่าย ๆ ด้วยวัสดุที่หาได้ ไม่ว่าจะเป็นใบตองที่นำมาจับพับเป็นรูปเสียงอยู่ด้วย ดอกลั่นทมที่เก็บมาจากต้น ซึ่งขึ้นอยู่รอบภูพระ บ้างก็เป็นกระป่องเก่าปักด้วยต้นไม้เงินต้นไม้เงินต้นไม้ทองที่ทำจากกระดาษสา พร้อมผ้าไตรที่นำมากราบกราน เนื่องจากพระเจ้าตื้อเป็นพระต้องมีการบวงสรวงด้วยผ้าไตร ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ได้กล่าวไว้ว่า ถ้าต้องการเลิกพิธีผีฟ้ามีธรรมเนียมอยู่ว่า นางเทียมคนนั้น ต้องเข้าไปกราบเครื่องสังเวยอาการสิงก็จะหายไปและกลับคืนเป็นปกติ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:51, 30 พฤษภาคม 2566

บทนำ

         ภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางสภาพสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ผู้คนต่างแข่งขันกันในทุกด้านเพื่อพัฒนาปรับปรุงตนเองให้อยู่รอดทั้งในด้านการดำรงชีวิต การทำงานทุกขณะ ทำให้ผู้คนมากมายเกิดความท้อแท้ ขาดที่พึ่ง ขาดกำลังใจเพราะไม่สามารถปรับตัวได้การศึกษาเล่าเรียน ให้สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปในใหม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง สิ้นหวังที่จะต่อสู้และใช้ชีวิตในแต่ละวันได้อย่างเป็นสุข เกิดภาวะต้องการที่พึ่ง ต้องการกำลังใจ จนกระทั่งในบางครั้งคิดหวังพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรืออำนาจเหนือธรรมชาติ เพื่อทำให้ตนเองมีจิตใจที่เข้มแข็งเมื่อเกิดภาวะวิกฤติและมีกำลังใจที่จะสามารถเผชิญปัญหาที่กำลังประสบอยู่ให้ผ่านพ้นไปได้อย่างราบรื่น ดังจะสังเกตเห็นได้ทั้งในครัวเรือน เช่น ศาลพระภูมิ รูปเคารพ และในชุมชน เช่น ศาลเจ้า หรือในสถานที่ราชการ ที่ทำงาน เช่น รูปเคารพ เทวรูป เป็นต้น ที่ผู้คนสร้างไว้เพื่อก่อเกิดผลในในด้านจิตใจ และมีความหวังว่าหากบนบาน ขอร้อง หรือแสดงความเคารพนอบน้อมต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือสิ่งที่มีอำนาจเหนือธรรมชาติ เช่น ผี หรือวิญญาณ ต่างๆแล้ว สิ่งคังกล่าวจะให้ความช่วยเหลือต่อผู้ให้ความเคารพในทุกสิ่งตามที่ปรารถนาและหากเป็นไปได้ดังที่ปรารถนาย่อมก่อทำให้เกิดกำลังใจและรู้สึกปลอดภัย จนกระทั่งมีการตอบแทนต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่ได้บนบานไว้ต่อไป
         ปัจจุบันการทรงเจ้าหรือการเข้าทรงได้มีการพัฒนาไปมาก โดยคนทรงมิได้ประกอบพิธีทรงเข้าเฉพาะในตำหนักทรงหรือหอผีเฉพาะในชุมชนตนเองเท่านั้น แต่ยังได้มีการพบปะสังสรรค์และได้มีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกันด้วยการเข้าร่วมประกอบพิธีกรรมทรงเจ้าในงานประจำปีที่คนทรงอื่นขัดขึ้น เช่น งานไหว้ครูประจำบีของบรรดาร่างทรง ที่มีอยู่ทั่วประเทศตามแต่ที่ได้รับการเชื้อเชิญอย่างเป็นประจำและสม่ำเสมอ การกระทำดังกล่าวนอกจากจะเป็นการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ต่อกันให้เกิดขึ้นในกลุ่มของคนทรงแล้วยังเป็นการถ่ายทอดและตอกช้ำความเชื่อของคนที่มีความเชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติให้มั่นคงยิ่งขึ้นรวมทั้งยังเป็นการประชาสัมพันธ์แหล่งทรงเจ้าให้บุคคลภายนอกได้รับรู้ด้วยเช่นกัน

คำสำคัญ: ร่างทรง, เข้าทรง, ความเชื่อและความศรัทธา

ความหมายของพิธีกรรมการเข้าทรง

         พิธีกรรมการเข้าทรง เป็นพิธีกรรมที่มีมานาน โดยมีหลายท่านให้ความหมายไว้ดังนี้ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2564) กล่าวว่า คนทรง หรือ ร่างทรง หมายถึง คนที่ให้เจ้าหรือผีมาเข้าสิงในตัว การเข้าสิงนั้นเรียกว่า "การเข้าทรง" Lan Anh -VOV5 (2557) กล่าวว่า การทรงเจ้าเป็นพิธีการสื่อสารกับเทพเจ้าต่าง ๆ ผ่านร่างทรง ลักษณะของการเข้าทรงก็คือ การกลายร่างเดิมมาเป็นร่างใหม่ที่มีวิญญาณของเทพเจ้าหรือเทวดาชั้นสูงมาประทับร่างเพื่อประทานพรให้มนุษย์ ณิชาพร จำเนียร และ อรพรรณ พิศลยบุตร (2565) กล่าวว่า พิธีกรรมเข้าทรง หรือ ร่างทรง ในความหมายของคนทั่วไปคือ บุคคลที่สามารถจะรับจิต วิญญาณของผู้อื่นที่จากไปแล้ว หรือ จากจิตวิญญาณของผู้อื่นที่เป็นเทพ เทวดา มาสิงสถิตอยู่ในร่างกายของตัวเองได้
         สรุปความหมายของพิธีกรรมการเข้าทรง คือ การเข้าทรงเพื่อเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์และวิญญาณของเทพเจ้าต่างๆ ให้เข้ามาประทับร่างของมนุษย์เป็นความสัมพันธ์ที่เชื่อมโลกของมนุษย์เข้ากับโลกของอำนาจเหนือธรรมชาติ ซึ่งมีร่างกายของร่างทรงในฐานะเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมทำหน้าที่ติดต่อสื่อสารกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การเชื่อมโลกสองโลกเข้าด้วยกัน

ความเชื่อเรื่องพิธีกรรมการเข้าทรงของคนไทย

         พระครูโสภิตสิริธรรม (สิริธโร ทาอ่อน), บุญส่ง สินธุ์นอก และ สมเดช นามเกตุ (2564) กล่าวว่า ความเชื่อเรื่องพิธีกรรมการเข้าทรงของคนไทยทุกภูมิภาคมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความเชื่อและพิธีกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีการถ่ายทอดซึ่งความเชื่อนั้นเป็นเรื่องนามธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนและระหว่างกลุ่มชนกับสภาพแวดล้อมแม้ว่าบุคคลแต่ละบุคคลจะมีความเชื่อเป็นของตนเองแต่ระบบความเชื่อของบุคคลก็เป็นพื้นฐานในการรองรับการอยู่ร่วมกันของกลุ่มเพราะบุคคลที่อยู่ในกลุ่มชนเดียวกันจะผ่านสถาบันแห่งการเรียนรู้ทางสังคมมาคล้ายคลึงกันและสื่อที่จะให้การเรียนรู้ทางสังคมก็จะนำจริยธรรมของศาสนาในสังคมนั้นๆ มาให้การกล่อมเกลาสมาชิกของกลุ่มชนเพื่อให้มีความเชื่อที่คล้ายคลึงกันในทางวัฒนธรรมสำหรับในส่วนของพิธีกรรมนั้นเป็นสัญลักษณ์ที่ตอกย้ำคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แสดงออกโดยการกระทำและถ้อยคำซึ่งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของขนบธรรมเนียมประเพณีของกลุ่มชนพิธีกรรมเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ความคิดเห็นความรู้สึกของสมาชิกในชุมชนนั้นด้วยการประกอบพิธีกรรมช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ทางสังคมในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติและมนุษย์กับสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติความเชื่อภายในชุมชนประกอบไปด้วยความเชื่อแบบผีพราหมณ์พุทธซึ่งความเชื่อแบบผีนี้นับเป็นความเชื่อดั้งเดิมที่เป็นรากฐานความเชื่อของคนชนบทและมีผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตเป็นอย่างมากและยังคงยึดถือศรัทธามาจนถึงปัจจุบันเสมือนเป็นการให้คุณค่ากับธรรมชาติให้ความเคารพต่อบรรพบุรุษและความเชื่อความเกรงกลัวต่ออำนาจเหนือธรรมชาติโดยได้แสดงออกมาในรูปของพฤติกรรมที่ทำให้เห็นว่าคนในสังคมนั้นมีความเชื่อในเรื่องใดบ้างเช่นการแสดงออกมาในรูปของกฎข้อห้ามข้อนิยมต่างๆคำสอนตลอดจนประเพณีพิธีกรรมต่างๆจนกลายเป็นตัวกำหนดวิถีชีวิตและพัฒนาการของคนในสังคมนั้นๆ ความเชื่อของในสังคมไทยแต่เดิมนั้นไม่ได้มีความแตกต่างจากชนชาติอื่นๆกล่าวคือมีความเชื่อในสิ่งที่มองไม่เห็นว่ามีอำนาจเหนือคนและสามารถบันดาลให้ทั้งคุณและโทษโดยความเชื่อในที่นี้ปรากฏมาในรูปเฉพาะของความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี อาทิ การนับถือผีเป็นเทวดาอารักษ์ เช่น รุกขเทวดา เจ้าทุ่ง เจ้าป่าเจ้าเขา การนับถือผีปู่ย่าตายายหรือผีบรรพบุรุษ การถือผีวีรบุรุษ เช่น ผีฟ้า การนับถือผีร้าย เช่น ผีห่า ผีกะ ผีปอบ เป็นต้น ถึงแม้ว่าในทางพุทธศาสนาจะถือว่า การเข้าทรงหรือการทรงเจ้าเป็นเดรัจฉานวิชาแต่กระนั้นความเชื่อเรื่องการเข้าทรงยังคงมีอยู่ในสภาพของสังคมในปัจจุบันที่เป็นสังคมแห่งการแข่งขันเป็นสังคมแห่งการแย่งชิงแบบมือใครยาวสาวได้สาวเอาความเจริญในด้านวัตถุความสะดวกสบายในการดำรงชีวิตเป็นสังคมแห่งเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้ทำให้ส่งผลให้เกิดความแตกต่างของการดำรงชีวิตระหว่างสังคมชนบทและสังคมเมืองผู้คนในสังคมเริ่มเคยชินกับการอยู่คนเดียวหรือเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นเวลามีปัญหาต่างๆในชีวิตก็จะแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือการที่หันไปพึ่งสิ่งที่ตนเองคิดว่าเป็นที่ปรึกษาที่รอบรู้และสามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้อย่างเช่นการไปหา “ร่างทรง” เพื่อขอให้ประกอบพิธีกรรมการ “เข้าทรง” เพื่อต้องการปรึกษาหารือเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่การงานเรื่องเงินเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวหรือเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองที่กาลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบันอย่างเช่นบางคนเป็นโรคชนิดหนึ่งที่แพทย์ไม่อาจวินิจฉัยได้ว่าเป็นโรคอะไรหรือยังไม่มีวิธีการรักษาการเกิดภัยพิบัติที่ร้ายแรงที่ไม่สามารถหาคาตอบได้สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ทำให้ผู้คนหันหน้าไปพึ่งการเข้าทรงมากขึ้นจะเห็นได้จากตำหนักของร่างทรงที่มีจำนวนมากไม่ว่าตำหนักทรงเจ้าเสด็จพ่อ ร.5 ตำหนักทรงเจ้าพระแม่อุมาตำหนักทรงกุมารทองเป็นต้นกระจายไปในตามที่ต่างๆไม่ว่าจะอยู่ในเขตชนบทหรือในเมืองใหญ่แสดงให้เห็นถึงสภาวะการอ่อนแอทางจิตความต้องการหาที่พักพิงผู้ที่ให้คำปรึกษาในด้านต่างๆเพราะมีความเชื่อว่าเทพที่มาเข้าทรงโดยผ่านร่างทรงเป็นเทพที่อยู่บนสวรรค์ต้องการมาช่วยเหลือมนุษย์ยามที่เดือดร้อนเป็นผู้ที่มีอิทธิฤทธิ์สามารถดลปันดาลให้สิ่งที่ตนขอหรือร้องขอได้และเป็นผู้ที่ให้คำตอบทุกปัญหาโดยผ่านกระบวนการ “เข้าทรง”
         ทำไมต้องเข้าทรง
         ยโสธารา ศิริภาประภากร (2557) กล่าวว่า เพื่อขอคำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่การงานเรื่องเงินเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวหรือเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองที่กำลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบัน เช่น ปรึกษาเกี่ยวกับรักษาโรคภัยไข้เจ็บชาวบ้านปรึกษาเกี่ยวกับการพยากรณ์ดวงชะตาการสะเดาะเคราะห์การตั้งชื่อและหาฤกษ์ยามการให้ศีลให้พรเสริมบารมีเชื่อว่าร่างทรงคือตัวแทนของผู้เทพผู้มีอำนาจมีอิทธิฤทธิ์เชื่อว่าเจ้าทรงสามารถยกฐานะทางสังคมและฐานะทางเศรษฐกิจให้ดีขึ้นและเชื่อว่าเจ้าทรงสามารถรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆให้หายได้

การเข้าทรงในแต่ละพื้นที่

         พระครูโสภิตสิริธรรม (สิริธโร/ทาอ่อน), บุญส่ง สินธุ์นอก และ สมเดช นามเกตุ (2564) กล่าวว่า การเข้าทรงเป็นความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับจิตวิญญาณ มีรากเหง้าก่อเกิดขึ้นมาพร้อมกับพัฒนาการทางจิตวิญญาณของมนุษย์ สำหรับสังคมไทยการทรงเจ้าเริ่มปรากฏเป็นหลักฐานที่ชัดเจน แต่การทรงเจ้าถูกปลูกฝังไปพร้อมกับความเชื่อของไทยโบราณ ซึ่งในสังคมไทยโบราณนั้นมีการนับถือผีมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นพลังเหนือธรรมชาติ พลังจากบรรพบุรุษ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ ความเชื่อแบบนี้อยู่ในสังคมไทยมาอย่างยาวนาน และการทรงเจ้านั้นก็ยังถูกปลูกฝังไปพร้อมกับหลักธรรมคำสอนของศาสนาต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศาสนาฮินดู ที่นับถือเทพเจ้ามากมายจนหล่อหลอมเกิดเป็นวัฒนธรรมร่างทรงขึ้นมา การทรงเจ้าและร่างทรงนั้นมีมานานแล้ว ย้อนกลับไปในสมัยรัชกาลที่ ๔ บันทึกไว้ว่ามีการลงโทษคนทรงเจ้า เพราะว่าคนเหล่านี้ก่อให้เกิดความวุ่นวาย รวมถึงปล่อยข่าวลือก่อนเกิดเหตุไฟไหม้อยู่เสมอ เพื่อเป็นการข่มขู่ให้ราษฎรหวาดกลัวไม่กล้าเอาเยี่ยงอย่าง อีกทั้งคนกลุ่มนี้ยังอยู่ในกลุ่มผู้ต้องสงสัยคดีลอบวางเพลิง ดังคำกล่าวที่ว่า “เมื่อกลัวจะมิสมคำดังว่า ก็คิดอ่านการทุจริตทิ้งไฟประกอบเหตุ”
         1. การแต่งกายและเครื่องเซ่นประกอบพิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคเหนือ
         ก่อนวันงานจะมีการจัดเตรียม "ผาม" หรือ "ปะรำ" ขนาดผามแล้วแต่จำนวนคนในตระกูลและผู้เข้าร่วมพิธี หลังคาผามมุงด้วยทางมะพร้าว หญ้าคา หรือใบตองตึง ตกแต่งประดับผามให้สวยงามด้วยทางมะพร้าว ต้นกล้วย ขี้ผึ้ง หม้อน้ำ น้ำต้น ฯลฯ มีผ้าขาวยาวโยงอยู่ตรงกลางผามสำหรับให้ร่างทรงโหนเชิญผีมาเข้าทรง ด้านหน้าผามจะยกพื้นสำหรับวางเครื่องเซ่น เครื่องเซ่นก็จะมีหัวหมูต้ม ไก่ต้มทั้งตัว เหล้า ข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน ขนม ผลไม้ เช่น กล้วย อ้อย มะพร้าว ฯลฯ ถัดจากอาหารคาวหวานจะมีที่สำหรับจัดวางเครื่องแต่งกายของร่างทรงจำพวก ผ้าโสร่ง ผ้าโพกหัวสีต่างๆ สำหรับผู้ที่จะฟ้อนนุ่งทับลงไปเวลาผีเข้าแล้ว
5-1.jpg

ภาพที่ 1 “ผีมดผีเม็ง” พิธีมอญล้านนา
(ไทยรัฐออนไลน์, 2561)

         2. การแต่งกายและเครื่องเซ่นประกอบพิธีกรรมการทรงเจ้าในภาคอีสาน
         ฟ้อนผีฟ้า เพื่อเป็นการเซ่นสรวงที่พระองค์เจ้าตื้อ ได้บันดาลให้พวกเขามีความร่มเย็น เป็นสุขในรอบปีที่ผ่านมาอีกด้วย นางเทียมทุกคนจะนั่งสงบในท่าสมาธิ และ ประนมมือ ในระหว่างทำพิธีจะมีหมอแคนขับกล่อมนางเทียม เมื่อผีฟ้าเข้าสิงจะมีอาการตัวสั่น กระทืบเท้า แล้วสั่งให้หาเครื่องแต่งตัวตามที่ชอบมาสวมใส่ ซึ่งแต่ละคนจะทราบแล้วว่าแต่ละองค์นั้น ชอบแต่งตัว ชนิดใด เช่นผีฟ้าผาแดง ชอบผ้าสีแดง สไบแดงและดอกไม้แดง เป็นต้น บางคนก็โพกผ้าขามม้าผ้าไหม เคี้ยวหมากพลู กินเหล้า บางคนก็สูบบุหรี่ ผสมพริกขี้หนู โดยปราศจากอาการไอหรือจาม เมื่อแต่งตัวเสร็จก็ลุกขึ้นรำ บางองค์ ก็ลุกขึ้นร่ายรำเป็นจังหวะเข้ากับเสียงแคน สุดแต่ทำนอง แคนจะพาไป ซึ่งโดยมากเป็นพญาลอบทจรนี้ภาษาพื้นเมืองเรียกว่า "ล่องโขง" บ้าง "แมลงภู่ชมดอกไม้" บ้าง ชาวบ้านตามแถบนั้นถ้าใคร เจ็บป่วยต้องการอยากรู้ข่าวถึงญาติพี่น้องที่อยู่ห่างไกลว่าเป็นอย่างไร โดยมากมักจะบอกได้เป็นที่ถูกต้อง แผ่นหินที่แกะสลักเป็นรูปพระเจ้าองค์เจ้าตื้อ แห่งภูพระได้เหลืองอร่ามด้วยแผ่นเปลวที่ผู้คนนำมาปิด ยามลมอ่อนโชยมาเกิดประกายระยิบระยับ อีกทั้งเบื้องหน้าดาด้วยพุ่มบายศรีขนาดเล็ก ที่ชาวบ้านทำมากับมืออย่างง่าย ๆ ด้วยวัสดุที่หาได้ ไม่ว่าจะเป็นใบตองที่นำมาจับพับเป็นรูปเสียงอยู่ด้วย ดอกลั่นทมที่เก็บมาจากต้น ซึ่งขึ้นอยู่รอบภูพระ บ้างก็เป็นกระป่องเก่าปักด้วยต้นไม้เงินต้นไม้เงินต้นไม้ทองที่ทำจากกระดาษสา พร้อมผ้าไตรที่นำมากราบกราน เนื่องจากพระเจ้าตื้อเป็นพระต้องมีการบวงสรวงด้วยผ้าไตร ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ได้กล่าวไว้ว่า ถ้าต้องการเลิกพิธีผีฟ้ามีธรรมเนียมอยู่ว่า นางเทียมคนนั้น ต้องเข้าไปกราบเครื่องสังเวยอาการสิงก็จะหายไปและกลับคืนเป็นปกติ